You are on page 1of 100

การนาเสนอการฝึกอบรมหลักสูตรนี้ เพือ่ เป็ นประโยชน์ต่อการเรียนรูส้ าหรับหลักการทางานของวิศวกรสนาม

งานระบบประกอบอาคาร (M&E SITE ENGINEERS) เพือ่ ให้การดาเนินงานเป็ นไปอย่างมืออาชีพ ทัง้ การ


ควบคุมงาน การติดตัง้ งานระบบประกอบอาคาร การทดสอบ และการส่งมอบงานโครงการ เพือ่ นาไปสูก่ ารใช้
งานระบบประกอบอาคารอย่างสมบูรณ์เต็มที่

ทัง้ นี้หวั ข้อของการฝึกอบรมในวันนี้ จะเป็ นการนาเสนอในแต่ละประเด็นของ

- การเริม่ งานก่อสร้าง การจัดทาแผนการ และจัดการงานติดตัง้ ระบบประกอบอาคาร

- การจัดทา COMBINE SHOP DRAWINGS

- การจัดทาแผนและจัดการการทดสอบระบบและส่งมอบงาน

- การตอบคาถามในข้อสงสัยและการให้ขอ้ มูลเพิม่ เติม


ในงานโครงการก่อสร้างมักประกอบไปด้วย 4 ผูเ้ กีย่ วข้องหลักๆดังนี้
• เจ้าของโครงการ (Owner/End users)
• ผูอ้ อกแบบแต่ละสาขา ( Designers )
• ผูบ้ ริหารและควบคุมงานก่อสร้าง ( CM : Construction Management/Consult )
• ผูร้ บั เหมาในแต่ละขอบเขตงาน ( Contractors )
เมื่อเริม่ เข้าอยู่กระบวนการก่อสร้าง สิง่ หนึ่งที่ Site Engineers มักไม่ให้ความสนใจและ
มองข้ามที่จะเรียนรู้ก่อนเริม่ งาน ทัง้ ผู้ควบคุมงาน หรือผู้รบั เหมา เพราะคิดว่าเป็ นเรื่องไกลตัว ให้
หัวหน้าระดับสูงๆเค้าดูกนั ไป จนมารูต้ วั อีกทีกเ็ มือ่ เกิดความเสียหาย ระหว่างทางเมือ่ งานดาเนินไปแล้ว
เพราะความไม่รไู้ ม่ใส่ใจ ทัง้ ๆทีเ่ ป็ นเรือ่ งทีส่ าคัญมาก สิง่ นัน้ คือ

“สัญญา ( Contract )”
เพราะสัญญาเปรียบเสมือนรัฐธรรมนู ญของโครงการทีต่ กลงร่วมกันระหว่างเจ้าของงานกับผู้
รับจ้างหรือผูข้ าย โดยมีผบู้ ริหารงานก่อสร้างเป็ นผูบ้ ริหารและบังคับใช้สญ
ั ญาแทนเจ้าของงาน

• เราจะบริหารงานกันแบบไหนถ้าไม่รขู้ อบเขตงาน ?
• เราจะบริหารงานกันแบบไหนถ้าไม่รรู้ าคาและระยะเวลาทีต่ กลงกันในสัญญา ?
• เราจะบริหารงานกันแบบไหนถ้าไม่รเู้ กณฑ์คุณภาพของงานทีย่ อมรับได้ของโครงการ ?
• เราจะบริหารงานกันแบบไหนถ้าไม่รกู้ ฎระเบียบโครงการทัง้ ในด้านการทางานและความปลอดภัย ?
• เราจะบริหารงานกันแบบไหนถ้าไม่รจู้ ุดตรวจสอบของโครงการ ?
• เราจะบริหารงานกันแบบไหนถ้าไม่รหู้ ลักประกันต่างๆของงาน ?
• เราจะบริหารงานกันแบบไหนถ้าไม่รเู้ งือ่ นไขการเบิกจ่ายเงินงวดงาน?
• เราจะบริหารงานกันแบบไหนถ้าไม่รเู้ งือ่ นไขการบอกเลิกสัญญา บทปรับ บทลงโทษ ?
• เราจะบริหารงานกันแบบไหนถ้าไม่ร.ู้ .......สัญญา ?
ดาเนินการประกวดราคา และแจ้ งยืนยันว่ าจ้ าง(LOI)

แจ้ งผู้รับเหมาเข้ าปฏิบตั งิ าน (Kick-Off & Mobilization)

ทาสั ญญา

ดาเนินการตามขั้นตอนการก่อสร้ างภายใต้ สัญญา


1. คู่สัญญา ผู้ว่าจ้ าง – ผู้รับจ้ าง (ลงนามร่ วมกัน)
2. ข้ อตกลงการทาสั ญญาว่ าจ้ าง
3. สาระสาคัญของสั ญญา
3.1 สั ญญาและรายละเอียดเงื่อนไขประกอบสั ญญา
3.2 เอกสารแนบท้ ายสั ญญา
3.3 หนังสื อยืนยันการว่ าจ้ าง
3.4 เอกสารเงื่อนไขการประกวดราคา
3.5 เอกสารแจ้ งปริมาณงานและราคาแนบท้ ายสั ญญา (BOQ)
4.รายละเอียดเงื่อนไขประกอบสั ญญา
4.1 คาจากัดความ
4.2 ค่ าจ้ างหรื อค่ าตอบแทน
4.3 หน้ าทีข่ องผู้ว่าจ้ าง
4.4 หน้ าทีข่ องสถาปนิก วิศวกรโครงสร้ างและวิศวกรรมระบบ (Designers)
4.5 หน้ าทีข่ องผู้บริหารการก่ อสร้ าง (CM)
4.6 ข้ อตกลง หน้ าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ของผู้รับจ้ าง
4.7 หลักเกณฑ์ เงื่อนไขการชาระค่ าตอบแทน และจุดตรวจสอบงาน
4.8 วิธีการตรวจรับงานและจ่ ายชาระงวดงาน
4.9 ปัญหาและวิธีการดาเนินการทางเทคนิค
4.10 คุณภาพของวัสดุ เครื่ องจักร เครื่ องมือ การติดตั้ง และการทดสอบ
4.11 ผู้รับจ้ างช่ วง
4.12 กฎหมายและการติดต่ อราชการ
4.13 ความรับผิดชอบต่ อความเสี ยหายแก่ สาธารณสมบัติ อาคารข้ างเคียง และการป้องกันภัย
4.14 ระบบสาธารณูปโภคและความสะอาดเรียบร้ อยในขณะก่ อสร้ าง
4.15 งานลด หรื อเพิม่ เติม การเปลีย่ นแปลงวัสดุและการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ โดยผู้ว่าจ้ าง
4.16 การต่ ออายุสัญญา การปรับ การเลิกสั ญญา และการเรียกค่ าเสี ยหาย
4.17 การคา้ ประกันผลงาน
4.18 การแจ้ งขอปฏิบัติงานและการรายงานความก้ าวหน้ า
4.19 สวัสดิภาพและสวัสดิการในการทางาน
4.20 การจัดทาตัวอย่ าง เก็บตัวอย่ างและการทดสอบคุณภาพ
4.21 แผนการปฏิบัติงานและวิธีการทางานการติดต่ อประสานงาน
4.22 การจัดทารายงาน
4.23 การส่ งมอบงานก่ อสร้ าง
4.24 การรับประกันผลงานก่ อสร้ าง
4.25 กฎหมาย กฎกระทรวง และพระราชบัญญัติ
4.26 การฟ้ องร้ อง
4.27 หนังสื อยืนยันการว่ าจ้ าง (Letter of Intent)
4.28 ห้ ามให้ ทรัพย์ สินหรื อประโยชน์ อื่นใดแก่ พนักงานของผู้ว่าจ้ าง
4.29 ภาษาที่ใช้ ในการติดต่ อ
4.30 ภาษาที่ถือเป็ นสาคัญและกฎหมายที่ใช้ บังคับ
4.31 การติดต่ อบอกกล่ าว
4.32 มาตรการควบคุมงานก่ อสร้ างเพื่อป้ องกันผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้ อม(ถ้ ามี)
4.33 เอกสารแนบท้ ายสั ญญา
กระบวนการทางานและกิจกรรมงานก่อสร้างเป็ นเสมือนกลไกในการจัดลาดับและควบคุม
กิจกรรมต่างๆทีเ่ กิดขึน้ ภายในโครงการ โดยทุกกระบวนการการทางานจะมีความสัมพันธ์ในช่วงเวลา
ต่า งๆ เป็ น ลาดับ และขัน้ ตอน ดัง นัน้ วิศ วกรงานระบบต้อ งมีค วามรู้แ ละเชี่ยวชาญในการพิจ ารณา
แผนงานหลักในส่วนของงานโครงสร้าง และสถาปั ตยกรรม เพื่อจัดการวางแผนการดาเนินงานและ
ติดตัง้ ระบบประกอบอาคารให้สอดคล้องกันอย่างมีประสิทธิภาพ และวางแผนงานในด้านอื่นๆได้ต่อไป
(แผนวัสดุ และแผนกาลังพล เป็ นต้น)
ตัวอย่างการจัดทาแผนงานโดย Microsoft Project
โดยสาหรับการกาหนดแผนงานและการจัดการร่วมกันของงานโครงสร้าง สถาปั ตยกรรม
และงานระบบประกอบอาคารของโครงการต่างๆนัน้ ถือได้ว่าเป็ นการวางแผนในขัน้ ตอนการเริม่ ต้น
งานก่อสร้าง แต่ในการปฏิบตั งิ านจริงในแต่ละช่วงเวลาหรือขัน้ ตอนการดาเนินงาน ซึ่งทุกส่วนอาจมี
ความสัมพันธ์กนั นัน้ โดยทีส่ ่วนใดส่วนหนึ่งเกิดปั ญหาส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานของฝ่ ายอื่นๆ จะ
ก่อให้เกิดความล่าช้าแก่โครงการอ้างอิงตามแผนงานที่ได้จดั ทาขึน้ โดยหากไม่มกี ารแก้ไขในเวลาที่
เหมาะสมนัน้ อาจเกิดผลกระทบในระยะยาวต่อโครงการตามมา

ดังนัน้ แผนงานและการจัดการทีด่ ตี อ้ งมีความยืดหยุ่นต่อกันและกัน สามารถปรับแก้ไขการ


ดาเนินงานได้ไม่ให้มผี ลกระทบต่อแผนงานโครงการมากนัก อีกทัง้ หากแผนการทางานล่าช้าออกไป
มาก วิศวกรหรือผู้ควบคุมบริหารจัดการของโครงการต้องมีการหารือและจัดทาแผนงานเร่งรัด หรือ
Catch up Schedule เพือ่ เป็ นการปรับแผนย่อยให้ทนั กับแผนงานหลักของโครงการทีว่ างไว้
ตัวอย่างการจัดทาแผนงานเร่งรัดโดย Bar Chart
เมื่อมีการวางแผนงานของโครงการทีส่ มั พันธ์กนั ทุกส่วนตามลาดับและขัน้ ตอนการก่อสร้างโครงการแล้วนัน้
ขัน้ ตอนถัด ไปวิศ วกรงานระบบต้อ งศึก ษาและวางแผนการจัด การสังสิ ่ ้น ค้า หรือ อุ ป กรณ์ ต่ า งๆเข้า มาใน
หน่วยงานเพือ่ ให้สมั พันธ์กบั แผนงานทีไ่ ด้จดั ทาขึน้

โดยการจัดทาแผนการสังสิ ่ นค้า หรือการวางแผนความต้องการวัสดุเข้าทางานหรือติดตัง้ สาหรับงานระบบ


ประกอบอาคารโดยทัวไป ่ จะแบ่งออกเป็ น 3 ส่วนหลัก ดังนี้
1. วัสดุและอุปกรณ์เพือ่ ดาเนินงาน 1st Fixed เช่น ท่อร้อยสายไฟ, สายไฟ, ท่อน้ าประปาและท่อน้ าทิง้
พร้อมอุปกรณ์ขอ้ ต่อหรืออุปกรณ์ประกอบทัง้ หมด ซึง่ รายการวัสดุอุปกรณ์ดงั กล่าวนี้จะมีปริมาณทีม่ าก
ในงานติดตัง้ ดังนัน้ จาเป็ นต้องมีการจัดทาแผนช่วงเวลาการจัดส่งให้สมั พัน ธ์กบั การทางานจริง มิ
เช่นนัน้ อาจเกิดปั ญหาตามมาเช่น การไม่มที ก่ี องเก็บวัสดุในหน่วยงาน หรือมีของเหลือเป็ นจานวนมาก
2. วัสดุและอุปกรณ์เพื่อดาเนินงาน 2nd Fixed เช่น โคมไฟ ปลัก,สวิ ๊ ทซ์ หรืออุปกรณ์วาล์วต่างๆ ซึ่ง
รายการดังกล่าวนี้ การจัดทาแผนการจัดส่งและติดตัง้ ในช่วงเวลาที่เหมาะสมนัน้ จะช่วยลดปั ญหา
ตามมาในงานก่อสร้าง เช่น อุปกรณ์ได้รบั ความเสียหายหรือต้องมีการสกัดและแก้ไขงานอื่นๆ ในการ
ติดตัง้ ในเวลาทีไ่ ม่เหมาะสม
3. วัสดุและอุปกรณ์หลัก หรือ Main Equipment ถือได้ว่ามีความสาคัญยิง่ สาหรับงานระบบ ซึง่ อุปกรณ์
ส่วนใหญ่จะใช้เวลาในการสังหรื ่ อขนส่ง ดังนัน้ การวางแผนในการสังและน
่ าวัสดุเข้าหน่ วยงานนัน้ ต้องมี
การวางแผนทีแ่ ม่นยาและถูกต้องสัมพันธ์กบั งานทัง้ 2 ส่วนทีไ่ ด้กล่าวมาข้างต้น
โดยส่วนใหญ่ เมื่อเริ่มต้นดาเนินงานก่อสร้างโครงการ จาเป็ นต้องมีการจัดทาสานักงานสนาม
รวมทัง้ สิง่ อานวยความสะดวกในการก่อสร้างต่างๆ เช่น ห้องน้ าชัวคราว ่ ที่จอดรถ หรือที่จดั เก็บอุปกรณ์
ทางาน (Store) ซึง่ ในส่วนผูร้ บั เหมางานระบบนัน้ อาจมีการใช้พน้ื ทีบ่ างส่วนร่วมกับผูร้ บั เหมางานโครงสร้าง
แต่สงิ่ ทีส่ าคัญและจาเป็ นเป็ นอย่างยิง่ ในการดาเนินงาน และบริหารจัดการทีด่ ี คือ ต้องจัดทาทีเ่ ก็บของหรือ
Store อย่างเป็ นระเบียบและมีประสิทธิภาพ จะช่วยลดระเวลาในการทางานได้ เช่น หาก Store มีการจัดเก็บ
อุปกรณ์ท่ไี ม่เป็ นระเบียบและเรียบร้อยนัน้ ส่งผลให้การหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อดาเนินงานในแต่ละวันมีความ
ล่าช้า ส่งผลต่อแผนงานตามมาได้ หรือหากมีการสังของเพิ ่ ม่ เติม ในสิง่ ทีไ่ ม่สามารถหาได้ในช่วงเวลานัน้ จะ
ส่งผลกระทบต่อต้นทุนการดาเนินงานตามมาเช่นกัน
ตัวอย่างการจัดทาสานักงานและพืน้ ที่เก็บของ (Store)
การจัดการด้านเอกสารขออนุมตั ติ ่างๆ (Request for Approve) เป็ นส่วนสาคัญยิง่
ในขัน้ ตอนงานก่อสร้าง โดยจาเป็ นต้องยื่นเรื่องขออนุ มตั ติ ่อทีมผูบ้ ริหารและควบคุมงานอย่าง
เป็ นทางการ ก่อนการสังวั
่ สดุหรืออุปกรณ์เข้าหน่ วยงานของผูร้ บั เหมา รวมทัง้ การจัดทาแบบ
เพือ่ การดาเนินงานจริง หรือ Shop Drawing นัน้ ต้องมีการอนุมตั เิ ช่นเดียวกัน

ทัง้ นี้ในการเริม่ ต้นนัน้ ผูร้ บั เหมาจาเป็ นต้องจัดทารายการแสดงเอกสารทัง้ วัสดุและ


แบบทัง้ หมดของโครงการ เพือ่ ยื่น รายการให้ผบู้ ริหารและควบคุม งานรับทราบและตรวจสอบ
ก่อน จากนัน้ ให้พจิ ารณาร่วมกับแผนการดาเนินงานก่อสร้างหลักที่จดั ทาขึ้น (ตามหัวข้อ
ข้างต้น) ซึง่ จาเป็ นจะต้องสอดคล้องกับวันทีจ่ ะดาเนินงานก่อสร้างในส่วนนัน้ ๆ โดยให้กาหนด
เป็ นแผนการจัดส่งวัสดุและแบบให้ชดั เจน
ตัวอย่างเอกสารข้อมูลสถานะเอกสารการขออนุมตั ิ วสั ดุและแบบ
ตัวอย่างเอกสารข้อมูลสถานะเอกสารการขออนุมตั ิ วสั ดุและแบบ
ตัวอย่างเอกสารข้อมูลสถานะเอกสารการขออนุมตั ิ วสั ดุและแบบ
ในประเด็นการขออนุ มตั แิ บบและวัสดุสาหรับงานก่อสร้าง หากมีประเด็นข้อขัดแย้งหรือสงสัย
จากแบบและรายการประกอบแบบก่อสร้างของโครงการ ทางผูร้ บั เหมาจาเป็ นต้องส่งเรื่องไป
ยังผูอ้ อกแบบหรือผูท้ เ่ี กีย่ วข้องสาหรับการชีแ้ จงและให้ขอ้ มูลในทันที ทัง้ นี้โดยปกติทางผูต้ อบ
หรือผูใ้ ห้ขอ้ มูลจะพิจารณาและตอบกลับมายังโครงการ ตามกรอบและเวลาทีเ่ หมาะสมหรือได้
ตกลงกัน

ทัง้ นี้ผูร้ บั เหมาจาเป็ นต้องมีการวางแผนเวลาให้สอดคล้องกับระยะเวลาตามแผนงาน หากมี


ประเด็น ดัง กล่ า วที่จ าเป็ น ต้อ งขอข้อ มูล เพิ่ม เติม นัน้ อาจส่ง ผลกระทบต่ อ ระยะเวลาตาม
แผนงานของโครงการ ดังนัน้ จึงต้องมีการพิจาณาล่วงหน้าก่อนการดาเนินงานในส่วนนัน้ ๆ
ตัวอย่างเอกสารข้อมูลสอบถามและการขอข้อมูลเพิ่มเติมจากผูอ้ อกแบบ
ตัวอย่างเอกสารข้อมูลสอบถามและการขอข้อมูลเพิ่มเติมจากผูอ้ อกแบบ
ข้อควรระวังในการยืน่ เอกสารเพือ่ ขออนุมตั ิ (for Approve) และขอข้อมูล (for Information)
- สาหรับการยืน่ และการจัดทาเอกสารเพือ่ ขออนุ มตั ใิ นส่วนของวัสดุ (Material Approve) สาหรับใช้งาน
ของโครงการนัน้ ควรจะพิจารณาตามเอกสารรายการประกอบแบบที่กาหนดก่อน รวมทัง้ การจัดทา
ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติ (Comply Spec) อย่างชัดเจนนาเสนอต่อผูม้ อี านาจอนุมตั ติ ่อไป

- ทัง้ นี้ ห ากมีค วามจ าเป็ นต้อ งขอเทีย บเท่ า วัส ดุ ใ ดๆ ควรมีก ารหารือ ร่ ว มกับ โครงการก่ อ น จากนั น้
กระบวนการเอกสารต้องดาเนินการอย่างชัดเจน แสดงคุณสมบัติท่เี ทียบเท่า รวมทัง้ ชี้แจงผลดีหรือ
ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ในกรณีโครงการเลือกใช้

- การยื่นขออนุ มตั แิ บบสาหรับทางานจริง (Shop Drawing) นัน้ จาเป็ นต้องมีการแสดงรายละเอียดที่


ชัดเจนแสดงระยะ และภาพตัดตามทีช่ ่างจะสามารถทางานได้ ซึง่ ผูม้ อี านาจอนุ มตั สิ ่วนใหญ่จะพิจารณา
ในความถูกต้อง ครบถ้วนของแบบ รวมทัง้ ความเหมาะสมทีช่ า่ งจะดาเนินงานเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

- การยืน่ ขอข้อมูลเพิม่ เติม (RFI) ควรคานึงถึงผลกระทบต่อระยะเวลาเป็ นหลัก เพราะ ส่วนใหญ่มกั พบเจอ


ปั ญหาในขัน้ ตอนของการดาเนินงานแล้ว ซึ่งกระบวนการดังกล่าวนี้ จาเป็ นต้องอาจใช้ระยะเวลาในการ
พิจารณา ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อแผนงานก่อสร้างได้ รวมทัง้ รายละเอียดการนาเสนอต้องชัดเจนและ
ครบถ้วนเพือ่ ง่ายต่อการพิจารณาจากผูม้ อี านาจตัดสินใจต่อไป
จากประเด็นการขอข้อมูลเพิม่ เติมจากแบบหรือรายการประกอบแบบ (RFI) อาจส่งผลกระทบ
ต่อประเด็นราคางานเพิม่ หรือลดของโครงการตามมา อีกทัง้ ตลอดการดาเนินงานก่อสร้าง อาจ
มีขอ้ ขัดแย้งและความต้องการของโครงการทีเ่ พิม่ เติมจากแบบหรือสัญญาจ้าง ซึ่งผูร้ บั เหมา
จาเป็ นต้องเสนอราคางานเพิม่ หรือลดเพือ่ ขออนุมตั ิ (Request for Variation Order : RVO)
อย่างเป็ นทางการต่อผูม้ อี านาจพิจารณาก่อนเริม่ ดาเนินงานในงานนัน้ ๆ

หลักการการนาเสนอราคางานเพิม่ ลดหรือ Variation Order นัน้ ผูร้ บั เหมาต้องคานึงถึง


หลักการการเปลี่ยนแปลงที่เทียบกับแบบหรือรายการประกอบแบบแนบท้ายสัญญา แล้ว
นาเสนอทัง้ ในส่วนทีเ่ พิม่ และลด พร้อมหักลบให้เรียบร้อยและเข้าใจง่ายทีส่ ดุ รวมทัง้ เอกสารที่
ใช้อา้ งอิงทัง้ หมดทีม่ ี
ตัวอย่างเอกสารการนาเสนอราคางานเพิ่ม/ลดของโครงการ
ตัวอย่างเอกสารรายงานสถานะรายการงานเพิ่มลด
การเบิกจ่ายงวดงานอาจถูกแบ่งเป็ นไปตามข้อตกลงตามสัญญา มีทงั ้ ในส่วนการ
เบิกจ่ายตามปริมาณงานทีท่ าได้ (Progress) โดยอาจถูกแบ่งเป็ น 15 วันหรือ 1 เดือนตาม
ข้อตกลงในขัน้ ตอนการรับงาน รวมทัง้ อาจมีแบบในส่วนการเบิกจ่ายตามจุดตรวจสอบงาน
(Milestone) ซึง่ จะถูกกาหนดรายการงานทีจ่ าเป็ นต้องแล้วเสร็จ รวมทัง้ ปริมาณเงินทีจ่ ะได้รบั
ในขัน้ ตอนการรับงานเริม่ ต้นเช่นกัน

สิง่ สาคัญสาหรับผูร้ บั เหมาทีต่ อ้ งจัดทาเอกสารเพือ่ ขอเบิกจ่ายต่อโครงการ โดยทัวไป



ต้องจัดทารายการความก้าวหน้า (Report of Progress) ประกอบการเบิกจ่ายงวดงานนัน้ ๆ
ซึง่ ผูห้ น้าทีก่ ารรับผิดชอบจาเป็ นต้องจัดทาและนาส่งพร้อมกับเอกสารแจ้งเพื่อขอเบิกจ่ายต่อ
โครงการ

ซึ่งโดยปกติผู้มอี านาจสาหรับการตรวจสอบยอดการเบิกที่สาพันธ์กบั ปริมาณงานที่เกิดขึ้น


โดยจะใช้ระยะเวลาประมาณ 7 วันสาหรับการอนุมตั ิ และออกเอกสารรับรองการเบิกงวดงาน
ดังกล่าวแก่ผรู้ บั เหมา โดยต่อจากนัน้ จะเป็ นขัน้ ตอนในทางการบัญชีเกีย่ วกับเรือ่ งการวางบิล
หลักการคานึงถึงความปลอดภัยสาหรับงานก่อสร้าง ถือว่าเป็ นนโยบายที่ต้องพึง
ปฏิบตั แิ ละคานึงถึงในทุกระดับขัน้ ของการทางาน โดยทุกบริษทั งานรับเหมาต้องมีมาตรฐาน
ด้านความปลอดภัยประจาโครงการ ซึง่ จาเป็ นต้องมีการนาเสนอต่อโครงการในขัน้ ตอนเริม่ ต้น
การทางาน รวมทัง้ ในสัญญาจ้างงานจะมีบทบัญญัตสิ าหรับนโยบายการดาเนินงานด้านความ
ปลอดภัยประจาโครงการเช่นกัน ซึ่งจะถูกกาหนดขึน้ โดยผู้บริหารและควบคุมงานก่อสร้าง
หรือตัวแทนเจ้าของโครงการเป็ นหลัก
ตัวอย่างเอกสารบ่งชี้ความอันตรายและการควบคุมความเสี่ยงของโครงการ
ตัวอย่างข้อบังคับการดาเนินงานด้านความปลอดภัย
ตัวอย่างเอกสารบ่งชี้ความอันตรายและการควบคุมความเสี่ยงของโครงการ
การดาเนินงานก่อสร้างโครงการใดๆ จาเป็ นต้องมีมาตรการรักษาความปลอดภัย
เพื่อให้ทุกคนที่เข้ามาทางานหรือเยี่ยมเยียนหน่ วยงานก่อสร้างนัน้ ๆ ได้รบั ความปลอดภัย
ปราศจากอันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ ในขณะดาเนินการงานก่อสร้าง

โดยสิง่ ที่วศิ วกรพึงต้องรู้คอื หลักการรักษาความปลอดภัยเบื้องต้นทัง้ สาหรับส่วน


บุคคล และส่วนรวม โดยปกติก่อนการเริม่ ต้นดาเนินงานใดๆ มักจะมี การอบรมมาตรการ
รักษาความปลอดภัยภายในสถานที่ก่อสร้าง เพื่อยึดถือปฏิบตั ปิ ้ องกันมิให้เกิดอุบตั เิ หตุหรือ
อันตรายใดๆ
ตัวอย่างรายการดาเนินงานด้านความปลอดภัยและการประเมินผลของโครงการ
การรายงานข้อมูลการปฏิบตั ิ งานด้านความปลอดภัยและมาตรการของโครงการ
การจัดให้มีการอบรมด้านความปลอดภัยแก่แรงงาน
เบื้องต้นการรับงานก่อสร้างใดๆ มีความจาเป็ นต้องตรวจสอบแบบก่อสร้างแนบท้ายสัญญา
รวมทัง้ หลักคิดการออกแบบจากผู้ออกแบบโครงการ พร้อมต้องสามารถตรวจสอบความ
ถูกต้องของรายการคานวณแบบเพือ่ ทวนสอบก่อนดาเนินการทาแบบ Shop Drawing และ
ก่อนการลงมือก่อสร้างจริง

ทัง้ นี้หากแบบมีข้อขัดแย้งหรือข้อมูลไม่ครบถ้วน และหากตรวจสอบแล้วเข้าใจว่ามีความ


ผิดพลาดเกิดขึน้ วิศวกรควรจะจัดทาเอกสารการขอข้อมูลเพิม่ เติมหรือขอคาชีแ้ จงในรู ปแบบ
เอกสาร Request for Information : RFI ส่งไปยังผูเ้ กีย่ วข้องในทันที

และเมื่อ ได้ร ับ ข้อ มูล กลับ มาแล้ว หากท าการตรวจสอบข้อ มูล แล้ว ถู ก ต้อ งและครบถ้ว น
สามารถจัดทาแบบเพือ่ ลงรายละเอียดสาหรับการก่อสร้าง (Shop Drawing) นาเสนอขออนุมตั ิ
ต่อผูค้ วบคุมงานหรือตัวแทนเจ้าของโครงการได้ต่อไป
- จะต้องทาการศึกษาให้รถู้ งึ แบบงานสถาปั ตยกรรม, แบบโครงสร้าง, แบบตกแต่งภายใน และ
รวมถึงงานระบบอื่น ๆ ที่ต นเองมิได้ร บั ผิดชอบอยู่ ทัง้ นี้ เนื่ องจากงานทุ ก ส่ว นจะต้อ งมีความ
สอดคล้อง และสัมพันธ์ซง่ึ กันและกันในการติดตัง้

- ตรวจสอบแนวทาง (ROUTING) การเดินท่อน้ า, ท่อร้อยสาย และอื่นๆ ว่าติดตัง้ ได้จริงตามแบบ


ทีเ่ สนอมาหรือไม่ โดยต้องดูแบบโครงสร้าง / สถาปั ตยกรรมประกอบกัน

- ตรวจสอบการติดตัง้ อุปกรณ์ ต่างๆ ว่าไปติดตัง้ ขวางกับประตู / หน้ าต่าง / เฟอร์นิเจอร์ต่างๆ


หรือไม่ โดยต้องดูจากแบบสถาปั ตยกรรมประกอบกัน

- ตรวจสอบว่า PLAN LAYOUT ระหว่างแบบงานระบบ และแบบสถาปั ตยกรรม ทีก่ ่อสร้างจริง


ตรงกันหรือไม่ โดยเฉพาะเรือ่ งการกัน้ ห้อง, SPACE ในฝ้ า, ประเภทของฝ้ า ฯลฯ เป็ นต้น หากยัง
ขัดแย้งกันต้องรีบปรึกษา เพือ่ หาทางแก้ไขโดยทันที
- ตรวจสอบความสอดคล้องของแบบ SHOP DRAWING ทีจ่ ะทาการติดตัง้ กับรายละเอียดทีร่ ะบุ
ในข้อกาหนดประกอบแบบ (SPECIFICATION) และ SINGLE LINE DIAGRAM / RISER
DIAGRAM รวมทัง้ SCHEMATIC DIAGRAM หากขัดแย้งกันต้องรีบปรึกษากับผูอ้ อกแบบ

- ตรวจสอบ ROUTING การเดินท่อต่างๆ ว่าจะต้องติดตัง้ ในพืน้ คอนกรีต , ผนังก่อ หรือสามารถ


เดินลอย (EXPOSED) หากต้องติดตัง้ ในพืน้ คอนกรีตต้องรีบตรวจกาหนดการเทปูน เพื่อ
ผูร้ บั เหมาจะได้ดาเนินได้ทนั ท่วงที

- ตรวจสอบขนาดช่อง SHAFT ทีท่ าการติดตัง้ RISER ว่าเพียงพอหรือไม่ รวมทัง้ ต้องดูว่า


SHAFT ทีจ่ ะทาการติดตัง้ งานระบบมีการแบ่งแยกชัดเจนระหว่างท่อน้ าต่างๆ กับท่อไฟฟ้ า
หรือไม่ หากมีปัญหาต้องรีบปรึกษาผูเ้ กีย่ วข้องเพือ่ หาทางแก้ไขโดยทันที

- พิจารณาตรวจสอบให้มชี ่องเปิ ด (ACCESS DOOR) ของงานฝ้ าทีจ่ าเป็ นต้องมีการเข้าถึง เพื่อ


ซ่อมแซม/บารุงรักษาเครือ่ งจักร, วัสดุ, อุปกรณ์ต่างๆ

- ในบางบริเ วณอาจมีง านระบบหลายระบบอยู่ด้ว ยกัน ซึ่ง อาจมีปั ญ หาในการติด ตัง้ ควรให้


ผูร้ บั เหมาทาแบบขยาย และ/หรือ ตัด SECTION เพือ่ จะได้ไม่เกิดปั ญหาในระหว่างการติดตัง้
ตัวอย่างการจัดทา Shop Drawing
เมื่อติดตัง้ งานแล้วเสร็จ
ตัวอย่างการจัดทา Shop Drawing
เมื่อติดตัง้ งานแล้วเสร็จ
ข้อควรระวัง ในการจัดทา Shop Drawing เพือ่ นาเสนอขออนุมตั ิ
- ห้าม เดินท่อน้ าผ่านห้องไฟฟ้ า, ห้องควบคุมทุกชนิด

- ห้าม ติดตัง้ FITTING จาพวก Union ภายในฝ้ ายิปซัมฉาบเรี


่ ยบโดยไม่มชี อ่ ง Service

- ห้าม ติดตัง้ เครือ่ งจักรใดๆ เช่น พัดลมระบายอากาศ ฯลฯ เป็ นต้น บนฝ้ าห้องควบคุมต่างๆ เช่น ห้อง
SECURITY, ห้อง BAS ฯลฯ เป็ นต้น

- พยายามหลีกเลีย่ ง การฝั ง BOX ไฟฟ้ าจาพวก OUTLET ในเสาคอนกรีต โดยเฉพาะอย่างยิง่ เสา


คอนกรีตกลม หากเป็ นไปได้ให้ยา้ ยไปติดตัง้ ทีผ่ นังแทน

- ในการพิจารณา SHOP DRAWING ของห้องน้ า/สุขา ควรมี SHOP DRAWING ของกระเบือ้ งดู
ประกอบด้วย

- การวัดระยะต่างๆ ต้องอ้างอิงจาก GRID LINE เสมอ ห้ามอ้างอิงจากขอบผนังโดยเด็ดขาด


วัตถุประสงค์หลัก การจัดทาแบบ COMBINE SHOP DRAWINGS

การจัดทา Combined Drawing ของงานวิศวกรรมระบบเหนือฝ้ าเพดานซึง่ จะใช้เป็ น


แนวทางให้ผรู้ บั เหมางาน วิศวกรรมระบบประกอบอาคาร ทาการติดตัง้ งานทีต่ นเองรับผิดชอบนัน้ เป็ น
เรื่องที่ต้องอาศัยการประสานงาน และประสบการณ์ ของบุคคลที่เกี่ยวข้องหลายฝ่ าย ทัง้ ผู้ออกแบบ
ผูบ้ ริหารโครงการและควบคุมงานก่อสร้าง ผูร้ บั เหมางานฝ้ าเพดานรวมทัง้ ผูร้ บั เหมางานวิศวกรรมระบบ
ประกอบอาคาร หากโครงการใดการจัดทา Combined Drawing เป็ นไปด้วยดี การเกิดข้อผิดพลาดหรือ
ความขัดแย้ง (Obstruction) ในการติดตัง้ งานต่างๆ จะลดน้อยลง ผูท้ ไ่ี ด้ประโยชน์สงู สุดก็คอื ผู้ที่ทา
หน้ าที่ในการ Operate และบารุงรักษาของเจ้าของโครงการนัน่ เอง แต่ตรงกันข้ามหากโครงการใด
มีการจัดทา Combined Drawing ทีไ่ ม่ดพี อก็อาจมีโอกาสเกิดความขัดแย้งในขณะทีท่ าการติดตัง้ งาน
เหนือฝ้ า เพดาน ซึ่งเป็ นผลให้บางโครงการต้องสูญเสียเวลา และค่าใช้จ่ายโดยไม่จาเป็ นในการแก้ไข
ความขัดแย้งดังกล่าว นอกจากนี้ยงั อาจเกิดความยุ่งยากในการใช้งานภายหลังของเจ้าของโครงการด้วย
ซึง่ เป็ นสิง่ ทีไ่ ม่พงึ ปรารถนาของทุกฝ่ ายทีเ่ กีย่ วข้อง
ตัวอย่างการจัดทา Combined Drawing
ตัวอย่างการจัดทา Combined Drawing
ตัวอย่างการจัดทา Combined Drawing
ตัวอย่างการจัดทา Combined Drawing
ตัวอย่างการติดตัง้ งานระบบที่มีการ Combine แบบ
ตัวอย่างความยุง่ ยากหรือปั ญหาทีเ่ กิดขึน้ เนื่องจากการขาดการวางแผนหรือการประสานงาน
ทีด่ ใี นการจัดทา Combined Drawing เหนือฝ้ าเพดาน เช่น
1. กล่องต่อสาย ( Junction Box) ของงานระบบไฟฟ้ าถูกงานท่อลมมาปิ ดทับจนไม่สามารถจะทาการลาก
สายไฟฟ้ า (Wiring) ได้
2. ตาแหน่งหัว Sprinkler แบบ Pendent อยูใ่ ต้ท่อลมขนาดใหญ่จนไม่สามารถจะทาการ Offset ท่อหรือ
เชือ่ มท่อน้ าดับเพลิงหรือใส่ Support ได้

ท่อ Sprinkler ไม่ควรอยูใ่ ต้ทอ่ ลมเพราะติดตัง้ Support ยาก


3.ดวงโคมไม่วา่ แบบ Down Light หรือ Fluorescent ไม่สามารถติดตัง้ ได้เพราะไม่ได้เผือ่ เนื้อทีเ่ หนือฝ้ าเพดาน
4.มีการถอด Support ของงานระบบอื่นๆ ออกเพือ่ ติดตัง้ งานของตนเอง และไม่ใส่กลับคืน, เนื่องจากใส่ไม่ได้
5.หัวจ่ายแบบ Linear Slot Diffuser ติดตัง้ ไม่ได้เพราะไม่มเี นื้อทีส่ าหรับแขวน Plenum
6.แนว Main ของ Wire Way, Cable Tray กับท่อลมอยูใ่ นแนวเดียวกัน ทาให้มชี อ่ งว่างน้อยเกินไปในการ
ถอดฝา Wire Way หรือ Cable Tray ในภายหลัง

Wire Way อยูช่ ดิ ติดกับแนวท่อลมมากเกินไป


7. ตาแหน่ง Control Valve ต่างๆ ถูกบดบังจนไม่สามารถ Service หรือใช้งานได้
8. Flexible Duct มีความยาวมากเกินความจาเป็ น
9. ท่อลม และ/หรือ พัดลมระบายอากาศเหนือฝ้ าเพดานในห้องน้ า (ทีม่ งี านท่อระบบสุขาภิบาลมากมาย)
ไม่สามารถติดตัง้ ได้เพราะมีเนื้อทีไ่ ม่เพียงพอ
10.ไม่สามารถติดตัง้ โครงคร่าวฝ้ าเพดานตามระดับทีก่ าหนดในแบบได้ เพราะไม่ได้มกี ารเผือ่ ระดับของ
โครงคร่าวฝ้ าเพดานในการจัดทา Combined Drawing เหนือฝ้ าเพดาน

ตัวอย่างประเภทของงานวิศวกรรมระบบประกอบอาคารที่ติดตัง้ เหนื อฝ้ าเพดาน


ได้แก่
 งาน Raceway ต่างๆ เช่น ท่อร้อยสาย (Conduit), Wire Way, Cable Tray, Junction Box ฯลฯ
 ท่อน้ ารวมทัง้ วาล์วในระบบ ปรับอากาศ, ป้ องกันเพลิงไหม้, สุขาภิบาล (ทัง้ น้ าดี น้ าเสีย) และอื่นๆ
 เครือ่ งจักรต่างๆ เช่น เครือ่ งเป่ าลมเย็นทัง้ ขนาดใหญ่ และขนาดเล็ก (Air Handling Unit : AHU & Fan
Coil Unit : FCU), พัดลมระบายอากาศ
 ท่อลมในระบบปรับอากาศ
 อื่นๆ ฯลฯ
Ceiling Fixtures Outlet หรืออุปกรณ์ต่างๆ ทีต่ ดิ ตัง้ ทีง่ านฝ้ า ได้แก่
• งานระบบไฟฟ้ า
ดวงโคมต่างๆ
ลาโพง
Detector ต่างๆ
Exit Sign / Emergency Light
ฯลฯ
• งานระบบปรับอากาศ
หัวกระจายลม (ทัง้ Supply / Return)
Access Panel (เพือ่ ซ่อมบารุงเครือ่ งจักรทีต่ ดิ ตัง้ บนฝ้ าเพดาน)
ฯลฯ
• งานระบบป้ องกันเพลิงไหม้
หัว Sprinkler
ฯลฯ
สิ่งที่ควรรู้ในการจัดทา Combined of Ceiling
1. ประเภทฝ้ าเพดานทีต่ ดิ ตัง้ ในแต่ละบริเวณ
2. ลักษณะและทิศทางการติดตัง้ แนวฝ้ าเพดาน โดยเฉพาะฝ้ าเพดานชนิด T-bar ทีม่ ี Dimension
เป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า (ส่วนใหญ่จะมีขนาด 1,200 x 600 มม. หรือ 4 x 2 ฟุต)
3. ลักษณะและทิศทางการติดตัง้ โคร่งคร่าวฝ้ าเพดานทัง้ โครงคร่าวหลัก (บางครัง้ เรียกว่า “ กระดูก
ฝ้ า” ) และโครงคร่าวย่อย โดยปกติแล้วผูร้ บั เหมางานฝ้ าเพดานมักไม่ยอมให้ตดั โครงคร่าวหลัก
เพราะจะต้องมาเสริมเหล็กแขวนในแนวทีถ่ ูกตัด และ/หรือ บางครัง้ หากทาไม่เรียบร้อยฝ้ าเพดาน
บริเวณดังกล่าวอาจมีลกั ษณะแอ่น หรือทีเ่ รียกว่า “ ตกท้องช้าง”
4. ระดับพืน้ ห้องทีต่ กแต่งแล้ว (After Finished Floor : AFF) ถึงระดับฝ้ าเพดานเป็ นรายห้อง
5. ระยะจากระดับฝ้ าเพดานถึงท้องพืน้ Slab ในแต่ละบริเวณ
6. ระยะจากระดับฝ้ าเพดานถึงแนวคาน (ทัง้ คานหลักและคานย่อย) ในแต่ละบริเวณรวมถึงแนวคาน
ด้วย
7. ลักษณะความลึกและขนาด Drop Panel รอบเสา
ขัน้ ตอนการดาเนินงาน
• กาหนดให้ผรู้ บั เหมางานฝ้ าเพดานส่งแบบ Shop Drawing (ทีไ่ ด้รบั การอนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงาน
สถาปั ตยกรรมแล้ว) ให้ผรู้ บั เหมางานวิศวกรรมระบบประกอบอาคารไปดาเนินการลงตาแหน่ง Ceiling
Fixtures Outlet และอุปกรณ์ต่างๆ ทีต่ นเองรับผิดชอบให้ครบถ้วน (ลงในแบบ Shop Drawing ฝ้ า
เพดานแผ่นเดียวกัน) เพือ่ จัดส่งให้ผอู้ อกแบบ หรือผูค้ วบคุมงาน วิศวกรรรมระบบประกอบอาคาร
พิจารณาเพือ่ อนุมตั ิ

• แบบ Shop Drawing จะต้องประกอบด้วยรายละเอียดของงานติดตัง้ แผ่นฝ้ าเพดาน พร้อมแนวกัน้ ห้อง


ต่างๆ ให้ครบถ้วน มิฉะนัน้ แล้วการลงตาแหน่ง Ceiling Fixtures Outlet อาจผิดเพีย้ นไม่ตรงกับ
วัตถุประสงค์การใช้งาน

• หลังจากแบบฝ้ าเพดานทีแ่ สดงตาแหน่ง Ceiling Fixtures Outlet และอุปกรณ์ต่างๆ ได้รบั การ


พิจารณาอนุมตั แิ ล้ว ให้ผรู้ บั เหมางานฝ้ าเพดานแจกจ่ายแบบดังกล่าวให้ผรู้ บั เหมางานวิศวกรรมระบบทุก
ระบบนาไป Plot แบบร่างงานวิศวกรรมระบบต่างๆ ทีต่ อ้ งติดตัง้ บนฝ้ าเพดาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ แนวท่อ
ลม, ท่อน้ า, Raceway หลักๆ ทีม่ ขี นาดใหญ่ เพือ่ นามาประชุมจัดแนวต่างๆ ร่วมกันต่อไป

หมายเหตุ : ก่อนผูร้ บั เหมาจะปิ ดฝ้ าเพดาน ต้องสังการให้


่ ผรู้ บั เหมางานวิศวกรรมระบบประกอบ
อาคารจัดทา As Built Drawing ก่อน โดยเฉพาะฝ้ าเพดานชนิดฉาบเรียบ
การวางแผนการทดสอบงานระบบ

เมื่อผูร้ บั เหมาดาเนินการติดตัง้ งานระบบเป็ นที่เรียบร้อยแล้วนัน้ จาเป็ นต้องดาเนินการ


ทดสอบระบบเพื่อความสมบูรณ์ และถูกต้องของงานแต่ละส่วน เพื่อนาเสนอต่อโครงการและการ
จัดเก็บข้อมูลในรูปแบบเอกสารการทดสอบทัง้ หมด

ขัน้ ตอนการทดสอบระบบจะถูกแบ่งออกเป็ นแต่ละช่วงการทางาน ดังเช่น


- การทดสอบระบบเบื้องต้นก่อนการปิ ดทับ คือ การทดสอบแรงดันน้ าในท่อก่อนการฉาบผนัง
หรือการทดสอบวงจรไฟฟ้ าก่อนการปิ ดฝ้ า เป็ นต้น
- การทดสอบระบบหลังจากติดตัง้ อุปกรณ์ คือ การทดสอบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างและสวิทซ์ /ปลัก๊
โดยใช้อุปกรณ์จริง หรือการทดสอบการใช้สขุ ภัณฑ์ต่างๆ
- การทดสอบระบบรวมกับ อุ ป กรณ์ ห ลัก คือ จะเป็ น การทดสอบระบบจากการใช้ง าน Main
Equipment รวมในแต่ละระบบเพือ่ ทดสอบการใช้งานจริงก่อนการส่งมอบงานต่อโครงการ

โดยการจัดทาแผนงานการทดสอบจะถูกแบ่งออกเป็ นช่วงเวลา และจะสอดคล้องกับแผนงานหลักที่


ได้จดั ทาขึน้ ซึง่ การทดสอบระบบถือได้วา่ เป็ นเนื้องานทีส่ าคัญในการทางานมิอาจหลีกเลีย่ งได้
ตัวอย่างแสดงสถานะและแผนกาหนดการทดสอบระบบ
การจัดเตรียมความพร้อมสาหรับการทดสอบระบบ

เบื้องต้นเมื่อทาการติดตัง้ งานแล้วเสร็จในแต่ละส่วน จาเป็ นต้องทาเอกสารเพื่อแจ้ง


ทดสอบ (Inspection Testing Sheet) พร้อมนาเสนอแนวทางหรือวิธกี ารทดสอบต่อผูค้ วบคุม
งานหรือตัวแทนจ้าของโครงการรับทราบ และพิจารณา เพื่อเข้าร่วมการทดสอบระบบตามที่
ผูร้ บั เหมาได้แจ้ง

โดยอุปกรณ์การทดสอบต้องถูกจัดเตรียมความพร้อมล่วงหน้าอย่างน้อย 3-6 ชัวโมง



และทางวิศวกรงานระบบของผู้รบั เหมาควรเข้าตรวจสอบงานเบื้องต้นเพื่อพิจารณาความ
เรียบร้อยและถูกต้อง ก่อนการจัดทาเอกสารแจ้งต่อโครงการ

สาหรับการทดสอบอุปกรณ์นัน้ ก่อนการทาการทดสอบ ควรจัดส่งเอกสารแสดงวิธี


และกระบวนการทดสอบ (Method Statement) ต่อผูค้ วบคุมงานหรือตัวแทนจ้าของโครงการ
รับทราบและพิจารณาเป็ นส่วนสาคัญ โดยหลักจะเป็ นการจาลองสถานะและการใช้งานระบบ
นัน้ ๆแบบเสมือนจริงเป็ นหลัก
Flow chart for inspection
Flow chart for inspection
ตัวอย่างการเตรียมเอกสารเพื่อบันทึกการทดสอบระบบต่อโครงการ
ตัวอย่างเอกสารแสดงรายละเอียดและวิธีการทดสอบระบบ
(Method Statement)
กระบวนการทดสอบและบันทึกผล

สาหรับวิศวกรงานระบบของโครงการนัน้ ต้องทาการทดสอบตามกระบวนการทีแ่ จ้ง


นาเสนอ และบันทึกผลจัดทารายงานการทดสอบได้ พร้อมจัดส่งข้อมูลเพื่อบันทึกต่อโครงการ
โดยหากมีขอ้ บกพร่องสาหรับกระบวนการทดสอบ ต้องดาเนินการแก้ไขพร้อมนาเสนอขอแจ้ง
ตรวจสอบใหม่ทงั ้ หมดต่อผูค้ วบคุมงานหรือตัวแทนเจ้าของโครงการต่อไป
ตัวอย่างการทดสอบและบันทึกผล
ตัวอย่างการทดสอบและบันทึกผล
ตัวอย่างการทดสอบและบันทึกผล
การจัดทาคู่มือการใช้งาน (Instruction Manual)

คู่มอื การใช้งานของงานระบบในแต่ละประเภทของงานถือว่าเป็ นส่วนประกอบที่


สาคัญของการส่งมอบงานต่อโครงการ โดยวิศวกรงานระบบจาเป็ นต้องจัดทาและรวบรวม
จากบริษทั ผูผ้ ลิตสินค้าต่างๆ เพื่อนาส่งให้แก่ผูค้ วบคุมงานหรือตัวแทนเจ้าของโครงการ
ต่อไป
การจัดทาคู่มือการใช้งาน (Instruction Manual)
ตัวอย่างรูปแบบและเนื้อหาขัน้ ต่าทีค่ วรมีในรูปเล่มคู่มอื การใช้งาน
ตัวอย่างการการจัดทาคู่มือการใช้งาน

BOOSTER PUMP
• VERTICAL MULTI STAGES
• MODEL : 10 SV 09
• FLOW : 4x38 M3/HR
• HEAD : 70 M
• POWER OUT-PUT : 15 KW
• SPEED: 2900 RPM
• VOLTAGE: 380V/3PH/50Hz

•BRAND : HYDROLINE

•TYPE : BLADDER VESSEL

•VOLUMN : 500 L.

•TEMP : -10 TO 100 C

•WORKING PRESSURE :
UP TO 10 BAR.
ตัวอย่างการการจัดทาคู่มือการใช้งาน
• หลักการทางานของระบบ Booster pump
- รักษาแรงดันในระบบให้คงที่อยูส่ ม่าเสมอ โดยอาศัย Pressure switch
ที่นิยมกันจะมีสองแบบ คือ แบบสลับกันทางาน (Alternate)
แบบเสริ มช่วย (Paralell) โดยจะใช้ป้ ัมอย่างน้อย 2 ตัว สลับกันทางาน
และในระบบจาเป็ นต้องใช้ถงั แรงดัน (Pressure tank) เพื่อช่วยลดการทางาน
ในการ start-stop ของปั้มอีก และมีระบบป้องกันการสู บน้ าไม่ข้ ึน ( Run-dry protection ) โดยใช้
Floatless level Relay ทางานร่ วม
กับก้าน Electrode Sensor หรื อเพิ่มระบบควบคุมแบบ Variable Speed Drive (VSD) โดยใช้
invertor เพื่อประหยัดพลังงานในการทางานของปั้ม
ตัวอย่างการการจัดทาคู่มือการใช้งาน
ตัวอย่างการการจัดทาคู่มือการใช้งาน
ตัวอย่างการการจัดทาคู่มือการใช้งาน
การจัดทา As Built Drawings

การจัดทาแบบสาหรับงานติดตัง้ อุปกรณ์ จริงทัง้ หมดของงานระบบในรูปแบบ As


built Drawing นัน้ ถือได้ว่าเป็ นอีกสิง่ หนึ่งทีต่ อ้ งดาเนินการส่งมอบทัง้ หมดต่อโครงการ โดย
บริษทั ผูร้ บั เหมางานระบบจาเป็ นต้องมีขอ้ มูลการติดตัง้ ตัง้ แต่เริม่ แรกของงานก่อนปิ ดทับ และ
งานติดตัง้ ระบบ 2nd Fixed เพื่อผูใ้ ช้งานจริงได้รบั ทราบข้อมูลของงานระบบภายในโครงการ
ทัง้ หมด เพือ่ ในอนาคตหากจาเป็ นต้องมีการแก้ไขหรือเพิม่ เติมงาน จะสามารถใช้ประโยชน์จาก
ข้อมูลแบบดังกล่าวได้

โดยการเขียนแบบ As Built Drawing นัน้ จาเป็ นต้องเน้นความถูกต้องของสิง่ ที่


ดาเนินการเป็ นหลัก รวมทัง้ รายละเอียดทีเ่ พิม่ เติม เช่น ภาพถ่ายประกอบ อาจถูกใช้เป็ นส่วน
หนึ่งของการจาทาแบบเช่นกัน เพื่อเป็ นประโยชน์ สูงสุดในกรณีมกี ารเรียกใช้งานในอนาคต
ต่อไป
ตัวอย่างเอกสารการรายงานสถานะความก้าวหน้ าการจัดส่งแบบ As Built Drawing
ตัวอย่างเอกสารการรายงานสถานะความก้าวหน้ าการจัดส่งแบบ As Built Drawing
ตัวอย่างเอกสารการรายงานสถานะความก้าวหน้ าการจัดส่งแบบ As Built Drawing
ตัวอย่างเอกสารการรายงานสถานะความก้าวหน้ าการจัดส่งแบบ As Built Drawing
การฝึ กอบรม (Training)

กระบวนการที่ถือได้ว่า เป็ นการส่งมอบงานระบบที่ส มบูรณ์ คือ การจัด ให้ม ีการ


ฝึกอบรมการใช้งานแก่ผใู้ ช้งานจริง (User or Operator) เนื่องจากระบบทีต่ ดิ ตัง้ สมบูรณ์แล้ว
ต้องส่งต่อการใช้งานตามวัตถุประสงค์ทอ่ี อกแบบมา โดยวิศวกรงานระบบต้องทาการวางแผน
และกาหนดการเพือ่ แจ้งต่อทุกฝ่ ายทีเ่ กีย่ วข้องเข้าร่วมเป็ นประโยชน์สงู สุดต่อโครงการ

โดยกระบวนการสาคัญสาหรับการฝึกอบรมหรือการ Training นัน้ จะรวมไปถึงการ


ซ่อมบารุงรักษาหากเกิดความเสียหายต่ออุปกรณ์ในอนาคตต่อช่างเทคนิคผูใ้ ช้งาน

หากจบกระบวนการดังที่ได้กล่าวมาทัง้ หมดนัน้ จะถือได้ว่าผูร้ บั เหมาดาเนินตาม


ขอบเขตหรือสัญญาจ้างเหมางานเป็ นทีเ่ รียบร้อยแล้ว จึงสามารถจัดส่งเอกสารการขอส่งมอบ
งานโครงการเพือ่ ใช้งานตามวัตถุประสงค์ต่อไป
ตัวอย่างเอกสารนาเสนอฝึ กอบรมเพื่อใช้งาน
ตัวอย่างเอกสารนาเสนอฝึ กอบรมเพื่อใช้งาน
FIRE PUMP SYSTEM
Pressure Relief
170 psi

Pressure keep
in line 150 psi

Pressure Relief
Jockey pump 150 psi
Start–Auto Pressure Drop
Stop Auto 120 psi

Fire pump
Pressure Drop Start –Auto
110 psi Stop -Manual
ขัน้ ตอนการ START UP FIRE PUMP
WARNING
ก่อนการติดเครือ่ งยนต์ในแต่ละครัง้ ควรทาการตรวจสอบสิง่ เหล่านี้
• น้ าในหม้อน้ า
• น้ ากลันของแบตเตอรี
่ ่
• น้ ามันเชือ้ เพลิง (DIESEL)
• วาล์วระบบระบายความร้อนว่าอยูใ่ นตาแหน่งเปิ ด-ปิ ดถูกต้องหรือไม่
• น้ าในบ่อ (TANK)
• ตาแหน่งวาล์วทางด้านดูดและด้านจ่ายว่าถูกต้องหรือไม่
ขัน้ ตอนการ START UP FIRE PUMP
1 ) START ที่ ENGINE BOX
(1.1) ปรับ SELECTOR SWITCH (AUTO-MAN)ไปทีต่ าแหน่ง MANUAL
(1.2) โยก SWITCH START ชุดที่ 1 ( CRANK#1 ) เพือ่ สัง่ START PUMP โดยแบตเตอรีช่ ุดที่ 1
พอเครือ่ งยนต์ทางานแล้วให้ปล่อย
SWITCH START ชุดที2่ ( CRANK#2 ) เพือ่ สัง่ START PUMP โดยแบตเตอรีช่ ุดที่ 2 โดย
โยกได้ทลี ะชุดห้ามโยกพร้อมกัน
2) START ที่ FIRE PUMP CONTROLLER ในระบบ MANUAL
3) START ที่ FIRE PUMP CONTROLLER ในระบบ AUTOMATIC ในการ START FIRE
PUMPในระบบ AUTO นัน้ จะสัง่ START ด้วย PRESSURE ในระบบโดยการตัง้ จุด START
ไว้แต่ในการ STOP นัน้ ต้อง STOP โดย MANUAL
ตัวอย่างเอกสารนาเสนอฝึ กอบรมเพื่อใช้งาน
ข้อแนะนาการตรวจสอบอุปกรณ์
ตรวจสอบทุกสัปดาห์ ตรวจสอบทุก 6 เดือน
• ระดับน้ากลันในแบตเตอรี
่ ่ • ตรวจสอบระบบท่อจ่ายน้ามันเชือ้ เพลิง
• ระดับน้าหม้อน้า • ตรวจสอบกรองอากาศ
• ตรวจสอบระดับน้ามันเครือ่ ง • ตรวจสอบชุดควบคุมความเร็ว
• ตรวจสอบถังน้ามันเชือ้ เพลิง
• ตรวจสอบระบบท่อไอเสีย
• ตรวจสอบระบบหล่อเย็นของเครือ่ งยนต์
• ตรวจสอบชุดชาร์จแบตเตอรี่
ตรวจสอบทุก 3 เดือน • ตรวจสอบแผงควบคุมเครือ่ งยนต์
• ตรวจสอบระบบท่อจ่ายน้ามันเชือ้ เพลิง • ตรวจสอบการทางานของตูค้ วบคุม Fire pump ,
• ตรวจสอบกรองอากาศ Jockey pump
• ตรวจสอบชุดควบคุมความเร็ว
• ตรวจสอบชุดชาร์จแบตเตอรี่
• ตรวจสอบแผงควบคุมเครือ่ งยนต์
ตัวอย่างการฝึ กอบรมเพื่อใช้งาน
Hand over flow chart
เอกสารประกอบการส่งมอบงาน ( Handover Documents)

เมื่อ โครงการได้ด าเนิ น งานมาจนถึง ขัน้ ตอนสุ ด ท้า ย ระบบประกอบอาคาร


สามารถใช้งานจริงได้ตามวัตถุประสงค์โครงการ มีความพร้อมทีจ่ ะสามารถส่งมอบพืน้ ที่
และอุปกรณ์ต่างๆตามขอบเขตของสัญญาต่อให้ผดู้ ูแลในฝ่ ายเจ้าของโครงการได้แล้ว สิง่
หนึ่งทีส่ าคัญอย่างยิง่ ทีจ่ าเป็ นต้องส่งมอบเพื่อประกอบการส่งมอบงานคือ เอกสารส่งมอบ
งานตามสัญญา โดยในแต่ละโครงการอาจมีความแตกต่างกันบ้าง วิศวกรผูเ้ กี่ยวข้องจึง
จาเป็ นต้องตรวจสอบจากสัญญาฯอย่างถีถ่ ว้ นอีกครัง้

ซึ่งในหัวข้อนี้จะแสดงตัวอย่างเพื่อเป็ นแนวทางให้วศิ วกรสนามได้เตรียมตัวและ


เป็ นข้อมูลก่อนเริม่ งานจริง ดังนี้
เอกสารประกอบการส่งมอบงาน ( Handover Documents)
เอกสารประกอบการส่งมอบงาน ( Handover Documents)-ต่อ
เอกสารประกอบการส่งมอบงาน ( Handover Documents)-ต่อ

You might also like