You are on page 1of 62

บทบาทของวิศวกรในการพัฒนาโครงการ

การพัฒนาโครงการ
Project Development
ขั3นตอนในการพัฒนาโครงการ

n ระยะก่อนการลงทุน (Pre-investment phase)


– การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ
n ระยะลงทุน (investment phase)
– การออกแบบทางวิศวกรรม การทําสัญญา การก่อสร้าง การรับสมัคร
และฝึ กอบรมพนักงาน
n ระยะดําเนินการ (operation phase)
– ดําเนินการให้เป็ นไปตามแผนจนกว่าจะสิH นสุ ดโครงการ
ระยะที8 : Pre-investment phase
n Owner Engineer
– วิศวกรทีKอยูใ่ นบริ ษทั ทีKเป็ นเจ้าของโครงการ
– ค้นหาโอกาสทางธุรกิจ
– ทราบข้อจํากัดในการดําเนินการทางธุรกิจของโครงการ
n Consultant Engineer
– เป็ นผูเ้ ชีKยวชาญในด้านการออกแบบและประเมินผลกระทบของโครงการ
n Supplier
– ผูข้ ายผลิตภัณฑ์ดา้ นเทคโนโลยี
n Lender Engineer
– วิศวกรของสถาบันการเงินทีKจะทําหน้าทีKประเมินการสนับสนุนด้านการเงิน
ของโครงการ
การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ

n การจัดตั5งธุรกิจใหม่
n การเพิ;มกําลังการผลิต เช่น โรงงานนํ5าตาลขยายกําลังการผลิต
จาก @.B ล้านตันต่อปี เป็ น G.H ล้านตันต่อปี
n การเพิ;มผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ เช่น โรงสี ตอ้ งการลงทุน โรงไฟฟ้า
แกลบ
n การปรับปรุ งอุปกรณ์หลักในโรงงาน เช่น การเปลี;ยนชนิดของ
เชื5อเพลิงจากนํ5ามันเตาเป็ นเชื5อเพลิงชีวมวล
การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ

n ลดความเสี; ยงที;จะล้มเหลวในการดําเนินโครงการ
n สามารถประเมินได้อย่างรอบคอบว่าเมื;อดําเนินโครงการแล้วจะ
เป็ นอย่างไรในด้าน
– วัตถุดิบ
– รายได้
– รายจ่าย
– กระแสเงินสด
– ผลกระทบจากการดําเนินงาน
สาเหตุความล้ มเหลวของโครงการ

n ไม่สามารถขายสิ นค้าได้ในปริ มาณที;พอเพียงในราคาพอสมควร


n ไม่สามารถควบคุมค่าใช้จ่ายในการผลิต
n ไม่สามารถเพิ;มเงินทุนหมุนเวียนให้เพียงพอต่อความต้องการที;จะ
ใช้ได้
n สาเหตุอื;นๆ
– ผลกระทบต่อสิK งแวดล้อมมากจนไม่สามารถดําเนินการได้
ตัวอย่ างโครงการทีล8 ้ มเหลว
สาเหตุของความล้ มเหลวทีอ8 ยู่ในการควบคุมของ
ฝ่ ายบริหาร
n ไม่สามารถเข้าไปแข่งขันในตลาดได้
– เทคโนโลยี
– ต้นทุนการผลิต
n ไม่สามารถผลิตสิ นค้าให้มีคุณภาพสู งได้
– เทคโนโลยี
– บุคลากร
n วัตถุดิบไม่เหมาะสมในการผลิต เช่น มีความชืHนมากเกินไป เป็ นต้น
– ตัวอย่างการใช้ลิกไนต์คุณภาพตํ?าในการผลิตไฟฟ้า
n สาเหตุอืKนๆ
การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ

n โครงการ
– กิจกรรมทีKเกีKยวข้องกับการลงทุนเพืKอผลิตสิ นค้าหรื อบริ การโดยมุ่งหวัง
จะได้รับผลประโยชน์ตอบแทนในอนาคตจากการลงทุนนัHนใน
ช่วงเวลาทีKมีการลงทุน
n การศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ
– การศึกษาวิเคราะห์อนั จะนําไปสู่ การตัดสิ นใจลงทุนอย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
– เพืKอให้ได้ผลตอบแทนการลงทุนทีKคุม้ ค่า
การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ

n วิเคราะห์ผลที;เกิดขึ5นจากการดําเนินโครงการในด้าน
– การตลาด
– วิศวกรรม
– การเงิน
n ต้องระบุกาํ ลังการผลิตและที;ต5 งั ของโครงการที;เหมาะสม
n ใช้เทคโนโลยีในการผลิตแบบใด
n ค่าใช้จ่ายในการลงทุนและดําเนินกิจการเพียงไร
การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ

n ด้านการตลาด
– ความต้องการผลิตภัณฑ์
– การผลิตของโรงงานทีKมีอยูใ่ นปัจจุบนั เป็ นอย่างไร
– การนําเข้าจากต่างประเทศมากน้อยแค่ไหน
– ราคา
n การศึกษาด้านการตลาดเป็ นขั5นตอนแรกของ F.S.
n หากชี5ชดั ว่าโครงการดังกล่าวมีตลาดรองรับจึงศึกษาความ
เหมาะสมด้านอื;นๆต่อไป
การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ

n ด้านวิศวกรรม
– ขนาดการผลิตทีKเหมาะสมว่าควรเป็ นอย่างไร
– กระบวนการผลิตทีKเหมาะสมเป็ นอย่างไร
– ขัHนตอนการผลิตเป็ นอย่างไร
– โรงงานควรจะตัHงอยูท่ ีKไหน
– ปริ มาณวัตถุดิบทีKจะใช้เป็ นเท่าไรและหาได้จากแหล่งใด
– เครืK องจักรอุปกรณ์ทีKจะผลิตมีอะไรบ้าง
– การวางผังโรงงานควรเป็ นอย่างไร
– แผนการก่อสร้างโรงงาน
การศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ

n ด้านการเงิน
– จํานวนเงินลงทุนทัHงสิH นเป็ นเท่าไร
– ค่าใช้จ่ายในแต่ละด้านเป็ นอย่างไร
– คืนทุนภายในกีKปี
– ผลตอบแทนการลงทุนในแต่ละปี จะเป็ นอย่างไร
– ผลตอบแทนการลงทุนตลอดอายุโครงการเป็ นเท่าไร
– ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนหรื อไม่
โครงร่ างในการศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ

n W. ส่ วนทีKเป็ นการศึกษาพืHนฐาน
– การตลาด
– วิศวกรรม
– การบริ หารและจัดองค์กร
– เงินทุน
– ผลกระทบต่อคุณภาพสิ? งแวดล้อม
n Z. ส่ วนทีKเป็ นการวิเคราะห์
– การเงิน
– เศรษฐศาสตร์
การศึกษาด้ านการตลาด

n ตลาดของสิ นค้าที;เราจะลงทุนผลิตนั5น มีขนาดกว้างใหญ่เพียงใด


n ตลาดดังกล่าวมีลู่ทางที;จะขยายให้กว้างขวางต่อไปได้มากน้อย
ประการใด
n โครงการลงทุนของเราจะยึดครองตลาดได้มากน้อยแค่ไหน
ตลาดจะเป็ นอย่ างไรในอนาคต

n ต้องคาดคะเนภายใต้สมมิตฐานที;สมเหตุสมผล เช่น
n ตลาดของบ้านเรื อนอาคารจัดสรรในกรุ งเทพฯ ขึ5นอยูก่ บั อัตราการ
เพิ;มขึ5นของประชากรที;อาศัยอยูใ่ นเขตนี5
n ความต้องการในการใช้เหล็กมีความสัมพันธ์กบั อัตราการเพิ;มขึ5น
ใน GDP
n แนวโน้มราคานํ5ามันที;เพิ;มขึ5น ทําให้ความต้องการใช้รถขนาดเล็ก
มีสูงขึ5นในอนาคต
เราจะครองตลาดได้ มากน้ อยเพียงใด

n ต้องทราบข้อมูลคู่แข่ง
n โรงงานที;ผลิตสิ นค้าประเภทเดียวกัน
– กําลังการผลิต
– กระบวนการผลิตทีKใช้
– อัตรากําไรทีKได้รับ
– แผนการขยายกําลังการผลิต
– ฐานะทางการเงิน
– แผนและกลยุทธตลาด
– คุณภาพของสิ นค้าทีKผลิต
การศึกษาด้ านวิศวกรรม

n เพื;อตอบคําถามว่า
n ทางด้านเทคนิคเป็ นไปได้หรื อไม่ ที;จะทําการผลิต
n ปั ญหาและอุปสรรคที;จะแก้ไขมีหรื อไม่ เช่น การขาดแคลน
วัตถุดิบ
n ปั จจัยด้านเทคนิคจะบอกถึงงบประมาณสําหรับการลงทุนและ
สําหรับการดําเนินการผลิต
การศึกษาด้ านวิศวกรรม
n ผลิตภัณฑ์และคุณลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ์
– คุณภาพ ขนาด แบบ สี สมรรถนะ วัสดุ
– เพืKอนําไปใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ในโครงการ
– เช่น ในการผลิตนํHาตาล ควรจะมีสดั ส่ วนนํHาตาลแต่ละเกรดอย่างไร
n กระบวนการผลิต
– คุณสมบัติของวัตถุดิบทีKใช้
– คุณภาพและข้อกําหนดของผลิตภัณฑ์ในโครงการ
– ค่าใช้จ่ายในการลงทุนและการผลิต
– ต้องศึกษาเทคโนโลยีการผลิตหลายๆรู ป
การศึกษาด้ านวิศวกรรม

n เครื; องจักรและอุปกรณ์การผลิต
– รวมถึงอุปกรณ์อาํ นวยความสะดวกในการผลิต เช่น ลําเลียง ขนส่ งวัสดุ
และผลิตภัณฑ์ในโครงการ
n สถานที;ต5 งั โรงงาน
– ระยะทางจากโรงงานถึงแหล่งวัตถุดิบและตลาด
– การคมนาคมขนส่ ง
– แรงงานและค่าจ้างแรงงาน
– พลังงานทีKตอ้ งใช้และราคาพลังงาน
การศึกษาด้ านวิศวกรรม

n สถานที;ต5 งั โรงงาน
– นํHาและคุณภาพของนํHา
– ระบบการกําจัดของเสี ยจากโรงงาน
– ภาษีและการยกเว้นภาษี
– ทีKดินและราคาทีKดิน
n การวางผังโรงงาน
– โรงงาน เครืK องจักร โกดัง การขนส่ ง
– อาคาร
การศึกษาด้ านวิศวกรรม

n โครงสร้างสิ; งก่อสร้าง
– เพืKอประมาณค่าใช้จ่ายในการลงทุนของโครงการ เช่น ต้องรู ้วา่ โกดังมี
ขนาดกีKตารางเมตร ค่าก่อสร้างต่อตารางเมตรประมาณเท่าใด
– โกดัง ประมาณ [\\\ – 4000 บาทต่อตารางเมตร
– ลานตากวัสดุ ประมาณ ]\\ – 1000 บาทต่อตารางเมตร
– อาคารสํานักงาน ประมาณ W\\\\ บาทต่อตารางเมตร
การศึกษาด้ านวิศวกรรม
n วัตถุดิบ
– คุณสมบัติและลักษณะเฉพาะ
– ปริ มาณทีKตอ้ งใช้
– แหล่งและปริ มาณทีKอาจหาได้
– การเก็บรวบรวมและขนส่ ง
n สาธารณูปโภค
– ไฟฟ้า
– ไอนํHา
– นํHา
– ระบบกําจัดของเสี ย
การศึกษาด้ านการเงิน

n การประมาณเงินลงทุนในโครงการ
– ใช้เงินในด้านใดบ้าง
– จํานวนเท่าไร
– ได้มาจากแหล่งใด
n การประมาณด้านการเงินของโครงการ
– ต้นทุนขาย
– ค่าใช้จ่ายในการบริ หารและอื?นๆ
– งบกําไรขาดทุน
– กระแสเงินสด
การศึกษาด้ านการเงิน

n วิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
– ระยะเวลาคืนทุน
– อัตราผลตอบแทนการลงทุน IRR
– มูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ NPV
Sensitivity Analysis

n การวิเคราะห์วา่ เมื;อตัวแปรใดเปลี;ยนแปลงจะส่ งผลกระทบต่อผล


การวิเคราะห์บา้ ง
– หากมูลค่าการลงทุนเปลีKยน 10% จะส่ งผลต่อ IRR เป็ นอย่างไร
– หากราคาวัตถุดิบเปลีKยน 10% จะส่ งผลต่อ IRR เป็ นอย่างไร
ระยะที& 2 ระยะลงทุน
n ขอใบอนุญาตทีเ, กีย, วข้อง
n จัดทําข้อกําหนดในการจัดซือ; และจัดจ้าง (TOR)
n ทําการประกวดราคา
n ซองเทคนิค
n ซองราคา

n ต่อรองและจัดทําสัญญาจัดหาอุปกรณ์และก่อสร้าง
n ดําเนินการก่อสร้าง
ตัวอย่างใบอนุญาตที&เกี&ยวข้อง
n ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (รง.4)
n ใบอนุญาตก่อสร้าง ดัดแปลงและรือ; ถอนอาคาร (อ.1)
n การจัดทํารายงานผลกระทบสิง, แวดล้อม (EIA)
n การขอรับการส่งเสริมการลงทุน
n การทําสัญญากูเ้ งิน หรือจัดหาเงินทุนในโครงการ
TOR (Term of References)
n TOR เป็ นอกสารทํากําหนดขอบเขตและรายละเอียดของภารกิจทีผ: จู้ ดั ทํา TOR ต้องการให้ผรู้ บั จ้าง
ดําเนินการ
n โดยการบอกขอบเขตของงานให้ชดั เจน ระยะเวลาทีต: อ้ งการ คุณสมบัตขิ องผูเ้ สนอราคา ซึง: ผูซ้ อJื หรือผู้
ว่าจ้างต้องการให้ทาํ งานตามขอบเขตดังกล่าว
n สิง: ทีผ: วู้ า่ จ้างต้องการให้ดาํ เนินการมีกข:ี นั J ตอน แต่ละขันJ ตอนประกอบด้วยอะไรบ้าง ปฎิบตั งิ านตาม
สัญญาจะได้อะไร ผิดสัญญาจะถูกปรับอย่างไร สิง: ต่างๆเหล่านีJผวู้ า่ จ้างจะจัดอยูใ่ น TOR ทังJ หมด เพือ:
ประกาศหาผูข้ ายตามกรรมวิธตี ่อไป
n ตัวอย่าง TOR
n <4D6963726F736F667420576F7264202D20C3E8D2A7A2CDBAE0A2B5A2CDA7A7D2B9206E6577332E646
F6378> (swu.ac.th)
n Download (pttplc.com)
Drawing ที&ใช้ในโครงการ
n แบบเพือ, การประกวดราคา (Tender Drawings)
n สัญญาแบบ Turn key (ออกแบบรวมก่อสร้าง) หรือ EPC (Engineering,
Procurement and Construction) Contract อาจใช้คาํ ว่า Outline Design
Drawings (แบบเค้าโครง) จะใช้ประกอบสัญญาด้วย โดยก่อนเริม: การก่อสร้าง ผูร้ บั จ้าง
ก่อสร้าง (ผูร้ บั เหมา) จะต้องออกแบบรายะเอียด และผลิตแบบรายละเอียด (Detailed
Design Drawings) และขออนุมตั ทิ ป:ี รึกษาก่อเริม: ดําเนินการก่อสร้าง
Drawing ที&ใช้ในโครงการ
n แบบเพือ, การก่อสร้าง (Construction Drawings)
n แบบชุดนี1จะใช้ประกอบสัญญาก่อสร้าง จะใช้เป็ นหลักในการดําเนินการ
ก่อสร้าง หากมีการแก้ไขแบบในสาระสําคัญภายหลังจากการลงนามใน
สัญญา จะผลิตแบบใหม่ จะเป็ นแบบก่อสร้างเพิมH เติม (Addendum)
อาจมีการตกลงราคาค่าก่อสร้างเพิมH เติม
Drawing ที&ใช้ในโครงการ
n แบบใช้งานเพือ, การก่อสร้าง (Shop Drawings) แบบเหล่านี;จะ
ผลิตโดยผูร้ บั จ้างก่อสร้าง (ผูร้ บั เหมา) โดยผูอ้ อกแบบ ผูค้ วบคุมงาน
หรือทีป, รึกษาจะเป็ นผูต้ รวจและอนุมตั กิ ่อนให้ผรู้ บั จ้างทําการก่อสร้าง
จริง
Drawing ที&ใช้ในโครงการ
n แบบก่อสร้างจริง (As-built Drawings)
n แบบเหล่านีJจะผลิตโดยผูร้ บั จ้างก่อสร้าง (ผูร้ บั เหมา) โดยผูอ้ อกแบบ ผูค้ วบคุมงาน หรือที:
ปรึกษาจะเป็ นผูต้ รวจและอนุมตั กิ ่อนดําเนินการตรวจรับมอบงานก่อ สร้างขันJ สุดท้าย โดยจะ
รวบรวมทังJ แบบก่อสร้าง และแบบใช้งานเพือ: การก่อสร้าง (Shop Drawings) ผสานเข้ากัน
เป็ นชุดเดียว ว่าทีก: ่อสร้างจริง ๆ แล้วเป็ นอย่างไร มีอะไรทีแ: ก้ไขจากแบบดังJ เดิมหรือไม่ เพือ: เก็บ
ไว้เป็ นหลักฐาน และการซ่อมบํารุง อาคารหรือโครงสร้างนันJ ในภายหลัง
งานระหว่างการประกวดราคา
- กําหนดคุณสมบัติ ประกาศ จัดหา ผูร้ ่วมประกวดราคา
- จัดการประชุม Prebid Meeting
- ให้ข้อมูลการประกวดราคาแค่ผรู้ ่วมประกวดราคาเพืOอความเสมอ
ภาพ โปร่งใส อาจจัดการประชุม ณ สถานทีOตงั V โครงการ
- ตรวจรายละเอียดของแบบ และ ราคา ของผูเ้ สนอราคาเพืOอลด
ความขัดแย้ง
- กําหนดกฎเกณฑ์งานเพิOมลด เจรจาต่อรอง
- ประสานงานระหว่างผูเ้ กีOยวข้อง เกีOยวกับสัญญาทังV หมด
- จัดการประกวดราคา ประกาศผูช้ นะ และ สรุปผล ดําเนินการเซ็น
สัญญา
ขัน/ ตอนการจัดการประกวดราคา
- หลังจากได้รบั แบบจากผูอ้ อกแบบแล้ว ทําการจัดหาผูร้ บั เหมาได้
โดยการติดต่อเชิญชวนให้ซืVอแบบเพืOอเสนอราคา
- หากเป็ นงานทางราชการจําเป็ นต้องประกาศทางสาธารณะ
จัดเตรียม Bid Package สําหรับขายผูเ้ ข้าร่วมประกวดราคา คือ
เอกสารทีOประกอบด้วยแบบก่อสร้างครบชุด ระเบียบการ แบบฟอร์ม
ต่างๆทีOจาํ เป็ น
- ผูเ้ ข้าร่วมซืVอชุด Bid Package แล้วกลับไปประมาณราคา พร้อมทังV
ตรวจสอบแบบและเอกสาร
- จัด Bid Meeting เพืOอให้ผเู้ ข้าร่วมทุกเจ้าได้ถามข้อข้อซักถาม
เกีOยวกับทางเทคนิคหรือระเบียบ และทุกคําถามคําตอบจะต้อง
เปิดเผยกับผูเ้ ข้าร่วมทุกเจ้าเพืOอความโปร่งใส
ขัน/ ตอนการจัดการประกวดราคา
- ผูเ้ ข้าร่วมประกวดราคา ส่งเอกสารตามวันและเวลาที<กาํ หนด ซึ<งเอกสาร
ต่างๆได้แก่ ใบเสนอราคา BOQ เอกสารแนะนําศักยภาพของบริษทั หนังสือ
จดทะเบียน หนังสือคําP ประกันผลงาน หนังสือคําP ประกันทางการเงิน ใบ
ทะเบียนการค้า หนังสือรับรองของสถาปนิกวิศวกร หรือเอกสารต่างๆที<
เจ้าของงานต้องการ
- เจ้าของงานทําการเปิดซองประกวดราคา และประกาศลําดับผูช้ นะ
- เจ้าของงานตรวจสอบเอกสารของผูช้ นะว่าตรงตามระเบียบที<ระบุหรือไม่
และตรวจสอบราคาตามรายการโดยละเอียดว่ามีจดุ ที<ไม่สมเหตุสมผลหรือไม่
- หากมีเหตุผลข้อใดที<ทาํ ให้ผชู้ นะ ไม่ตรงตามคุณสมบัติหรือมีข้องบกพร่อง
ในการเสนอราคา เจ้าของงานสามารถตัดสิทธW ิ เจ้านันP และให้เจ้าที<เสนอราคา
ถัดไปและมีความสมบูรณ์พร้อมที<จะรับงานเป็ นผูช้ นะแทน
- ทําการประชุม ร่างสัญญาเพื<อให้ตรวจสอบ และนัดหมายเซ็นสัญญา
ประเภทของสัญญาในงานก่อสร้าง
n ประเภทเหมารวม (Lump-sum)
n ประเภทราคาต่อหน่วย (Unit-price)
n ประเภทค่าใช้จา่ ยจริงบวกค่าดําเนินการและกําไร (Cost plus
fixed fee and profit)
n ประเภทมีรางวัลและค่าปรับ (Reward & Fine)
ประเภทเหมารวม (Lump-sum)
n เป็ นสัญญาทีน, ิยมใช้กนั ทัวไป
,
n ผูร้ บั จ้างตกลงทีจ, ะทํางานทัง; หมดในวงเงินทีก, าํ หนดแก่ผวู้ า่ จ้าง
n ผูว้ า่ จ้างตกลงจะจ่ายเงินเป็ นงวดๆ ตามผลงานทีเ, สร็จตามทีร, ะบุกนั ไว้
n เหมาะกับงานก่อสร้างทีม, รี ปู แบบรายละเอียดครบถ้วนแล้วเท่านัน;
สัญญาแบบเหมารวม

ข้อดี ข้อเสีย
n ทราบวงเงินดําเนินการแน่นอน n เสียเวลาในการรอคอยให้รป ู แบบและ
n สามารถทํางานให้เสร็จเป็ นตอนๆตามที< รายละเอียดสมบูรณ์
กําหนด n เปลีย < นแปลงรูปแบบและรายการในภายหลัง
n ตรวจสอบปริมาณและผลงานได้ชดั เจน ทําได้ลาํ บากหรือทําให้แผนงานต้องเปลีย< น
n ชําระเงินงวดได้ตามผลงานและเงือ< นไขที< n ผูร้ บ
ั จ้างอาจเผือ< ราคารับเหมาก่อสร้างใน
กําหนด กรณีทร<ี าคาวัสดุอาจเพิม< ขึนN
ประเภทราคาต่อหน่ วย
(Unit-price)
n ผูร้ บั จ้างได้ทาํ ตารางปริมาณงานและราคาต่อหน่วยของปริมาณงานต่างๆไว้ในแต่ละรายการ
n การเบิกจ่ายคิดตามปริมาณผลงานทีท< าํ ได้จริง
n รวมทังN งานทีอ< าจเพิม< ในภายหลัง
n เกิดความยุตธิ รรมทังN สองฝ่ าย
n เหมาะกับงานก่อสร้างทีม< รี ปู แบบรายละเอียดไม่ครบถ้วน
n หรืองานทีม< ลี กั ษณะเหมือนซํNาๆกัน เช่น งานถนน งานขุดดิน งานคอนกรีต เป็ นต้น
สัญญาแบบราคาต่อหน่ วย
ข้อดี ข้อเสีย
n งบประมาณอาจคลาดเคลือ < นได้งา่ ย
n ก่อสร้างได้ทนั ที โดยไม่ตอ้ งรอรูปแบบ
สมบูรณ์หรือรูป้ ริมาณงานทังN หมด n ถ้าราคาต่อหน่ วยกําหนดไม่ครบ จะเสียเวลา

n การจ่ายเงินแต่ละงวดจ่ายตามปริมาณงาน ในการตกลงราคากันใหม่
จริงทีท< าํ ได้ n การตรวจสอบปริมาณงานเพือ < จ่ายเงิน ต้อง
n ผลงานแต่ละงวดขึนN อยูก่ บั ผูร้ บั จ้างเองทีท< าํ คิดละเอียด
ได้ n การเร่งรัดงานทําได้ยาก เพราะไม่ทราบ
ปริมาณงานทีแ< น่ชดั
สัญญาประเภทคิดค่าใช้จ่ายบวกค่าดําเนินการและกําไร
(Cost Plus Fixed fee and Profit)

n ใช้ในกรณีทเ*ี จ้าของงานต้องการเร่งรัดงานให้เสร็จเร็วทีส* ดุ
n เป็ นลักษณะงานพิเศษทีเ* จ้าของงานและผูร้ บั เหมาไม่เคยทํามาก่อน
n ตกลงค่าดําเนินการและกําไรไว้ก่อน
n ค่าใช้จา่ ยคิดตามต้นทุนจริงทีจ* า่ ยไป
n เจ้าของงานอาจต้องควบคุมค่าใช้จา่ ยเอง
สัญญาประเภทคิดค่าใช้จ่ายบวกค่าดําเนินการและ
กําไร
ข้อดี ข้อเสีย
n ทําได้โดยไม่ตอ้ งรอแบบรายละเอียด n ไม่สามารถคาดการณ์งบประมาณได้
n ประหยัดเวลาในการก่อสร้าง n เจ้าของงานต้องควบคุมค่าใช้จา่ ยเองอย่างใกล้ชดิ
n ประหยัดค่าใช้จา่ ยเพราะจ่ายตามค่า n ผูร้ บั เหมาอาจใช้เทคนิคการก่อสร้างทีส< นNิ เปลืองทํา
ก่อสร้างจริง ให้คา่ ก่อสร้างแพง
n ต้องหาผูร้ บั เหมาทีซ< <อื สัตย์ความรับผิดชอบสูง
ผูเ้ กี&ยวข้องในงานก่อสร้าง
n เจ้าของงาน (Owner, Client)
n สํานักงานผูอ้ อกแบบ (Design Firm)
n ผูร้ บั เหมางานก่อสร้าง (Contractor)
n สํานักงานทีป, รึกษา (Consultant)
ผูร้ บั เหมาก่อสร้าง (Contractor)
n เป็ นผูด้ าํ เนินการก่อสร้างให้งานเป็ นไปตามทีอ: อกแบบ
n ผูร้ บั เหมาหลัก (Main contractor)
n โครงการก่อสร้างขนาดใหญ่จะมีมล ู ค่าโครงการสูงมาก
n ผูร้ บ ั เหมาหลักจะมีความพร้อมหลายด้าน โดยเฉพาะด้านการเงิน
n ผูร้ บ ั เหมาหลักจะเป็ นผูร้ บั เหมาทังJ โครงการและเป็ นผูท้ เ:ี ซ็นต์สญ
ั ญาก่อสร้างกับเจ้าของงานโดยตรง
n ผูร้ บั เหมาช่วง (Sub contractor)
n รับงานก่อสร้างบางส่วนจากผูร้ บ ั เหมาหลัก
n ผูร้ บ ั เหมาหลักจะตัดงานทีต: วั เองคิดว่าไม่มคี วามชํานาญหรือควบคุมต้นทุนไม่ได้ออกมา
สํานักงานที&ปรึกษา (Consultant)
n ทําหน้าทีเ, ปรียบเสมือนตัวแทนเจ้าของ
n ควบคุมคุณภาพของงานก่อสร้าง
n เป็ นผูม้ คี วามชํานาญเฉพาะด้าน
n Consultant และ Design Firm ควรแยกจากกันเพือ, ป้ องกัน
การสมยอมกัน
Tradition Project Delivery
O การว่าจ้างผูอ้ อกแบบและผูก้ ่อสร้างแยกกัน
• รูปแบบ ทัวไป
• อาจมีคอนซัลแทนช์ บริษทั ทีOปรึกษา ควบคุมคุณภาพงาน
• ปัญหาอาจเกิดจากการติดต่อประสานงานระหว่างองค์การ

Owner

Designer
Contractor
(and Consultant)

Subcontractor Subcontractor Subcontractor


Turnkey Project หรือ EPC Project
• ความรับผิดชอบเกือบทังV หมด อยู่ทีOผรู้ บั เหมาก่อสร้าง
• ลดต้นทุนการจ้างผูอ้ อกแบบ
• ได้ความรวดเร็ว ปัญหาการประสานงานระหว่างองค์การลดลง
• ปัญหาเรืOองการตรวจสอบคุณภาพงาน อาจจะเพิOมขึนV

Owner

Contractor

Subcontractor Subcontractor Subcontractor Designer


Owner-Builder Project
• ประหยัดงบประมาณ เนืO องจากเจ้าของงาน มี In-House
Engineer และ Designer รวมถึงอาจควบคุมงานก่อสร้างเอง
ด้วย
• รวดเร็ว ลดปัญหาการประสานงานระหว่างองค์กร
• บุคลากรของเจ้าของโครงการควรต้องมีความเชีOยวชาญระดับ
หนึO ง หรืออาจใช้กบั โครงการทีOไม่ซบั ซ้อนนัก

Owner

Subcontractor Subcontractor Subcontractor Designer


งานระหว่างการก่อสร้าง
-ให้ข้อมูลตัวอย่างของวัสดุ และสิOงทีOเปลีOยนแปลง
- จัดทําแผนการใช้เงิน Cash Flow สําหรับเจ้าของงาน
- ดูแลประเด็นทางกฎหมายทีOเกีOยวข้องในระหว่างก่อสร้าง
- ติดตามการจัดซืVอ วัสดุ ทรัพยากรทีOสาํ คัญ มิให้ล่าช้า ขาดแคลน
- ตรวจสอบการตรวจรับงวดงาน
- ควบคุมราคา Cost Control
- ควบคุมเวลา Time Control
- ปรับปรุงแผนงาน วิเคราะห์ความล่าช้าโครงการ วิเคราะห์
งบประมาณ
- โครงการ หาแนวทางแก้ไขปัญหา
- ประสานงานเพืOอลดความขัดแย้งระหว่างองค์การ
- CM อาจเป็ น Consultant ผูค้ วบคุมงานด้านเทคนิคด้วยหรือไม่กไ็ ด้
งานในช่วงรับมอบสิTงก่อสร้าง
- ช่วยดําเนินเรื-องการเปิดใช้อาคาร ใบขออนุญาตต่างๆ
เช่น โรงงาน หรือ การจดทะเบียนอาคารชุด
- ทดสอบเครื-องจักรและสิ-งปลูกสร้าง (Commissioning)
- Performance Guarantee
-Capacity Test
-Efficiency Test
-พิจารณางาน และเงิน งวดสุดท้าย
- จัดทํา Punch List (รายการงานแก้ไข) และเอกสารยืนยัน
- ตรวจสอบเอกสารและแบบก่อสร้างจริง As built Drawing
- ทํารายงานการบํารุงรักษาสิ-งก่อสร้าง
ระยะที& 3 ระยะดําเนินการ
n บทบาทของวิศวกรในการดําเนินการ
n Product Design Engineer
n Operation/Production/Manufacturing Engineer

n Maintenance Engineer

n Product QA Engineer

n Performance Engineer

n SHE (Safety, Health and Environment)

n Sales Engineer
Product Design Engineer
n A product design engineer is a professional who
uses computer software to create, test and
improve product designs for a range of
consumer goods and manufacturing processes.
These engineers are involved with every step of
the development process from the blueprint of
an idea to production.
n ตัวอย่าง Fujitsu air conditioning R&D, Makita
R&D
Operation Engineer
n An operations engineer maintains a company's
operations system.
n บางครัง; เรียก Process Engineer
n ควบคุมการเดินเครือ, งให้มปี ระสิทธิภาพ (Efficiency) ดี ความ
เชือ, ถือได้ (Reliability) ดี มีความปลอดภัย และไม่มผี ลต่อ
สิง, แวดล้อม
n ตัวอย่างเช่น การเดินเครือ, งโรงกลัน, โรงไฟฟ้ า
Production Engineer
n “วิศวกรฝ่ ายผลิต (Production Engineer)” มีหน้าทีห< ลักๆ เลยก็คอื คอย
ควบคุมดูแล “ยอดการผลิต” ให้ได้ตามแผนทีว< างไว้ คอยปรับปรุงพัฒนาสายการผลิต ลด
เวลาการผลิต ลดต้นทุนการผลิต เพิม< ยอดการผลิต หรือ Productivity ตลอดเวลา
n “วิศวกรฝ่ ายผลิต (Production Engineer)” มีหน้าทีใ< นการปรับปรุง พัฒนา
ออกแบบ อุปกรณ์ เครือ< งมือ หรือ เครือ< งจักรต่างๆ เพือ< ให้การผลิตมีประสิทธิภาพมากทีส< ดุ
มีคณ
ุ ภาพทีด< ี ลดเวลา ลดต้นทุน เพิม< Productivity และเพิม< กําไร

https://article.in.th/production-engineer-427
ความต้องการพืนD ฐานของ “วิศวกรฝ่ ายผลิต (Production Engineer)”

1. ต้องเรียนจบปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ หรือเกีย< วข้อง


2. ต้องมีทกั ษะในการวิเคราะห์ แก้ไขปั ญหาเป็ นอย่างดี มีกระบวนการคิดทีเ< ป็ นหลักการ
3. ต้องมีทกั ษะการพูด การนําเสนองาน ทีย< อดเยีย< ม
4. มีความสามารถในการจัดการ วางแผน ปรับปรุงพัฒนาทีด< ี
5. มีความเป็ นผูน้ ําสูง (Leadership)
6. สามารถทํางานในสภาวะใต้แรงกดดันได้ดี
7. มีความรูท้ างด้านซอฟต์แวร์วศิ วกรรมทีเ< กีย< วข้อง

https://article.in.th/production-engineer-427
Maintenance Engineer
1. Facility & Utility Maintenance หรือ หน่วยงานซ่อมบํารุงทัวไป
< เช่น งานซ่อม
สร้างหรืองานก่อสร้าง งานไฟฟ้ า งานระบบนํNา และงานทัวๆไป
<
2. Machine Maintenance หรือ หน่วยงานซ่อมบํารุงเครือ< งจักรในกระบวนการผลิต
n Mechanical Maintenance
n Electrical Maintenance
n C&I (Control and Instrument) Maintenance
n Civil Maintenance

https://article.in.th/maintenance-engineer-999
Maintenance Engineer
n 1. ทําการวางแผนในการซ่อมบํารุง หรือทีเ< รียกว่า PM (Preventive
Maintenance)
n 2. ทําการแก้ไขปั ญหาเครือ< งจักร และอุปกรณ์ เครือ< งมือต่างๆ ตามทีม< กี ารร้องขอมา ที<
เรียกว่า ใบแจ้งซ่อม หรือ Work Order
n 3. จัดทํากิจกรรมต่างๆ เพือ< ลดการสูญเสียของเครือ< งจักร เครือ< งมือ และอุปกรณ์ เช่น
จัดทํา กิจกรรม LEAN, 5S, KAIZEN และ กิจกรรมอืน< ๆ เป็ นต้น
n 4. ควบคุมดูแล Spare part หรือ อะไหล่ในการซ่อมบํารุง

https://article.in.th/maintenance-engineer-999
Maintenance Engineer
1. ต้องมีความสามารถพืนN ฐานในด้านช่าง เช่น สามารถวิเคราะห์ได้วา่ ถ้าอะไรเกิดเสียหายมาจะ
ทําการซ่อมแซมอย่างไร มีทกั ษะในการใช้อุปกรณ์ทางช่าง เป็ นตัน
2. ต้องมีความรูพ้ นNื ฐานกับส่วนงานทีร< บั ผิดชอบ เช่น รับผิดชอบด้านไฟฟ้ า ก็ควรมีความรูด้ า้ น
ไฟฟ้ า รับผิดชอบแม่พมิ พ์กค็ วรมีความรูด้ า้ นแม่พมิ พ์ เป็ นต้น
3. ต้องมีความรูพ้ นNื ฐานเกีย< วกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทีเ< กีย< วกับช่าง เช่น Auto Cad,
Solid Work, PLC Program หรือ อืน< ๆ เป็ นต้น

https://article.in.th/maintenance-engineer-999
Maintenance Engineer
4. มีทกั ษะในการคํานวณ แปลงหน่วย หรือ คณิตศาสตร์ต่างๆ ทีใ< ช้ในงานช่าง เพราะทุกๆวัน
ต้องได้ใช้งานการคํานวณต่างๆ
5. มีทกั ษะในการแก้ไขปั ญหา ในกรณีทเ<ี กิดปั ญหาแบบฉุกเฉิน ต้องมีสติ รูว้ า่ ต้องทําการแก้ไข
ปั ญหาอย่างไร
6. สุดท้ายทีส< าํ คัญมากๆ คือ ต้องสามารถทํางานหนักๆได้ ทํางานภายใต้ภาวะความกดดันทีส< งู
เนื<องจากว่า หากไม่สามารถซ่อมเครือ< งจักรได้ องค์กรก็ไม่สามารถจะผลิตได้ องค์กร ก็ไม่
สามารถส่งงานขายได้ และก็จะไม่มกี าํ ไร

https://article.in.th/maintenance-engineer-999
QA Engineer
n Quality Assurance (QA) Engineer job description should contain the
following duties and responsibilities:
n Test current products and identifying deficiencies
n Suggest solutions to identified product problems
n Investigate product quality in order to make improvements to
achieve better customer satisfaction
n Plan, create and manage the overall Quality Planning strategy
n Collaborate with the Product Development team to ensure
consistent project execution
n Identify key KPIs for product quality
n Prepare and present reports and metrics to Senior Management

You might also like