You are on page 1of 15

1.

วิศวกรรมย้อนรอยคืออะไร

วิศวกรรมย้อนรอย (Reverse Engineering) หมายถึง กระบวนการพัฒนาโดยใช้การวิเคราะห์สืบกลับไปจากต้นแบบที่มีอยูเ่ ดิม


โดยต้องมีการศึกษาและวิเคราะห์ขอ้ มูลจากชิ้นงานต้นแบบอย่างเป็ นระบบ ตั้งแต่วสั ดุ คุณสมบัติ จนถึงกรรมวิธีการผลิต อาจ
ขยายความได้วา่ เป็ นการลอกเลียนแบบสร้างสรรค์ และยังเป็ นการแก้ไขข้อบกพร่ องของการประดิษฐ์เดิมให้ดียงิ่ ขึ้น
reverse engineering สามารถทําได้กบั ทั้งสิ่ งที่จบั ต้องไม่ได้ เช่นระบบการทํางาน บริ การ หรื อสิ่ งที่จบั ต้องได้ เช่น
สิ นค้าต่างๆ วิธีทาํ reverse engineering ด้วยการแยกอุปกรณ์ หรื อถอดเป็ นชิ้นๆ ส่ วนใหญ่เป็ นวิธีที่ทาํ แล้วได้ผลในการศึกษาหรื อ
ปรับปรุ งสิ นค้าต้นแบบให้ดีกว่าเดิม เช่นอาจจะย้อนรอยดูในเรื่ องของขนาด รู ปร่ างของต้นแบบหรื อวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต
(หาภาพประกอบ)
ซึ่ งบางครั้งบริ ษทั คู่แข่งอาจต้องซื้ อเครื่ องจักรของอีกบริ ษทั เพื่อ
ไปเรี ยนรู้วธิ ีการทํางานหรื ออาจต้องแยกเป็ นชิ้นส่ วน เพื่อให้ทราบถึง
ขั้นตอนการประกอบ (หาภาพประกอบ)

ทั้งนี้กจ็ ะนําข้อมูลที่ได้มาสร้างสรรค์หรื อพัฒนาเป็ นนวัตกรรมใหม่ๆ


นัน่ เองเหตุผลที่วศิ วกรรมย้อนรอยถูกนํามาใช้เป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการทาง
วิศวกรรมก็อาจจะด้วยเหตุผลทางธุรกิจหรื อเชิงพาณิ ชย์ แต่นนั่ อาจจะไม่ใช่
เหตุผลหลักเสมอไปเพราะประโยชน์ที่ได้กท็ าํ ให้เกิดเทคโนโลยีหรื อเครื่ องจักร
ใหม่ๆ มากมาย ส่ วนเหตุผลอื่นๆ ก็เช่น ผูผ้ ลิตรายเก่ายกเลิกการผลิตไปแล้ว หรื อ
เพื่อวิเคราะห์ส่วนที่ดีหรื อไม่ดี หรื อเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ของเดิมให้ดียงิ่ ขึ้น”
วิศวกรรมย้อนรอย ดีอย่างไร?
• สามารถต่อยอดไปสู่การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่ดีกว่าเดิม
• ประหยัดเวลา ไม่ตอ้ งเสี ยเวลาลองผิดลองถูก เพราะสิ่ งที่นาํ มาเป็ นต้นแบบก็ตอ้ งการันตีความสําเร็ จหรื อ
ประสิ ทธิผลของต้นแบบชิ้นนั้นอยูแ่ ล้ว
• ประหยัดต้นทุน เครื่ องจักรที่นาํ เข้าจากต่างประเทศ มักมีราคาแพง หากเราสามารถศึกษากระบวนการทํางาน
ของเครื่ อง จักรจนสามารถผลิตเองได้ นอกจากการทํางานจะมีประสิ ทธิภาพก็ยงั ช่วยลดส่ วนต่างจากการ
นําเข้าได้อย่างมาก

วิศวกรรมย้อนรอย ผิดกฎหมายไหม?
วิศวกรรมย้อนรอย มักจะถูกเข้าใจว่าเป็ นการลอกเลียนแบบหรื อทําซํ้าโดยไม่ได้พฒั นา ซึ่ งตามกฎหมายแล้วการทํา
วิศวกรรมย้อนรอยหรื อวิศวกรรมย้อนกลับนั้น ไม่ ผดิ กฎหมาย เพราะได้รับการคุม้ ครองตามพระราชบัญญัติความลับทางการค้า
พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๗ “การกระทําอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้แก่ความลับทางการค้า มิให้ถือว่าเป็ นการละเมิดสิ ทธิในความลับ
ทางการค้า...” และ “(๔) การทําวิศวกรรมย้อนกลับ ได้แก่ การค้นพบความลับทางการค้าของผูอ้ ื่น โดยผูค้ น้ พบได้ทาํ การประเมิน
และศึกษาวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นที่รู้จกั กันทัว่ ไป เพื่อค้นคว้า หาวิธีที่ผลิตภัณฑ์น้ นั ได้รับการประดิษฐ์ จัดทําหรื อพัฒนา แต่
ทั้งนี้ บุคคลที่ทาํ การประเมินและศึกษาวิเคราะห์ดงั กล่าวจะต้องได้ผลิตภัณฑ์เช่นว่านั้นมาโดยวิธีที่สุจริ ต”
2. ความเป็ นมาวิศวกรรมย้ อนรอย (ในภาพรวม)
3. ประโยชน์ ท่ ปี ระเทศไทยจะได้ รับจาก วิศวกรรมย้ อนรอย
4. ประเภทของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้ อง
วิศวกรรมย้ อนรอยถูกนํามาประยุกต์ใช้ ในหลากหลายอุตสาหกรรม ไม่วา่ จะเป็ น อุตสาหกรรมเทคโนโลยีวสั ดุ เช่น
การขึ ้นรูปหล่อแบบ ผลิตอะไหล่ ชิ ้นส่วน รวมไปถึงการย้ อนรอยสูตรทางเคมี เช่น พลาสติก ยาง คอมโพสิท ปูน คอนกรี ต กาว
เป็ นต้ น รวมไปถึงอุตสาหกรรมหนัก ในการผลิตเครื่ องมือ เครื่ องจักร และอุปกรณ์ ที่เกี่ยวพันถึงอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ เช่น
อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร อุตสาหกรรมการเกษตร อุตสาหกรรมยานยนต์ �
อุตสาหกรรมเครื่ องจักรกลอัตโนมัติ อุตสาหกรรม
พลังงานทดแทน รวมไปถึงการทําวิศวกรรมย้ อนรอยของซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรื อระบบปฏิบตั ิการต่างๆ นอกจากนี ้ ยังมีการใช้
วิศวกรรมย้ อนรอยในเทคโนโลยีการแพทย์�
และเวชกรรม ทําให้ เราได้ รับการรักษาในราคาไม่สงู นัก รวมถึงสูตรยาต่างๆที่ราคาไม่
แพง ดังจะเห็นได้ วา่ เทคโนโลยี หรื อผลิตภัณฑ์ตา่ งๆรอบตัวเรา มาจากกระบวนการวิศวกรรมย้ อนรอยแทบทังสิ
้ ้น ไม่วา่ จะเป็ น
รถยนต์ ทีวี มือถือ หรื อแม้ แต่เสื ้อผ้ าที่ใส่ ถึงแม้ จะไม่มีผ้ ปู ระกอบการรายใด ยืดอกอย่างภาคภูมิวา่ ธุรกิจของเขาเจริญก้ าวหน้ า
มาได้ จากวิศวกรรมย้ อนรอย แต่คงไม่มีผ้ ใู ดปฏิเสธว่า วิศวกรรมย้ อนรอยมีสว่ นส่งเสริมศักยภาพทางการแข่งขันทางธุรกิจ
5. การสงเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องจักรกลผานกระบวนการวิศวกรรมยอนรอย โดย
กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สํานักสงเสริมและถายทอดเทคโนโลยี สํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สป.วท.) ได
ดําเนินงานโครงการศึกษา พัฒนา และถายทอดเทคโนโลยีในกระบวนการผลิตดวยวิธีวิศวกรรมยอนรอย (Reverse Engineering:
RE) มาตั้งแตป ๒๕๔๗ จนถึงป ๒๕๕ 6 ไดรวมทุนกับสถาบันการศึกษา สถาบันทางวิชาการ สถาบันวิจัย สมาคม และ
ผูประกอบการภาคเอกชนมากกวา 64๐ ลานบาท และมีการสนับสนุนโครงการไปแลวจํานวนมากถึง 99 โครงการ โดยมีเปาหมาย
เพื่อพัฒนาผูประกอบการไทยใหมีศักยภาพในการผลิตเครื่องจักรกลทดแทนการนําเขาจากตางประเทศ

อยางไรก็ตามโครงการวิศวกรรมยอนรอยยังคงเปนชื่อโครงการที่ผูไดยินรูสึกติดภาพลบทั้งในและตางประเทศ
ในป พ.ศ. 2554 จึงมีแนวความคิดที่จะเปลี่ยนชื่อโครงการ ประกอบกับการขยายขอบเขตการสนับสนุนของโครงการใหครอบคลุม
ถึงเทคโนโลยีใหมที่ตอยอดจากการทําวิศวกรรมยอนรอย เพื่อใหสอดคลองกับกลไกการสนับสนุนการพัฒนาและถายทอดเทคโนโลยี
ของประเทศ ดังนั้นในป พ.ศ. 2555 โครงการวิศวกรรมยอนรอย จึงเปลี่ยนชื่อเปน โครงการวิศวกรรมเพื่อการสรางสรรคคุณคา
ดวยเหตุผลและความหมายของชื่อโครงการตามที่ไดกลาวมา

นอกจากเหตุผลปจจัยที่กลาวมาขางตนแลว การเปลี่ยนชื่อ โครงการวิศวกรรมยอนรอย เปน โครงการ


วิศวกรรมเพื่อการสรางสรรคคุณคา ยังเปนการดําเนินงานตามแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีที่ไดกําหนดไวลวงหนา เพราะนอกจาก
จะเปลี่ยนชื่อโครงการแลว ยังมีการปรับปรุงขอบตเขตการดําเนินงานของโครงการใหครอบคลุมถึงการพัฒนาเทคโนโลยีใหมในไทย
ถึงแมไมมีตนแบบจากตางประเทศก็ตาม กลาวคือ สามารถครอบคลุมเทคโนโลยีที่เกิดจากการตอยอดเทคโนโลยีเดิมใหกลายเปน
เทคโนโลยีใหมขึ้นได เพื่อใหเกิดการพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องจักรกลที่เปน Local Content ของไทย ซึ่งหากพิจารณาขั้นตอนหรือ
กลไกการถายทอดเทคโนโลยีของไทย สรุปงายๆ 3 ขั้นคือ
ขั้นตน “เทศในไทย” : สงเสริมใหตางประเทศลงทุนในประเทศไทยเพื่อหวังดูดซับเทคโนโลยี
ขั้นกลาง “ไทยในไทย” : สงเสริมใหเกิด Local Content ในประเทศไทย หลังจากที่ดูดซับเทคโนโลยีมา ไดระดับหนึ่ง
ขั้นปลาย “ไทยในเทศ” : ขั้นสุดยอดของความสําเร็จ คือผูประกอบการไทยสามารถดูดซับเทคโนโลยีจนสามารถพัฒนาเปน
ของตัวเอง และกาวล้ําจนอยูระดับเดียวกันหรือเหนือกวาตางประเทศ และสามารถไปลงทุนในตางประเทศและแขงขันได
ประเทศไทยจึงควรทบทวนกลไกการสนับสนุนใหเกิดการถายทอดและดูดซับเทคโนโลยี ในระดับขั้น “ไทยในไทย” และ
“ไทยในเทศ” อยางเปนรูปธรรมดวยแนวความคิดขางตน การขับเคลื่อนระดับขั้นจาก “เทศในไทย” ใหกาวขึ้นสู “ไทยในไทย” เปน
แนวความคิดที่กอเกิดเปนกลไกการสงเสริมที่เปนตนแบบของโครงการวิศวกรรมยอนรอย ซึ่งดําเนินการมาตั้งแตป 2547 และ
กําลังกาวเขาสูปที่ 10 ใน ปนี้ อยางไรก็ตาม กลไกการสนับสนุนตองขับเคลื่อนไปขางหนา การผลักดันและจูงใจใหเกิด การ
ขับเคลื่อนระดับขั้นจาก “ไทยในไทย” ใหเขาสู “ไทยในเทศ” จึงเกิดเปนโครงการวิศวกรรมสรางสรรคคุณคา เพื่อขับเคลื่อนกลไก
การสงเสริมใหเกิดการพัฒนาตอยอดเทคโนโลยีเดิมใหกลายเปนเทคโนโลยีใหมที่ทัดเทียมตางชาติหรือดียิ่งกวาเดิมซึ่งโครงการ
วิศวกรรมสรางสรรคคุณคานี้ จะมีรูปแบบกิจกรรมที่ เพิ่มเติมเขามาใหสอดคลองกับแนวคิดดังกลาว เชน กิจกรรมการประกวดการ
ออกแบบระบบการผลิตแบบอัตโนมัติ และ กิจกรรมเทคโนโลยีรีดีไซน ที่จะเริ่มตนในป 2557
6. ความสําเร็จของโครงการในรอบ 10 ปี ที่ผ่านมา
สํานักสงเสริมและถายทอดเทคโนโลยี สํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สป.วท.) ไดดําเนินงาน
โครงการศึกษา พัฒนา และถายทอดเทคโนโลยีในกระบวนการผลิตดวยวิธีวิศวกรรมยอนรอย (Reverse Engineering: RE) มา
ตั้งแตป ๒๕๔๗ จนถึงป ๒๕๕ 6 โดยมีเปาหมายเพื่อพัฒนาผูประกอบการไทยใหมีศักยภาพในการผลิตเครื่องจักรกลทดแทนการ
นําเขาจากตางประเทศ โดยไดสงเสริมใหเกิดการลงทุนระหวางภาครัฐ และผูประกอบการภาคเอกชนมากกวา 64๐ ลานบาท และ
มีการสนับสนุน โครงการไปแลว จํานวนมาก ถึง 99 โครงการ กอใหเกิดมูลคาตอระบบเศรษฐกิจในภาพรวมถึง 3-4 เทาของการ
ลงทุน หรือประมาณการเปนมูลคามากกวา 2 ,000 ลานบาท จากการจําหนายเครื่องจักรในเชิงพาณิชยและการใหบริการ มูลคา
ตนทุนการผลิตที่ลดลงจากการนําเขาเครื่องจักรและผูเชี่ยวชาญจากตางประเทศ รวมถึงตนทุนองคความรูที่เกิดขึ้นโดยไมตองลงทุน
การวิจัยจากจุดเริ่มตน และผลจากการสงเสริมยังเพิ่มเติมโอกาสในการขยายตลาด และเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันใหกับ
ผูประกอบการไทยอยางประเมินคาไมได โดยมีไดผูรับการถายทอดเทคโนโลยีจากโครงการวิศวกรรมยอนรอย มากกวา 3,500 คน

99 เทคโนโลยี จาก 10 ป วิศวกรรมยอนรอย


1. เครื่อง 3D CNC Router
2. เครื่องโฮโมจิไนซ UHT 2 ขั้นตอนแบบปลอดเชื้อ ขนาด 200 ลิตร และขนาด 4000 ลิตร
3. เครื่องทอดชนิดน้ํามันทวมแบบตอเนื่อง
4. เครื่องบดเศษพลาสติก
5. เครื่อง CNC Machining Center
6. เครื่องเตรียมวัตถุดิบในการแปรรูปอาหาร
7. เครื่องหีบน้ํามันจากเมล็ดสบูดํา 3 ขนาด
8. เครื่องทดสอบหามลอและเครื่องทดสอบศูนยลอรถ
9. เครื่องคัดขนาดกุงแบบลูกกลิ้ง (Roller Grader)
10. เครื่อง CNC 5 Axis for Jewelry Industry
11. เครื่องฉีดพลาสติก (Plastic Injection Machine) ขนาด 200 ตัน
12. เครื่องอบระบบดูดความชื้น (Dehumidifier)
13. เครื่องกรองน้ําเชื่อมความดันแบบแนวตั้ง (Diastar Filter)
14. เครื่องขึ้นรูปชนิดแมพิมพหมุน (Rotational Molding Machine) ขนาด 20 ลูกบาศกเมตร
15. เครื่อง Freeze Dryer เพื่อใชในการผลิตวัคซีนและเซรุม
16. ชุดเครื่องอัดแทงเชื้อเพลิงแข็ง (Briquetting Machine) เพื่อใชในกระบวนการแกสซิฟเคชั่น (Gasification)
17. เครื่องอัดแทงชีวมวล
18. เครื่องบรรจุและรัดปากสําหรับบรรจุภัณฑดวยยางพารา
19. เครื่องไตเทียม
20. เครื่องผลิตน้ํามันเชื้อเพลิงจากขยะพลาสติก 1,000 กิโลกรัมตอวัน ดวยกระบวนการไพโรไลซิส
21. เตาเผาขยะพลาสมา
22. เครื่องยอยขยะและวัสดุเหลือใชขนาด 100 ตันตอวัน
23. เครื่องตัด Pattern พรอมซอฟทแวรชวยในการผลิต
24. เครื่องตัดดวยลวดอัตโนมัติ พรอมซอฟทแวรชวยในการผลิต
25. เครื่องจักรเปาขวดพลาสติก พีอีทีและแมพิมพพรีฟอรม พีอีที สําหรับขวด 10 ลิตร
26. เครื่องอัดกอนเศษโลหะ
27. เครื่องวัดพิกัด 3 มิติ พรอมซอฟทแวรชวยในการผลิต
28. การพัฒนาสรางอินเวอรเตอรในระบบควบคุมสภาวะอากาศในโรงเรือนแบบปด
29. ชุดเครื่องจักรสําหรับกระบวนการสกัดน้ํามันปาลมดิบชนิดประสิทธิภาพสูง
30. ระบบโรงสีขนาดเล็กสําหรับกลุมเกษตรชุมชน
31. ชุดเครื่องจักรสําหรับกระบวนการผลิตชีวมวลอัดแทง
32. เครื่องเคลือบผิวชิ้นสวนยานยนตแบบ PVD
33. เครื่องอบของเหลวสุญญากาศ
34. เครื่องหีบปาลม ขนาด 15 ตันทะลายตอชั่วโมง (แบบสกรูคู)
35. เครื่องตนแบบโรงไฟฟาชีวมวลแบบถอดประกอบได ขนาด 25 กิโลวัตต
36. เครื่องตนแบบขนาดใหญสําหรับงานเซรามิก พรอมซอฟทแวรชวยการผลิต
37. เครื่องแสกนฟนและผลิตฟนเทียม
38. เครื่องบรรจุหลอด พรอมปอนหลอดอัตโนมัติ
39. เครื่องตัดครีบ ลบคมฟนเฟอง
40. ชุดเครื่องจักรสําหรับกระบวนการผลิตปุยชีวภาพจากชีวมวล
41. ชุดเครื่องจักรสําหรับกระบวนการผลิตมันเสนคุณภาพสูง
42. เครื่องฉีดพลาสติกขนาดเล็ก
43. เตาเผาไฟฟา (Graphite Furnance)
44. เครื่องรีไซเคิลน้ํายาหลอเย็นอุตสาหกรรม
45. ชุดหัวเผาอัจฉริยะโดยใชเชื้อเพลิงแทงตะเกียบ
46. เครื่องจักรเก็บเกี่ยวทะลายปาลมและรถขนถายทะลายปาลม
47. เครื่องชงกาแฟสด
48. เครื่องปรับความถี่กระแสไฟฟา (Inverter แบบ Pure-Sine Wave) ใชกับพลังงานแสงอาทิตย
49. เครื่องคั่วกาแฟสด
50. ชุดเครื่องจักรสําหรับเตาเผาศพแบบเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
51. เครื่องเคลือบยาดวยน้ําตาลแบบอัตโนมัติ
52. อุปกรณสําหรับการตรวจสอบสมรรถนะเครื่องจักรกลซีเอ็นซี
53. รถขนชิ้นสวนวัสดุ/ชิ้นงานขับเคลื่อนอัตโนมัติ
54. ปนจั่นแบบ Derrick Crane ขนาด 3.5 ตัน
55. เตาอบไมอัดแผนวีเนียร
56. เครื่องสรางตัวเรงปฏิกิริยาดวยเทคนิคคาโทดิกอารค
57. เครื่องผสมทรายหลอแบบตอเนื่อง
58. เครื่องปองกันการจุดระเบิดดวยสัญญานวิทยุสื่อสาร (Walky – Talky)
59. ระบบวัดปริมาณออกซิเจนในอากาศสําหรับอุตสาหกรรมอาหารแชแข็ง
60. เครื่องยอยวัสดุอินทรียเปนผงโดยกรรมวิธีไอน้ําแรงดันสูงเพื่อผลิตเชื้อเพลิง
61. เครื่องกําเนิดไฟฟาขนาดเล็กอเนกประสงคสามารถใชเชื้อเพลิงเหลวไดทุกชนิด
62. เครื่องรีไซเคิลน้ํายาลางคราบไขมันแบบไอระเหย
63. โครงการพัฒนาสรางคอมพิวเตอรสมองกลวิชั่นพรอมซอฟทแวรสําหรับหุนยนตอุตสาหกรรม
64. เครื่องวัดน้ําตาลดวยเทคนิค Polarization
65. ชุดเครื่องดูดและกรองฝุนอุตสาหกรรมแบบไซโคลนสําหรับโรงสีขาว
66. เครื่องนึ่งฆาเชื้อโรคอัตโนมัติสําหรับเครื่องมืออุปกรณการแพทย
67. เครื่องผสมน้ํายาสําหรับเครื่องฟอกเลือดไตเทียม
68. เครื่องลางตัวกรองสําหรับการฟอกเลือด
69. โครงการพัฒนาสรางเครื่องลางถังเคมีและเชื้อเพลิงดวยระบบปด
70. โครงการพัฒนาสรางหมอตมไอน้ํารักษธรรมชาติจากเชื้อเพลิงแทงตะเกียบ
71. เครื่องยอยวิเศษ
72. เครื่องยนตสเตอรลิงกําเนิดไฟฟาดวยเชื้อเพลิงชีวมวล
73. เตียงพยาบาลปองกันแผลกดทับพลิกตะแคงตัวคนไขดวยระบบอัตโนมัติ
74. เครื่องลางอุปกรณการแพทยดวยระบบอัลตราโซนิกสรวมกับเตาแมเหล็กไฟฟา
75. เครื่องเคลือบแผนสเตนเลสดวยเทคนิคคาโทดิค อารค
76. โครงการพัฒนาสรางเครื่องวัดการกระจายน้ําหนักที่เทา
77. โครงการพัฒนาสรางระบบจายคอนกรีตชนิดแขนพับสําหรับงานกอสราง
78. การพัฒนาสรางเรือขุดลอกตะกอน
79. การสรางเครื่องมือทดสอบอะคูสติกอิมิชชั่น
80. การออกแบบพัฒนาสรางระบบหุนยนตวิชั่นเพื่อใชในงานตรวจสอบฝาสูบรถยนต
81. การสรางเครื่องสกัดน้ํามันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรโดยใชคารบอนไดออกไซดเหลวที่สภาวะเหนือจุดวิกฤต
82. เครื่องทําน้ําอุนอินดักชั่น (Induction shower bath)
83. การสรางเครื่องเจียระไน(Regrind)Ball Screw
84. การพัฒนาระบบกรองอากาศในระบบอุตสาหกรรมหลอโลหะ
85. กาแฟสดจรยุทธ(Mobile coffee bean)
86. การออกแบบและสรางโรงเรือนปศุสัตวสําเร็จรูปสําหรับเลี้ยงหมู
87. การสรางเตาปฏิกรณแบบฟูอิดไดซเบดแกสซิไฟเออร (Fluidized bed Gasifier)
88. เครื่องสีขาวขนาดเล็กระดับครัวเรือน
89. หมอตมไอน้ําสําหรับโรงงานแปรรูปผลิตผลโครงการหลวง
90. เครื่องจักรและถังหมักเพื่อผลิตขาวแดงใหเปนสีธรรมชาติ
91. ระบบการลดความชื้นของผลิตผลการเกษตรดวยความรอนที่ใชเตาชีวมวลเปนแหลงความรอน
92. แขนหุนยนตประเภทสการาสาหรับสายการผลิตอุตสาหกรรม
93. เครื่องยิงคัดแยกสีเมล็ดขาวสาร
94. เครื่องจักรอบแหงสุญญากาศและลดอุณหภูมิ
95. เครื่องกําจัดมอดในขาวขนาดเล็กดวยคลื่นไมโครเวฟสําหรับชุมชน
96. ตนแบบเครื่องลางขยะพลาสติก
97. ระบบเกษตรกรรมความแมนยําสูง
98. ระบบเก็บเกี่ยวลําไย
99. เตาเผาไฟฟาอุณหภูมิสูงเพื่อการปรับปรุงคุณภาพพลอยคอรันดัมดวยความรอน
7. ตัวอย่ างโครงการที่เกิดจากความร่ วมมือต่ างๆ

เครื่อง ซีเอ็นซี 5 แกน สํ าหรับอุตสาหกรรมอัญมณี (CNC 5 Axis for Jewelry Industry)


นําไปใช้ ในอุตสาหกรรม เครื่ องประดับและอัญมณี อุตสาหกรรมแม่พิมพ์
ลักษณะเด่ นของเครื่อง
สามารถเคลื่อนที่ได้ 5 แกนพร้อมกัน และกัดชิ้นงานเสร็ จได้ในครั้งเดียว เมื่อเปรี ยบเทียบกับเครื่ องปกติทว่ั ไปที่
ต้องพลิกชิ้นงานให้ครบทุกด้าน ช่วยลดเวลาและปัญหาที่เกิดจากการตั้งงานใหม่หลายๆครั้ง ทําให้ได้ชิ้นงานที่มีคุณภาพดี
และรวดเร็ วกว่าเดิม ได้ปริ มาณชิ้นงานมากขึ้นและสามารถควบคุมคุณภาพทุกชิ้นงานได้
การนําไปประยุกต์ ใช้ ประโยชน์
มีการนําไปใช้ในอุตสาหกรรมอัญมณี
และเครื่ องประดับ มีนกั ลงทุนชาวอิตาลีซ้ื อ
ไปใช้งานจํานวนมาก
การขยายผลเชิงพาณิชย์
จําหน่ายไปแล้ว กว่า 40 เครื่ อง
มูลค่ามากกว่า 18 ล้านบาท
ทดแทนการนําเข้าได้กว่า 170 ล้านบาท

เครื่องหีบนํา้ มันจากเมล็ดสบู่ดํา 3 ขนาด


นําไปใช้ ในอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมนํ้ามันพืช และพลังงานทดแทน
ลักษณะเด่ นของเครื่อง
มีขนาดเหมาะสมต่อการจําหน่ายในตลาด อีกทั้งยังมีตน้ ทุนการทํางานตํ่ากว่า ประหยัดกว่าเครื่ องที่จาํ หน่ายใน
ท้องตลาด
การนําไปประยุกต์ ใช้ ประโยชน์
ผลิตผลทางการเกษตร ชนิดอื่นๆได้ เช่น การหี บนํ้ามันงา และปาล์ม เป็ นต้น
ปั จจุบนั ส่ งออกไปจําหน่ายยังประเทศเพื่อนบ้าน
การขยายผลเชิงพาณิชย์
จําหน่ายไปแล้ว กว่า 100 เครื่ อง
มูลค่าจําหน่ายมากกว่า 8.6 ล้านบาท
ทดแทนการนําเข้าได้กว่า 20 ล้านบาท
เครื่องอัดแท่ งชีวมวล (Wood pelletizer)
นําไปใช้ ในอุตสาหกรรม
ใช้เพื่อการแปรรู ปวัสดุเหลือใช้จากการผลิตทางการเกษตรและอุตสาหกรรม เช่น ฟางข้าว แกลบ กากอ้อย เศษขี้เลื่อย กิ่งไม้
เศษไม้ยางพารา มูลสัตว์ หรื อของเหลือจากโรงงานแปรรู ปทางการเกษตรอื่นๆ โดยนําวัตถุดิบดังกล่าวมาผ่านกระบวนการ
อัดแท่งเป็ นเชื้อเพลิง (Pallet) ซึ่ งสามารถประยุกต์ใช้ได้ ในโรงงานปาล์ม กลุ่มสหกรณ์ผปู้ ลูกปาล์ม โรงสี ขา้ ว โรงเลื่อย
โรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์
ลักษณะเด่ นของเครื่อง
เป็ นการเพิ่มมูลค่าของสิ่ งที่ไม่ใช้แล้ว และเป็ นการสร้างงาน สร้างรายได้ให้แก่ชุมชน
การนําไปประยุกต์ ใช้ ประโยชน์
นํา ไปใช้ในโครงการสําคัญหลายโครงการ เช่น โครงการรี
ไซเคิลลําไยค้างสต๊อค ปี 2546/2547 โดยใช้เป็ นพลังงานชีวมวล
ซึ่ งสามารถสร้างรายได้กลับคืนรัฐถึง 30 ล้านบาท และมีส่วน
ส่ งเสริ มโครงการหมู่บา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี: ต้นแบบ
โรงไฟฟ้ าชีวมวลขนาดเล็กสําหรับชุมชน โดยนําเชื้อเพลิงชีว
มวลไปผลิตไฟฟ้ าให้แก่ชุมชน และสร้างรายได้จากการจําหน่าย
เชื้อเพลิงชีวมวลให้แก่ชุมชน นอกจากนี้ยงั สามารถขยายผล
ต่อเนื่องเพื่อให้เกิดสาธารณะประโยชน์ต่างๆอีกมากมาย
การขยายผลเชิงพาณิชย์
มีผสู ้ นใจติดต่อขอซื้ อมากกว่า 20 ราย
ประมาณเป็ นมูลค่าซื้ อขายมากกว่า 60 ล้านบาท
ซึ่ งจะทดแทนการนําเข้าได้กว่า 140 ล้านบาท
เครื่องดูดและดักกรองฝุ่ นอุตสาหกรรมแบบไซโคลนสํ าหรับโรงสี ข้าว
นําไปใช้ ในอุตสาหกรรม
ใช้ในกรองฝุ่ นโรงสี ขา้ ว และกรองฝุ่ นในโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ
เช่น โรงโม่หิน โรงปูน โรงเลื่อย โรงไม้ โรงงานเฟอร์นิเจอร์ โรงงาน
อาหารสัตว์ โรงปุ๋ ย และเหมืองแร่ ต่างๆ เป็ นต้น
ลักษณะเด่ นของเครื่อง
สามารถดูดฝุ่ นแห้งได้ทุกชนิด กรองฝุ่ นโดยถุงกรอง ความจุสูง
สามารถจัดการฝุ่ นได้ดี มีสมรรถนะในการกรองฝุ่ นได้ถึง 5-10 Micro-
gram/m3 มีประสิ ทธิภาพการกรองได้ไม่นอ้ ยกว่า 99% พื้นที่ในการ
ติดตั้งน้อย ดูแลรักษาง่าย ได้มาตรฐานคุณภาพสิ่ งแวดล้อม
การนําไปประยุกต์ ใช้ ประโยชน์
มีการนําไปใช้กรองฝุ่ นในโรงสี ขา้ วทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก ในพื้นที่
จังหวัด แพร่ สุ พรรณ นครปฐม นนทบุรี ชลบุรี นครสวรรค์ เป็ นต้น โดย
ในปัจจุบนั ติดตั้งไปแล้วกว่า 10 ราย ภายใน 1 ปี
การขยายผลเชิงพาณิชย์
จําหน่ายและติดตั้งแล้วกว่า 10 เครื่ อง
มูลค่าจําหน่ายมากกว่า 10 ล้านบาท
ทดแทนการนําเข้าได้กว่า 50 ล้านบาท

You might also like