You are on page 1of 47

โครงการพัฒนาแพลตฟอร์มเพื่อการเรียนรู้ สร้างมาตรฐาน

และยกระดับไปสู่อุตสาหกรรม 4.0
การปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution)

Source: Vaidya, S.; Ambad, P.; Bhosle, S.; Industry 4.0 - A Glimpse; ScienceDirect (2018)

The Innovation Institute for Industry (III) 2


จุดเริ่มต้นของอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0)

➢ “Industrie 4.0” นโยบายอุตสาหกรรมแห่งชาติของเยอรมนี


➢ รัฐบาลกลางเยอรมนีได้บรรจุเป็นยุทธศาสตร์ชาติระยะยาว 10-15 ปี
ในการพัฒนาอุตสาหกรรม โดยมี 2 เป้าหมาย คือ
1) รักษาความเป็นหนึ่งในผู้นาอุตสาหกรรมการผลิตที่มี
ความสามารถในการแข่งขันและนวัตกรรมมากที่สุดของโลก
2) ก้าวเป็นผู้นาทางเทคโนโลยีด้านการวิจัยและพัฒนาใน
อุตสาหกรรมการผลิต

➢ ปี 2011 นางอังเกลา แมร์เคิล นายกรัฐมนตรีของประเทศ


เยอรมนีกล่าวว่า “อุตสาหกรรม 4.0 เป็นการเปลี่ยนแปลง
อุตสาหกรรมการผลิตในทุกภาคส่วน โดยการนาเอาเทคโนโลยี
ดิจิทลั และอินเทอร์เน็ตเข้ามาใช้ในระบบอุตสาหกรรมรูปแบบเดิม”

The Innovation Institute for Industry (III) 3


อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ในประเทศต่างๆ
อังกฤษ จีน
”Design of Innovation” ”Made in China 2025”
สหรัฐอเมริกา
”A Nation of Makers” อิตาลี ไต้หวัน
”โรงงานแห่งอนาคต ”Productivity 4.0”
(Fabbrica del Futuro)”
เกาหลีใต้
”Manufacturing Innovation 3.0”

ญี่ปุ่น
” Industry Value Chain Program”

The Innovation Institute for Industry (III) 4


แนวคิดของอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0)

➢ การผลิตในรูปแบบ “โรงงานอัจฉริยะ (Smart Factory)” โดยทุกหน่วย


ของระบบการผลิต ตั้งแต่วต ั ถุดิบ เครื่องจักร เครื่องมืออุปกรณ์ ระบบ
อัตโนมัติและหุ่นยนต์หน่วยต่างๆ ถูกเชื่อมต่อทางเครือข่ายในรูปแบบ
‘Internet of Things (IoT)’ ส่งผลให้สามารถสื่อสารและแลกเปลี่ยน
ข้อมูลซึ่งกันและกันอย่างอิสระ เพื่อการจัดการกระบวนการผลิตทั้งระบบ
ให้เป็นระบบ Cyber-Physical Production Systems (CPPS) ซึ่ง
เป็นระบบที่รวมความสามารถของเทคโนโลยีการผลิตเข้ากับเทคโนโลยี
สารสนเทศ

เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าที่สุด
มีความรวดเร็ว คล องตัว ยืดหยุ น และสามารถผลิตสินค้า
แบบ Mass Customization
มีความสามารถในการบารุงรักษาเชิงพยากรณ์ (Predictive
Maintenance)
ลดของเสียในกระบวนการผลิตจากการวิเคราะห ข อมูล
ขนาดใหญ่ (Big Data)
มีความยืดหยุ่นในกระบวนการผลิตสูงขึ้นระหว่างผู้ผลิตและซัพ
The Innovation Institute for Industry (III) พลายเออร์ (Supplier) 5
ผลกระทบของการประยุกต์ใช้อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0)

➢ ปี 2016 Boston Consulting Group (BCG) ศึกษา


ข้อมูลเชิงลึก การประยุกต์ใช้อุตสาหกรรม 4.0
(Industry 4.0) ของบริษัทองค์กรผู้ผลิตที่มีฐานการ
ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยทาการสารวจ
ผู้บริหารระดับสูงจานวน 380 องค์กร ทั่วประเทศ

The Innovation Institute for Industry (III) 6


มูลค่าการเพิ่มผลิตผล (Productivity) จากทั่วโลกภายในปี ค.ศ. 2025
จากการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีตามแนวทางอุตสาหกรรม 4.0 (Industry I4.0)

➢ ในปี 2018 McKinsey ศึกษาข้อมูลเชิง


ลึกการประยุกต์ใช้อุตสาหกรรม 4.0
(Industry 4.0) ของผู้ประกอบการใน
แถบอาเซียน โดยทาการสารวจผู้บริหาร
ระดับสูงกว่า 200 องค์กร ทั่วทั้ง 10
ประเทศที่รวมตัวกันเป็นสมาคมของ
ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียง
Source: McKinsey Analysis
ใต้ (Association of Southeast
Asian Nations: ASEAN)
The Innovation Institute for Industry (III) 7
ศักยภาพของอุตสาหกรรมการผลิตที่ใหญ่ที่สุด 5 อุตสาหกรรม
ในภูมิภาคอาเซียน

Source: McKinsey Analysis

The Innovation Institute for Industry (III) 8


แบบประเมินระดับศักยภาพ/ระดับความพร้อมของสถานประกอบการ
ตามกรอบอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ที่ถูกเผยแพร่ออกมา ในช่วงปี 2006–2020

Source: Hizam-Hanafiah, M; Industry 4.0 Readiness Models: A Systematic Literature Review of Model Dimensions; MDPI (2020)

The Innovation Institute for Industry (III) 9


รูปแบบโมเดลแบบประเมินระดับศักยภาพ/ระดับความพร้อมของสถานประกอบการ
ตามกรอบอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0)

1. Assessment Indicator 2. Self-assessment Indicator


Model Model

➢ ผู้ตรวจประเมินที่ได้รบ
ั การรับรอง ➢ ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมใช้
(Certified Assessor) ใช้เป็น สาหรับประเมินระดับศักยภาพหรือระดับ
เครื่องมือในการเข้าไปประเมินสถาน ความพร้อมของสถานประกอบการ
ประกอบการในภาคอุตสาหกรรม ณ ตนเอง ในการพัฒนาเข้าสู่อุตสาหกรรม
สถานที่จริง (Site visit) 4.0 (Industry 4.0)

The Innovation Institute for Industry (III) 10


โมเดลแบบประเมินระดับศักยภาพ/ระดับความพร้อมของสถานประกอบการ
ตามกรอบอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0)
Industry 4.0 Readiness
> พัฒนาขึ้นในปี 2015 โดยสมาคมอุตสาหกรรม
วิศวกรรมเครื่องกล (Verband Deutscher Maschinen-
und Anlagenbau: VDMA) ประเทศเยอรมนี

1
Industrie 4.0 CheckUp The Industry 4.0 / Digital Operation
Self-Assessment Model
> พัฒนาขึ้นในปี 2015 โดย Fraunhofer 2 3
Institute for Factory Operation and > พัฒนาขึ้นในปี 2016 โดย Price Waterhouse
Automation (IFF) ประเทศเยอรมนี Coopers (PWC) ประเทศอังกฤษ

Smart Industry Readiness Index Self-assessment 4.0


(SIRI)
> พัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 2017 โดย Singapore 4 5 > พัฒนาขึ้นในปี 2018 โดยสภาอุตสาหกรรมแห่ง
ประเทศไทย
Economic Development Board (EDB)
ประเทศสิงคโปร์

The Innovation Institute for Industry (III) 11


โมเดลแบบประเมิน “Industries 4.0 Readiness” ของ VDMA

 6 Dimensions
 18 Items
 24 Questions
 5 Levels of
readiness

The Innovation Institute for Industry (III) 12


โมเดลแบบประเมิน “Industries 4.0 Readiness” ของ VDMA

The Innovation Institute for Industry (III) 13


โมเดลแบบประเมิน “Industries 4.0 Readiness” ของ VDMA

จุดเด่น ข้อจากัด
✓ รูปแบบ Online สามารถเข้าถึงได้ง่าย และไม่มี ❖ ฐานข้อมูล Web Portal ถูกเก็บอยู่ที่ Server ใน
ค่าใช้จ่าย ประเทศเยอรมนี
✓ เป็นคาถามทั่วๆ ไป ไม่ซบ
ั ซ้อน ❖ คาแนะนาที่เป็น Action plans สาหรับการยกระดับ
✓ เลือกเปรียบผลการประเมินของบริษัทตนเองกับกลุ่ม ในแต่ละมิติเป็นคาแนะนาที่ค่อนข้างกว้าง
อุตสาหกรรมอื่นๆ ได้ตามต้องการ
✓ มีคาแนะนาที่เป็น Action plans สาหรับการ
ยกระดับในแต่ละมิติ
✓ Software
▪ User-friendly
▪ Resume allowance
▪ Real-time result
▪ Result export

The Innovation Institute for Industry (III) 14


โมเดลแบบประเมิน “Industrie 4.0 CheckUp” ของ IFF

The Innovation Institute for Industry (III) 15


โมเดลแบบประเมิน “Industrie 4.0 CheckUp” ของ IFF

The Innovation Institute for Industry (III) 16


โมเดลแบบประเมิน “Industrie 4.0 CheckUp” ของ IFF

The Innovation Institute for Industry (III) 17


โมเดลแบบประเมิน “Industrie 4.0 CheckUp” ของ IFF

จุดเด่น ข้อจากัด
✓ การตรวจประเมินดาเนินการโดยผู้ตรวจประเมินที่ผ่านการ ❖ มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงในการดาเนินการตรวจ
อบรมและได้รับการรับรอง (Certify) จากสถาบันวิจัยชั้น ประเมิน
นาระดับโลก เช่น IFF เป็นต้น
✓ การตรวจประเมินดาเนินการในหลากหลายรูปแบบทั้งการ
สัมภาษณ์และการทา Workshop ทาให้ผู้บริหารและ
บุคลากรในหน่วยงานต่างๆ ในบริษัท มีส่วนร่วมแสดง
ความคิดเห็น และสอบถามข้อสงสัยต่อผู้ตรวจประเมิน
(Certified Assessor) โดยตรง
✓ องค์กรได้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับระดับความพร้อมและ
สมรรถนะขององค์กร ว่าอยู่ในระดับ Maturity level ที่
เท่าใดของอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0)
✓ องค์กรได้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับแนวทางในการยกระดับสู่
อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) อย่างละเอียด
▪ ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง (Solutions)
▪ ลาดับความสาคัญของข้อเสนอแนะเพื่อการ
ปรับปรุง (Prioritization)
▪ เส้นทางสู่เป้าหมาย (Roadmap)
The Innovation Institute for Industry (III) 18
โมเดลแบบประเมิน “The Industry 4.0/Digital Operation
Self-Assessment Model” ของ PWC

 6 Dimensions ➢ 6 Questions
 33 Questions
 5 levels of ➢ 6 Questions
digital maturity
➢ 5 Questions

➢ 6 Questions

➢ 6 Questions

➢ 6 Questions
The Innovation Institute for Industry (III) 19
โมเดลแบบประเมิน “The Industry 4.0/Digital Operation
Self-Assessment Model” ของ PWC

The Innovation Institute for Industry (III) 20


โมเดลแบบประเมิน “The Industry 4.0/Digital Operation
Self-Assessment Model” ของ PWC

จุจุดดเด่
เด่นน ข้อจากัด
✓ รูปแบบ Online สามารถเข้าถึงได้ง่าย และไม่มี ❖ ฐานข้อมูล Web Portal ถูกเก็บอยู่ที่ Server ใน
ค่าใช้จ่าย ประเทศประเทศอังกฤษ
✓ เป็นคาถามทั่วๆ ไป ไม่ซบ
ั ซ้อน ❖ คาแนะนาที่เป็น Action plans สาหรับการยกระดับ
✓ มีคาแนะนาที่เป็น Action plans สาหรับการยกระดับใน ในแต่ละมิติเป็นคาแนะนาที่ค่อนข้างกว้าง
แต่ละมิติ
✓ Software
▪ User-friendly
▪ Resume allowance
▪ Real-time result
▪ Result export

The Innovation Institute for Industry (III) 21


โมเดลแบบประเมิน “Smart Industry Readiness Index (SIRI)”

 Launched in Nov
2017
 3 Building Blocks
 8 Pillars
 16 Dimensions
 5 Bands of
readiness in each
dimension

The Innovation Institute for Industry (III) 22


โมเดลแบบประเมิน “Smart Industry Readiness Index (SIRI)”

➢ Prioritisation matrix แสดง “ขอบเขตการปรับปรุง” (area) ที่องค์กรควรให้ความสาคัญเป็นลาดับแรกๆ


The Innovation Institute for Industry (III) 23
โมเดลแบบประเมิน “Smart Industry Readiness Index (SIRI)”

จุดเด่น ข้อจากัด
✓ การตรวจประเมินดาเนินการโดยผู้ตรวจประเมินที่ ❖ มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงในการดาเนินการตรวจ
ผ่านการอบรมและได้รบ ั การรับรอง (Certify) จาก ประเมิน
องค์กรชั้นนาระดับโลก เช่น TÜVSÜD เป็นต้น
✓ การตรวจประเมินดาเนินการในรูปแบบการ
สัมภาษณ์ ทาให้ผู้บริหารและบุคลากรในหน่วยงาน
ต่างๆ ในบริษทั มีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น และ
สอบถามข้อสงสัยต่อผู้ตรวจประเมิน (Certified
Assessor) โดยตรง
✓ องค์กรได้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับ
▪ Assessment matrix : ระดับความพร้อมของ
องค์กรในปัจจุบัน (Current Status)
▪ Prioritisation matrix : “ขอบเขตการปรับปรุง”
(area) ที่ควรให้ความสาคัญเป็นลาดับแรกๆ ใน
การยกระดับองค์กรเข้าสู่อุตสาหกรรม 4.0
(Industry 4.0)

The Innovation Institute for Industry (III) 24


โมเดลแบบประเมิน “Self-assessment 4.0” ของ FTI

่ วกับ
ประเทศไทยตืนตั ส.อ.ท. จัดทำแบบประเมิน กสอ. และ ส.อ.ท. ได ้
“อุตสาหกรรม 4.0 ตนเอง (Self-assessment) ร่วมกันปร ับปรุงแนว
(Industry 4.0)” ร่วมกับ ม.มหิดล ดำเนิ นกำร ทำงกำรจัดทำ
สำรวจสถำนประกอบกำร Self-assessment
จานวน 150 กิจการ เป้ าหมาย สารวจ
1,500 กิจการ

2559 2559 - 2560 2561

The Innovation Institute for Industry (III) 25


โมเดลแบบประเมิน “Self-assessment 4.0” ของ FTI
โครงสร้างแบบประเมินตนเอง
(Self-assessment)
สาหรับการประเมินศักยภาพสถานประกอบการ
ภาคอุตสาหกรรมการผลิต (Industry)
Version ปี 2559

The Innovation Institute for Industry (III) 26


โมเดลแบบประเมิน “Self-assessment 4.0” ของ FTI
โครงสร้างแบบประเมินตนเอง 1
(Self-assessment)
สาหรับการประเมินศักยภาพสถานประกอบการ
ภาคอุตสาหกรรมการผลิต (Industry)
Version ปี 2561

 Launched in มิติ เป้าหมายการประเมิน


July 2018
 6 Dimensions 1. Smart operation สถานภาพการประกอบอุตสาหกรรมของกิจการในปัจจุบันและความต้องการในการปรับเปลี่ยน ➢ 5 Questions
 28 Questions สู่ระบบอัตโนมัติในอนาคต
 4 levels of
industry 4.0
2. IT system & Data transaction การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการองค์กรและการผลิตของกิจการ รวมถึง ➢ 5 Questions
readiness การวิเคราะห์ข้อมูลการผลิตและการนาไปใช้ประโยชน์
3. Technology & innovation ความพร้อมและศักยภาพของกิจการในการรับและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการยกระดับการ ➢ 6 Questions
ผลิตสู่ระบบอัตโนมัติ
4. Strategy & organization ยุทธศาสตร์ของกิจการเพื่อเตรียมความพร้อมและวางแผนปรับเปลี่ยนสู่การผลิตแบบอัตโนมัติ ➢ 4 Questions

5. Workforce กาลังแรงงานของกิจการ และทักษะความเชี่ยวชาญของแรงงานที่กิจการต้องการ ➢ 3 Questions


6. Market customer & standard การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกิจการที่สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าและมีมาตรฐาน ➢ 5 Questions
รับรองการผลิต 27
โมเดลแบบประเมิน “Self-assessment 4.0” ของ FTI
คณะกรรมการโครงการ “กิจกรรมการประเมินศักยภาพและ
เตรียมความพร้อมสู่อุตสาหกรรมระบบอัติโนมัติ”

องค์ประกอบ
1 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
2 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
3 สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
4 กรมโรงงานอุตสาหกรรม
5 สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
6 สถาบันไทย-เยอรมัน
7 สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย
8 สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
9 สมาคมเครื่องจักรกลไทย
10 สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
11 สมาพันธ์โลจิสติกส์ไทย อานาจหน้าที่
12 สมาคมโรงแรมไทย 1) พิจารณาให้ความคิดเห็นแบบประเมินศักยภาพสถานประกอบการ
13 สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น 2) คัดเลือกสถานประกอบการและผู้เชี่ยวชาญที่จะเข้าร่วมกิจกรรม
14 มหาวิทยาลัยมหิดล
15 สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร
เตรียมความพร้อมเพื่อปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีการผลิตสู่
อุตสาหกรรมระบบอัตโนมัติ
3) กากับ ติดตาม และสนับสนุนการดาเนินงานโครงการ
The Innovation Institute for Industry (III) 28
โมเดลแบบประเมิน “Self-assessment 4.0” ของ FTI

The Innovation Institute for Industry (III) 29


โมเดลแบบประเมิน “Self-assessment 4.0” ของ FTI

จุดเด่น ข้อจากัด
➢ โมเดลแบบประเมิน “Self-assessment 4.0” ที่พัฒนาใน
✓ เป็นโมเดลแบบประเมินระดับศักยภาพ/ระดับความ
เวอร์ชั่นนี้ เหมาะกับผู้ประกอบการขนาดกลางขึ้นไป ไม่
พร้อมของสถานประกอบการตามกรอบ เหมาะกับผู้ประกอบการ Startup / กิจการขนาดเล็ก หรือ
อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ที่ถูกออกแบบ กิจการในพื้นที่ต่างจังหวัด
และพัฒนาขึ้นมาเพื่อให้เหมาะสมกับบริบทของ ➢ คาถามในโมเดลแบบประเมิน “Self-assessment 4.0”
ภาคอุตสาหกรรมไทย เป็นคาถามที่ค่อนข้างซับซ้อน มีศพ ั ท์เฉพาะทางเทคนิค
✓ มีคาแนะนาที่เป็น Action plans สาหรับการ วิศวกรรมค่อนข้างเยอะ ทาให้เข้าใจยาก
ยกระดับในแต่ละมิติ ➢ ใช้เวลาค่อนข้างมาก (โดยเฉลี่ยประมาณ 1 ชั่วโมง) ในการ
✓ Software ดาเนินการเพื่อตอบคาถามในโมเดลแบบประเมิน “Self-
▪ User-friendly assessment 4.0” ให้แล้วเสร็จ
▪ Resume allowance ➢ ยังไม่สามารถแสดงผลข้อมูลเชิงเปรียบเทียบกับกิจการอื่นใน
▪ Real-time result อุตสาหกรรมเดียวกันได้ทันที (Real time) เนื่องจาก
ข้อจากัดของ Software ที่ใช้
➢ คาแนะนาที่เป็น Action plans สาหรับการยกระดับองค์กร
เข้าสู่อต
ุ สาหกรม 4.0 (Industry 4.0) ค่อนข้างกว้าง
➢ มีค่าใช้จ่ายในการใช้ลิขสิทธิ์ Software เนื่องจากเป็น
Software ของต่างประเทศ
The Innovation Institute for Industry (III) 30
Industry 4.0 Industrie 4.0 CheckUp Industry 4.0/Digital Smart Industry Self-assessment 4.0
Readiness (IFF) Operation Self- Readiness Index: SIRI (FTI)
(VDMA) Assessment Model (EDB)
(PWC)
ปีที่เผยแพร่ 2015 2015 2016 2017 2018

ประเทศ เยอรมนี เยอรมนี อังกฤษ สิงคโปร์ ไทย

รูปแบบการประเมิน Online Self-assessment ผู้ตรวจประเมิน (Certified Online Self-assessment ผู้ตรวจประเมิน (Certified Online Self-assessment
สาหรับผู้ประกอบการใช้ในการ Assessor) สัมภาษณ์และทา สาหรับผู้ประกอบการใช้ในการ Assessor) สัมภาษณ์ผู้บริหาร สาหรับผู้ประกอบการใช้ในการ
ประเมินองค์กรตนเอง Workshop กับผู้บริหารและ ประเมินองค์กรตนเอง และบุคลากรในหน่วยงานต่างๆ ประเมินองค์กรตนเอง
บุคลากรในหน่วยงานต่างๆ
รูปแบบคาถาม คาถามทัว่ ไป ไม่ซับซ้อน มีทั้งคาถามทัว่ ไป ไม่ซับซ้อน คาถามทัว่ ไป ไม่ซับซ้อน มีทั้งคาถามทัว่ ไป ไม่ซับซ้อน คาถามค่อนข้างซับซ้อน มีศัพท์
และคาถามเชิงเทคนิค โดย และคาถามเชิงเทคนิค โดย เฉพาะทางเทคนิคค่อนข้างเยอะ
ขึ้นกับผู้ตรวจประเมิน ขึ้นกับผู้ตรวจประเมิน
(Certified Assessor) (Certified Assessor)
ค่าใช้จ่ายในการประเมิน ไม่มีค่าใช้จ่าย ค่อนข้างสูง ไม่มีค่าใช้จ่าย ค่อนข้างสูง ไม่มีค่าใช้จ่าย

การแสดงผลการประเมิน แสดงผลทันที (Real Time) รายงานเชิงลึกจากผู้ตรวจ แสดงผลทันที (Real Time) รายงานเชิงลึกจากผู้ตรวจ แสดงผลทันที (Real Time)
หลังการตอบแบบประเมินแล้ว ประเมิน (Certified หลังการตอบแบบประเมินแล้ว ประเมิน (Certified หลังการตอบแบบประเมินแล้ว
เสร็จ Assessor) เสร็จ Assessor) เสร็จ
ข้อมูลที่องค์กรได้รับจากการ (1) Maturity level (1) Maturity level (1) Maturity level (1) ระดับความพร้อมของ (1) Maturity level
ประเมิน (2) ผลการเปรียบเทียบกับ (2) ข้อเสนอแนะเพื่อการ (2) คาแนะนาในการยกระดับ องค์กรในปัจจุบัน (Current (2) คาแนะนาในการยกระดับ
บริษัทอืน
่ ๆ ในกลุ่ม ปรับปรุง (Solutions) องค์กรเข้าสู่อต
ุ สาหกรม 4.0 Status) ในรูปแบบ องค์กรเข้าสู่อต
ุ สาหกรม 4.0
อุตสาหกรรม (3) ลาดับความสาคัญของ (Industry 4.0) แต่ยังเป็น Assessment matrix (Industry 4.0) แต่ยังเป็น
(3) คาแนะนาในการยกระดับ ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง คาแนะนาที่เป็น Action plans (2) ข้อมูล “ขอบเขตการ คาแนะนาที่เป็น Action plans
องค์กรเข้าสู่อุตสาหกรม 4.0 (Prioritization) ค่อนข้างกว้าง ปรับปรุง” (area) ที่ควรให้ ค่อนข้างกว้าง
(Industry 4.0) แต่ยังเป็น (4) เส้นทางสู่เป้าหมาย ความสาคัญเป็นลาดับแรกๆ ใน
คาแนะนาที่เป็น Action plans (Roadmap) Prioritisation matrix 31
The Innovation Institute for Industry (III)
ค่อนข้างกว้าง
การพัฒนาโมเดลแบบประเมินระดับศักยภาพ/ระดับความพร้อมของสถานประกอบการ
ตามกรอบอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0)
สาหรับการประเมินศักยภาพของอุตสาหกรรมภาคการผลิต (Industry) ของประเทศไทย

The Innovation Institute for Industry (III) 32


การประชุมหารือ “ครั้งที่ 1” ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
การประชุมหารือครัง้ นี้ จัดขึ้นในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 15.30 – 17.30 น.
ผ่านโปรแกรมการประชุม Zoom มีผู้เข้าร่วมประชุมทัง้ หมด จานวน 12 ท่าน
จาก สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.)

ผู้เข้าร่วมประชุม
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) สถาบันนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม
1 ดร. ณัฐกา สิงหวิลัย รอง ผอ. ฝ่ายการสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมภาคเอกชน 1 ดร. นฤกมล ภู่ขาว ผู้อานวยการ

2 น.ส. จีรวลา ฮวดมัย ผจก. อุตสาหกรรมการผลิต 2 น.ส. ศุภกาญจน์ พรมหราช นักวิชาการอาวุโส

3 น.ส. ระสิตา ถาวรานุรักษ์ ผจก. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และซอฟต์แวร์ 3 น.ส. พชรภรณ์ ศรีมาลานนท์ นักวิชาการ

4 น.ส. กาญจนาภา พันธุมะผล ที่ปรึกษาอาวุโส 4 น.ส. นฤดี มาทองหลาง นักวิชาการ

5 น.ส. สโรชา พุ่มบัว ที่ปรึกษาอาวุโส 5 น.ส. หทัยรัตน์ ทองนุ้ย นักวิชาการ

6 ดร. รวีภัทร์ ผุดผ่อง ผู้อานวยการฝ่ายความร่วมมืออุตสาหกรรมสมัยใหม่ 6 น.ส. ศิรภ


ิ ัสร์ ทองชู นักวิชาการ

The Innovation Institute for Industry (III) 33


การประชุมหารือ “ครั้งที่ 1” ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

ข้อเสนอแนะที่ประชุม
1. ส.อ.ท. ได้ดาเนินการจัดทาโมเดลแบบประเมินตนเอง (Self-assessment) สาหรับใช้ดาเนินการสารวจสถานประกอบการใน
ภาคอุตสาหกรรมมาแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 และได้มีการต่อยอดพัฒนาปรับปรุงเป็นโมเดลแบบประเมิน “Self-assessment
4.0” เวอร์ชั่นปี พ.ศ. 2561 โดยผ่านการกลั่นกรองจากคณะกรรมการผูท ้ รงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้องจากทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาค
การศึกษา และภาคเอกชน ดังนั้นควรตั้งต้นจากกรอบโครงสร้าง (Framework) ตามโมเดลแบบประเมิน “Self-assessment
4.0” เวอร์ชั่นปี พ.ศ. 2561 ของ ส.อ.ท. ซึ่งประกอบด้วยมิติ (Dimension) ที่ค่อนข้างครอบคลุม
2. ควรดึงจุดเด่นของโมเดลแบบประเมินระดับศักยภาพ/ระดับความพร้อมของสถานประกอบการตามกรอบอุตสาหกรรม 4.0
(Industry 4.0) ของต่างประเทศที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล เพื่อนามาปรับปรุงโมเดลแบบประเมิน “Self-assessment 4.0”
เวอร์ช่น
ั ปี พ.ศ. 2561 ของ ส.อ.ท. ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
3. โมเดลแบบประเมิน Smart Industry Readiness Index (SIRI) ของประเทศสิงคโปร์ มีจุดเด่นและน่าสนใจกว่าโมเดลแบบประเมิน
อื่นๆ ในการนามาศึกษาและประยุกต์เข้ากับโมเดลแบบประเมินของไทย เนื่องจากในเดือนตุลาคม ปี ค.ศ. 2020 สภาเศรษฐกิจโลก
(World Economic Forum หรือ WEF) ให้การยอมรับว่า SIRI เป็นโมเดลแบบประเมินระดับศักยภาพ/ระดับความพร้อมของ
สถานประกอบการตามกรอบอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ที่ครอบคลุมที่สุด สามารถใช้ประเมินองค์กรได้ทุกขนาดกิจการ
รวมทั้งสามารถใช้ประเมินองค์กรได้ทุกอุตสาหกรรม และได้ประกาศให้ SIRI เป็น Global Smart Industry Readiness Index
4. ควรพิจารณาให้ครอบคลุมทุกมิติการประเมิน
5. ควรนาโมเดลแบบประเมินนี้ไปหารือกับภาคส่วนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่มีประสบการณ์ในการดาเนินการด้านการประเมินระดับ
ศักยภาพ/ระดับความพร้อมของสถานประกอบการตามกรอบอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) เช่น สถาบันเพิ่มผลผลิต
แห่งชาติ กระทรวงอุตสาหกรรม เป็นต้น 34
การประชุมหารือ “ครั้งที่ 2” ในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
การประชุมหารือครัง้ นี้ จัดขึ้นในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 15.00 – 17.30 น.
ผ่านโปรแกรมการประชุม Zoom มีผู้เข้าร่วมประชุมทัง้ หมด จานวน 15 ท่าน จาก สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.)

ผู้เข้าร่วมประชุม
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) สถาบันนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม
1 น.ส. นันทพร อังอติชาติ ผู้อานวยการฝ่ายวิจัย 1 ดร. นฤกมล ภู่ขาว ผู้อานวยการ

2 นาย วุฒิพงศ์ บุญนายวา ผู้จัดการส่วนบริหารการผลิต 2 น.ส. ศุภกาญจน์ พรมหราช นักวิชาการอาวุโส

3 น.ส. พัชรศรี แดงทองดี นักวิจย


ั ส่วนวิจย
ั การเพิ่มผลผลิต 3 น.ส. พชรภรณ์ ศรีมาลานนท์ นักวิชาการ

4 น.ส. นฤดี มาทองหลาง นักวิชาการ


สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
5 น.ส. หทัยรัตน์ ทองนุ้ย นักวิชาการ
1 ดร. ณัฐกา สิงหวิลัย รอง ผอ. ฝ่ายการสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมภาคเอกชน
6 น.ส. ศิรภ
ิ ัสร์ ทองชู นักวิชาการ
2 น.ส. จีรวลา ฮวดมัย ผจก. อุตสาหกรรมการผลิต

3 น.ส. ระสิตา ถาวรานุรก


ั ษ์ ผจก. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และซอฟต์แวร์

4 น.ส. กาญจนาภา พันธุมะผล ที่ปรึกษาอาวุโส

5 น.ส. สโรชา พุ่มบัว ที่ปรึกษาอาวุโส

6 The
ดร. Innovation
รวีภัทร์ ผุดผ่Institute
อง for Industryผู(III)
้อานวยการฝ่ายความร่วมมืออุตสาหกรรมสมัยใหม่ 35
การประชุมหารือ “ครั้งที่ 2” ในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

ข้อเสนอแนะที่ประชุม
1. ควรศึกษาและนาข้อดีของโมเดลแบบประเมิน Industrie 4.0 CheckUp ของ IFF ประเทศเยอรมนี และ โมเดลแบบประเมิน
Smart Industry Readiness Index (SIRI) ของประเทศสิงคโปร์ มาใช้ในการพัฒนาโมเดลแบบประเมินระดับศักยภาพ/ระดับ
ความพร้อมของสถานประกอบการตามกรอบอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) สาหรับการประเมินศักยภาพของอุตสาหกรรม
ภาคการผลิต (Industry) ของประเทศไทย เนื่องจากโมเดลแบบประเมินทั้ง 2 โมเดล เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
2. โมเดลแบบประเมินที่พัฒนาขึ้นมาสาหรับการประเมินศักยภาพของอุตสาหกรรมภาคการผลิต (Industry) ของประเทศไทย ควรดึง
ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมเข้ามามีส่วนร่วมในการให้ข้อคิดเห็นด้วย
3. ก่อนที่จะนาโมเดลแบบประเมินที่จะพัฒนาขึ้นมานี้ ไปใช้ในการประเมินจริงในภาคอุตสาหกรรม ควรมีการทา Pilot test กับ
ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมจานวนหนึ่งก่อน เพื่อทดลองโมเดลแบบประเมินที่พัฒนาขึ้น และนาข้อเสนอแนะและ Feedback
จากผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรม มาปรับปรุงให้โมเดลแบบประเมินมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
4. การพัฒนาโมเดลแบบประเมินระดับศักยภาพ/ระดับความพร้อมของสถานประกอบการตามกรอบอุตสาหกรรม 4.0 (Industry
4.0) ที่เป็นลักษณะให้ผู้ประกอบการประเมินตนเอง (Self-assessment) ควรมีรูปแบบคาถามที่เข้าใจได้ง่าย ไม่ซับซ้อน และไม่ใช้
เวลามากเกินไป เนื่องจากเป็นแบบประเมินให้ผู้ประกอบการประเมินตนเอง (Self-assessment) เพื่อให้ผู้ประกอบการทราบถึง
แนวโน้มผลลัพธ์ของระดับศักยภาพ/ระดับความพร้อมของสถานประกอบการตามกรอบอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ของ
องค์กรตนเอง ว่ามีแนวโน้มอยู่ที่ระดับใด และมีแนวทางกว้างๆ ในการยกระดับองค์กรอย่างไร เพื่อเพิ่มผลิตผล (Productivity)
หรือลดต้นทุนขององค์กร

The Innovation Institute for Industry (III) 36


การประชุมหารือ “ครั้งที่ 2” ในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
ข้อเสนอแนะที่ประชุม

5. สาหรับโมเดลแบบประเมินระดับศักยภาพ/ระดับความพร้อมของสถานประกอบการตามกรอบอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ที่เป็น


ลักษณะให้ผู้ตรวจประเมินที่ได้รบ ั การรับรอง (Certified Assessor) ใช้เป็นเครื่องมือในการเข้าไปประเมินสถานประกอบการใน
ภาคอุตสาหกรรม ณ สถานที่จริง (Site visit) ควรพัฒนากรอบโครงสร้าง (Framework) ของมิติการประเมิน (Dimension) และ
แนวทางคาถามให้ครอบคลุม เพื่อเป็นกรอบแนวทางให้ผู้ตรวจประเมิน (Certified Assessor) ใช้เป็นเครื่องมือในการประเมิน ซึ่งผู้ตรวจ
ประเมิน (Certified Assessor) สามารถใช้กรอบแนวทางดังกล่าว ร่วมกับทักษะความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ที่มี ในการตั้งคาถาม
ที่เหมาะสมตรงกับหน้างาน สาหรับการตรวจประเมินสถานประกอบการในภาคอุตสาหกรรม ณ สถานที่จริง (Site visit) ได้
6. ผลลัพธ์ของการประเมินในรูปแบบที่ผู้ตรวจประเมิน (Certified Assessor) เข้าไปตรวจประเมินสถานประกอบการในภาคอุตสาหกรรม
ณ สถานที่จริง (Site visit) จะละเอียดกว่าการประเมินในรูปแบบที่ผู้ประกอบการประเมินตนเอง (Self-assessment) เนื่องจากจาก
ทักษะความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ของผู้ตรวจประเมิน (Certified Assessor) จะทาให้ผู้ประกอบการทราบถึงผลลัพธ์ที่ค่อนข้าง
ตรงกับระดับศักยภาพ/ระดับความพร้อมของสถานประกอบการตามกรอบอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ขององค์กรที่เป็นอยู่ ณ
ปัจจุบนั ว่าอยู่ที่ระดับใด อีกทั้ง ผู้ตรวจประเมิน (Certified Assessor) ยังสามารถให้แนวทางในการยกระดับองค์กรที่ละเอียดกว่าอีก
ด้วย
7. การพัฒนาโมเดลแบบประเมินระดับศักยภาพ/ระดับความพร้อมของสถานประกอบการตามกรอบอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0)
สาหรับการประเมินศักยภาพของอุตสาหกรรมภาคการผลิต (Industry) ของประเทศไทย ควรหารือเพิ่มเติมกับภาคส่วนอื่นๆ ที่
เกี่ยวข้อง เช่น สถาบันไทย-เยอรมัน สมาคมผู้ประกอบการระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ไทย (Thai Automation and Robotics
Association: TARA) และศูนย์ความเป็นเลิศด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ (Center of Robotic Excellence : CoRE) เป็นต้น
37
การประชุมหารือ “ครั้งที่ 3” ในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
คณะทางาน Task Force 1 ได้มีการจัดประชุมหารือขึ้นในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 13.30 – 15.00 น.
ผ่านโปรแกรมการประชุม Zoom มีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จานวน 16 ท่าน จาก 8 หน่วยงาน

ผู้เข้าร่วมประชุม
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
1 ดร. อุดม ลิ่วลมไพศาล หัวหน้าทีมวิจย
ั เทคโนโลยีระบบวัดและควบคุมระยะไกล สวทช. 9 ดร. เต็มสิริ ทรัพย์สมาน มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.)

2 นาย ณัฐพันธ์ แสนเด็ดดวงดี วิศวกรปฏิบัติการ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม 10 ผศ.ดร. สุภชัย วงศ์บุณย์ยง ศูนย์ความเป็นเลิศด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ

3 ดร. นฤกมล ภู่ขาว ผู้อานวยการสถาบันนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม ส.อ.ท. 11 นาย สมวัชร์ ทัตตานนท์ สมาคมผู้ประกอบการระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ไทย

4 น.ส. นันทพร อังอติชาติ ผู้อานวยการฝ่ายวิจัย สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ 12 นาย นพดล ตะวงษ์ สมาคมผู้ประกอบการระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ไทย

5 นาย วุฒิพงศ์ บุญนายวา ที่ปรึกษาอาวุโส 13 นาย วรินทร์ รอดโพธิ์ทอง สมาคมผู้ประกอบการระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ไทย

6 ดร. รวีภัทร์ ผุดผ่อง ผู้จัดการส่วนบริหารการผลิต สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ 14 นายสิรวิ ฒ


ั น์ ไวยนิตย์ ผู้จด
ั การแผนกเทคโนโลยีโรงงานอัตโนมัติ สถาบันไทย-เยอรมัน

7 นาย พิพัฒน์ ก้องกิจกุล ผู้อานวยการฝ่ายความร่วมมืออุตสาหกรรมสมัยใหม่ สวทช. 15 น.ส. เรวดี ศรีนุ้ยคง สวทช.

8 น.ส. จีรวลา ฮวดมัย ผจก. อุตสาหกรรมการผลิต สวทช. 16 น.ส. ชลลดา ศรีสมบัติไพบูลย์ สถาบันไทย-เยอรมัน

The Innovation Institute for Industry (III) 38


การประชุมหารือ “ครั้งที่ 3” ในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

ข้อเสนอแนะที่ประชุม
1. ในการพัฒนาโมเดลแบบประเมินระดับศักยภาพ/ระดับความพร้อมของสถานประกอบการตามกรอบอุตสาหกรรม 4.0
(Industry 4.0) สาหรับการประเมินศักยภาพของอุตสาหกรรมภาคการผลิต (Industry) ของประเทศไทย ควรดาเนินการด้วย
ความระมัดระวัง ในเรื่องของลิขสิทธิ์ การทับซ้อนหรือการลอกเลียนโมเดลแบบประเมินของต่างประเทศ
2. กรอบโครงสร้าง (Framework) สาหรับมิติการประเมิน (Dimension) ของโมเดลแบบประเมิน “Self-assessment 4.0”
เวอร์ช่น
ั ปี พ.ศ. 2561 ของ ส.อ.ท. ค่อนข้างครอบคลุมและสอดคล้องกับโมเดลแบบประเมินระดับศักยภาพ/ระดับความพร้อม
ของสถานประกอบการตามกรอบอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ของต่างประเทศ เพียงแต่ “Self-assessment 4.0”
ของ ส.อ.ท. เวอร์ช่นั ปัจจุบน
ั มีเพียงมิติหลัก (Dimension) เท่านั้น อาจจะพิจารณาเพิ่มเติมมิติย่อย (Sub-dimension) ซึ่งจะทา
ให้โมเดลแบบประเมินมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
3. ควรกาหนดอุตสาหกรรมเป้าหมายที่จะดาเนินการ โดยแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมควรมีจานวนผู้ประกอบการที่เข้ารับการประเมินไม่
ต่ากว่า 30 โรงงาน เพื่อสามารถเก็บข้อมูลเหล่านี้มาวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติที่มีระดับความเชื่อมั่นและความถูกต้องมาก
ขึ้น และสามารถสร้างเป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่ของภาคอุตสาหกรรมไทยต่อไปในอนาคต
4. ก่อนที่จะนาโมเดลแบบประเมินที่จะพัฒนาขึ้นมานี้ ไปใช้ในการประเมินจริงในภาคอุตสาหกรรม ควรมีการทา Pilot test กับ
ผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมจานวนหนึ่งก่อน เพื่อทดลองโมเดลแบบประเมินที่พฒ ั นาขึ้น และนาข้อเสนอแนะและ
Feedback จากผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรม มาปรับปรุงให้โมเดลแบบประเมินมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

The Innovation Institute for Industry (III) 39


การประชุมหารือ “ครั้งที่ 4” ในวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2564
การประชุมหารือครัง้ นี้ จัดขึ้นในวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 13.00 – 14.30 น.
ณ ห้องประชุม 1010 ชั้น 10 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มีผู้เข้าร่วมประชุมทัง้ หมด จานวน 7 ท่าน

ผู้เข้าร่วมประชุม
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.)

1 ดร. ขัติยา ไกรกาญจน์ ที่ปรึกษาโครงการ


2 ดร. นฤกมล ภู่ขาว ผู้อานวยการสถาบันนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม
3 น.ส. ศุภกาญจน์ พรมหราช นักวิชาการอาวุโส สถาบันนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม
4 น.ส. พชรภรณ์ ศรีมาลานนท์ นักวิชาการ สถาบันนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม
5 น.ส. นฤดี มาทองหลาง นักวิชาการ สถาบันนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม
6 น.ส. หทัยรัตน์ ทองนุ้ย นักวิชาการ สถาบันนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม
7 น.ส. ศิรภ
ิ ัสร์ ทองชู นักวิชาการ สถาบันนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม

The Innovation Institute for Industry (III) 40


การประชุมหารือ “ครั้งที่ 4” ในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
ข้อเสนอแนะจาก ดร. ขัติยา
1. การพัฒนาโมเดลแบบประเมินระดับศักยภาพ/ระดับความพร้อมของสถานประกอบการตามกรอบอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) สาหรับการประเมิน
ศักยภาพของอุตสาหกรรมภาคการผลิต (Industry) ของประเทศไทย โดยตั้งต้นจากกรอบโครงสร้าง (Framework) ตามโมเดลแบบประเมิน “Self-
assessment 4.0” เวอร์ช่น ั ปี พ.ศ. 2561 ของ ส.อ.ท. ก็น่าจะเหมาะสม แต่ควรพัฒนาปรับปรุงให้มีความสมบูรณ์และสอดคล้องกับการพัฒนา
ทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมในปัจจุบันมากขึ้น
2. ส.อ.ท. ควรถอดประสบการณ์ของคณะนักวิจัย ที่เคยดาเนินการสารวจสถานประกอบการในภาคอุตสาหกรรม จานวนกว่า 1,500 กิจการ เมื่อปี
2561 อีกทั้ง ยังควรนา Feedback ที่ได้รบ ั จากผู้ประกอบการที่เข้าร่วมการประเมิน มาพัฒนาปรับปรุงให้มีความสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
3. เห็นด้วยกับการดาเนินงานที่คณะนักวิจย ั จะดึงผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมเข้ามามีส่วนร่วมในการให้ข้อคิดเห็นด้วย และก่อนที่จะนาโมเดลแบบ
ประเมินที่จะพัฒนาขึ้นมานี้ ไปใช้ในการประเมินจริงในภาคอุตสาหกรรม ควรมีการทา Pilot test กับผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรมจานวนหนึ่งก่อน
เพื่อทดลองโมเดลแบบประเมินที่พฒ ั นาขึ้น และนาข้อเสนอแนะและ Feedback จากผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรม มาปรับปรุงให้โมเดลแบบประเมินมี
ความสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
4. บริษัท เควี อีเลคทรอนิคส์ จากัด ได้เคยใช้โมเดลแบบประเมิน “Self-assessment 4.0” เวอร์ชั่นปี พ.ศ. 2561 ของ ส.อ.ท. ในการประเมินองค์กร
ตนเอง (Self-assessment) และพบข้อจากัดเรื่องการซับซ้อนของคาถามในแบบประเมิน ดังนั้น โมเดลแบบประเมินที่จะพัฒนาขึ้นใหม่ในโครงการนี้ ควร
ปรับปรุงรูปแบบคาถามที่เข้าใจได้ง่าย ไม่ซบ ั ซ้อน และไม่ใช้เวลามากเกินไป นอกจากนั้น ควรจัดทาเป็นรายงานให้ผู้ประกอบการทราบถึงผลลัพธ์ของระดับ
ศักยภาพ/ระดับความพร้อมของสถานประกอบการตามกรอบอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ขององค์กรตนเอง ว่าอยู่ที่ระดับใด และแนวทางในการ
ยกระดับองค์กรอย่างไร เพื่อเพิ่มผลิตผล (Productivity) หรือลดต้นทุนขององค์กร ในทุกมิติ (Dimension) ที่ประเมิน
5. ควรจัดทาระบบฐานข้อมูลระดับศักยภาพ/ระดับความพร้อมของสถานประกอบการตามกรอบอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ของภาคอุตสาหกรรม
ไทย และควรแชร์ข้อมูลกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะภาครัฐ และภาคการศึกษา เพื่อให้องค์กรต่างๆ สามารถนาข้อมูลเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ในการ
พัฒนาประเทศต่อไป

The Innovation Institute for Industry (III) 41


การประชุมหารือ “ครั้งที่ 5” ในวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2564
คณะทางาน Policy Research มีการประชุมหารือขึ้นในวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 14.00 -16.30 น.
ณ ห้องประชุม 1010 ชั้น 10 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด จานวน 22 ท่าน จาก 11 หน่วยงาน
ผู ้เข้กางานพั
สานั ร่วมประชุ ม และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
ฒนาวิทยาศาสตร์
1 นาย วรินทร์ รอดโพธิ์ทอง สมาคมผู้ประกอบการระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์ไทย 12 ดร. วสันต์ อริยพุทธรัตน์ นายกสมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ และ Founder &
(ประธานคณะทางานฯ) Industry Pioneer, Chief Industrial Ecologist บริษัท
คีนน์ จากัด
2 นาย คเณศ วิศรุตพงษ์ ผู้อานวยการงานวิจัยและพัฒนา บริษัท บางจากฯ จากัด
(มหาชน) (รองประธานคณะทางานฯ) 13 น.ส. นาตยา สุขเกษม ผู้ช่วยผู้อานวยการกลุ่มบริหารงบประมาณ สานักงานเศรษฐกิจ
อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
3 ดร. นฤกมล ภู่ขาว ผู้อานวยการสถาบันนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม ส.อ.ท.
14 นาย เปรมวิทย์ จรีเวฬุโรจน์ กรรมการสถาบันนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม ส.อ.ท.
4 น.ส. นพมาศ ช่วยนุกูล ผู้อานวยการหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่ม
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) สอวช. 15 ดร. พิมพ์นภา ณีศะนันท์ ผู้จัดการสมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ
5 รศ.ดร. สิรี ชัยเสรี ที่ปรึกษาอาวุโส
16 นาย ณัฐกิจ บัวโต นักวิเคราะห์นโยบาย สอวช.
6 น.ส. สิรินยา ลิม ผู้อานวยการฝ่ายเศรษฐกิจนวัตกรรม สานักงานสภานโยบาย
17 น.ส. มัญชริน พรรณนราวงศ์ สมาคมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจย
ั และนวัตกรรมแห่งชาติ
(สอวช.)
18 นาย องอาจ รุกขวัฒนกุล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ สานักงานสภา
7 น.ส. จีรวลา ฮวดมัย ผู้จัดการอุตสาหกรรมการผลิต สวทช. พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
19 น.ส. ศุภกาญจน์ พรมหราช นักวิชาการอาวุโส สถาบันนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม (ส.อ.ท.)
8 น.ส. ระสิตา ถาวรานุรก
ั ษ์ ผู้จัดการอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และซอฟต์แวร์ สวทช.
20 น.ส. พชรภรณ์ ศรีมาลานนท์ นักวิชาการ สถาบันนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม (ส.อ.ท.)
9 นาย ธนชาติ ภัทรทิพากร สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
21 น.ส. นฤดี มาทองหลาง นักวิชาการ สถาบันนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม (ส.อ.ท.)
10 ดร.ภก. ชัยวัฒน์ คณิตวรานันท์ Pharmacy Automation Director บริษัท เกทเวย์ เฮลท์แคร์
จากัด
22 น.ส. หทัยรัตน์ ทองนุ้ย นักวิชาการ สถาบันนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม (ส.อ.ท.)
11 ดร.ภก. ชาญณรงค์ เตชะอังกูร ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ ส.อ.ท. และ
กรรมการผู้จัดการบริษัท มิลลิเมด จากัด 23 น.ส. ศิรภ
ิ ัสร์ ทองชู นักวิชาการ สถาบันนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม (ส.อ.ท.) 42
การประชุมหารือ “ครั้งที่ 5” ในวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2564

ข้อเสนอแนะที่ประชุม
1. โครงการนี้เป็นโครงการที่ดี โดยเสนอแนะให้มีการเก็บ Feedback จากการประเมินชุดแรกเพื่อมาปรับปรุงพัฒนาโมเดลแบบประเมิน
ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น และต้องการให้ผู้ประกอบการที่เข้ามาใช้บริการสามารถนาข้อมูลนี้ไปใช้ประโยชน์ได้จริง เช่น แสดงข้อมูล
ความสามารถทางการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทยในแต่ละด้าน และ Success criteria ในแต่ละอุตสาหกรรม เพื่อให้
ผู้ประกอบการสามารถนาข้อมูลนี้ไปพัฒนาองค์กรได้จริงและถูกทาง เป็นต้น
2. ควรมีแนวทางให้ผู้ประกอบการว่าเมื่อสถานประกอบการทาแบบประเมินเสร็จแล้ว รู้ว่าศักยภาพองค์กรอยู่ระดับไหน จะต้อง
ดาเนินการพัฒนาองค์กรต่ออย่างไรเพื่อเพิม ่ ศักยภาพขององค์กร
3. ควรกาหนดกลุ่มอุตสาหกรรมนาร่องให้สอดคล้องกับกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย ภายใต้ยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรม
ระยะ 20 ปี ของภาครัฐ และกาหนดวัตถุประสงค์การดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติที่ยกระดับอุตสาหกรรมเข้าสู่ประเทศไทย
4.0 โดยเน้นการขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
4. เมื่อผู้ประกอบการประเมินแล้วและได้ทราบถึงแนวทางที่บริษัทต้องพัฒนาองค์กร โครงการควรมีข้อมูลความช่วยเหลือ หรือบริการ
การสนับสนุนจากหน่วยงานอื่นๆ เพื่อให้ผู้ประกอบการได้ดาเนินการยกระดับศักยภาพขององค์กร (Implement) ได้จริง
5. ควรพิจารณาเพิ่มเติมข้อคาถามในเรื่องของ Innovation base เนื่องจากเห็นว่าการที่ประเทศไทยจะก้าวข้ามกับดักรายได้ปาน
กลางได้น้น ั อาจจะไม่ใช่แค่ตัวชี้วัดด้าน Manufacturing เท่านั้น แต่เป็นการ Implement ด้าน Innovation จึงควรมีข้อคาถาม
ด้าน Innovation ด้าน Marketing และผลักดันผู้ประกอบการไทยให้มีความสามารถเข้าสู่ตลาดต่างประเทศในมุมของ B2B ได้

The Innovation Institute for Industry (III) 43


โมเดลแบบประเมิน “I4.0 Quick Scan” ของ FTI

มิติ 1: Strategy มิติ 5: IT System & Industry


& Organization Data Transaction 4.0

10% 25%
มิติ 4: Workforce Industry
มิติ 2: Technology
& Innovation 10% 15% 3.0

10%
30% Industry
2.0

มิติ 6: Smart มิติ 3: Market &


Operation Industry
Customers 1.0
The Innovation Institute for Industry (III)
โมเดลแบบประเมิน “I4.0 Quick Scan” ของ FTI
โครงสร้างแบบประเมินตนเอง
(Self-assessment) 1
สาหรับการประเมินศักยภาพสถานประกอบการ
ภาคอุตสาหกรรมการผลิต (Industry)
Version ปี 2564

 Launched in มิติ เป้าหมายการประเมิน น้าหนัก


June 2021
 6 Dimensions มิติ 1: Strategy & Organization การวางแผนกลยุทธ์ การกาหนดเป้าหมาย การวางแผนดาเนินการ และการนาไปปฏิบัติ 10% ➢ 4 Questions
 27 Questions เพื่อยกระดับองค์กรเข้าสู่อุตสาหกรรม 4.0
 4 levels of มิติ 2: Technology & Innovation ความสามารถในการบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางด้าน Industry 4.0 10% ➢ 4 Questions
industry 4.0
maturity/ มิติ 3: Market & Customers ความสามารถในการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดและกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย 10% ➢ 4 Questions
readiness levels
มิติ 4: Workforce กระบวนการหรือโปรแกรมการพัฒนาขีดความสามารถและทักษะของพนักงานเพื่อบรรลุ 15% ➢ 4 Questions
เป้าหมายขององค์กร ในการยกระดับองค์กรเข้าสู่ Industry 4.0
มิติ 5: IT System & Data โครงสร้างระบบเทคโนโลยีสารสนแทศ (IT System) ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร 25% ➢ 5 Questions
Transaction (Network & Communication) และระบบการรักษาความปลอดภัย (IT security)
รวมถึงการรวบรวมและการถ่ายโอนข้อมูล (Data transaction)
มิติ 6: Smart Operation เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการและควบคุมกระบวนการผลิต (Production) การ 30% ➢ 6 Questions
ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ (Inspection) การซ่อมบารุง (Maintenance) ตลอดจนการ
บริหารจัดการคลังสินค้า (Warehouse) และการขนส่งสินค้า (Logistics) 45
โมเดลแบบประเมิน “I4.0 Quick Scan” ของ FTI
Version ปี 2564
จุดเด่น ข้อจากัด

✓ โมเดลแบบประเมิน “I4.0 Quick Scan” ถูกออกแบบให้ ➢ ในช่วงแรก เนื่องจากข้อจากัดของปริมาณข้อมูล จึงยังไม่


เหมาะสมกับบริบทของภาคอุตสาหกรรมไทย สามารถแสดงผลข้อมูลเชิงเปรียบเทียบกับกิจการอื่นใน
✓ เหมาะกับผู้ประกอบการทุกขนาด และกิจการในทุกพื้นที่ อุตสาหกรรมเดียวกันได้ทันที (Real time)
✓ ฐานข้อมูล Web Portal ถูกเก็บอยู่ที่ Server ในประเทศไทย ➢ คาแนะนาที่เป็น Action plans สาหรับการยกระดับองค์กร
✓ รูปแบบ Online สามารถเข้าถึงได้ง่าย และไม่มีค่าใช้จ่าย เข้าสู่ Industry 4.0 ค่อนข้างกว้าง
✓ เป็นคาถามทั่วๆ ไป ไม่ซบ
ั ซ้อน
✓ ใช้เวลาไม่มากในการตอบแบบประเมิน
✓ มีคาแนะนาที่เป็น Action plans การยกระดับในแต่ละมิติ
✓ Software
▪ User-friendly
▪ Resume allowance
▪ Real-time result
▪ Result export

The Innovation Institute for Industry (III) 46


Thank You

The Innovation Institute for Industry (III)

You might also like