You are on page 1of 8

ชื่อเรื่อง: การวิเคราะห์ผลกระทบของโครงสร้างพื้นฐาน

ดิจิทัล 5G ต่อการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์แรงงาน
ข้อมูลพื้นฐาน

เครือข่ายโทรศัพท์มือถือหรือระบบไร้สายรุ่นที่ 5

1G 2G 3G 4G 5G
ปี 2527 ปี 2534 ปี 2556 ปี 2558 คาดการณ์ ปี 2563
โทรออก-รับสาย ส่ง SMS ใช้งาน ใช้งานอินเตอร์เน็ต รับส่งข้อมูลได้
อินเทอร์เน็ต ไร้สายดีขึ้น รวดเร็วกว่า 4G
รับส่งข้อมูลได้รวดเร็ว ถึง 20 เท่า
คุณสมบัติและการใช้งาน 5G
การสื่อสารข้อมูลไร้สายความเร็วสูง

การสื่อสารกับอุปกรณ์จานวนมาก การบริการที่แม่นยา ไม่ล่าช้า


สถานภาพปัจจุบัน
MOU 5G / เตรียมการ ทดสอบระบบ
3 เดือน 9 เดือน

ธ.ค.
2561 พัฒนาการใช้งาน ขยายผล
6 เดือน 9 เดือน +
แผนงานและระยะเวลา
ที่มา กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
เป้าหมาย
วัตถุประสงค์ในคาดการณ์ผลกระทบจากการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลต่อ
การจ้างงานและเสนอแนะนโยบายในการส่งเสริมและรับมือจากผลกระทบที่จะ
เกิดขึ้นเพื่อพัฒนาความสามารถในการแข่งขันและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร
มนุษย์ของประเทศสูก่ ารเป็นประเทศทีม่ ั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
การวิเคราะห์ ผลการศึกษา
การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีดิจิทัล
กราฟแสดงเงินลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยี ส่งผลเชิงบวกต่อจานวนผู้มีงานทานอกภาค
ดิจิทัลและการจ้างงานจาแนกตามภาคอุตสาหกรรม เกษตรและส่งผลเชิงลบต่อจานวนผู้มีงานทาภาค
30000 30,000.00
เกษตรอย่างมีนัยสาคัญ แสดงให้เห็นถึงการ
3G 4G ลงทุนด้านเทคโนโลยีดิจิทัลส่งผลต่อการ
25000 25,000.00
เคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างภาคเกษตรและนอก
20000 20,000.00 ภาคเกษตร

จานวนผู้มีงานทา
เงินลงทุน

15000 15,000.00

ผลของการให้บริการโครงข่ายต่อการจ้างงาน
10000 10,000.00
เกิดขึ้นใน 2 รูปแบบ คือ
5000 5,000.00 1) การจ้างงานจากการลงทุนในโครงสร้าง
0 0.00
พื้นฐานเทคโนโลยีดิจิทัล
2) การจ้างงานจากการสร้างผลกระทบภายนอก
Axis Title
เงินลงทุนด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (ล้านบาท) จานวนผู้มีงานทาภาคเกษตร (Externalities) สู่การจ้างงานในภาคอื่น ๆ ของ
จานวนผู้มีงานทานอกภาคเกษตร ระบบเศรษฐกิจ
การวิเคราะห์ ผลการศึกษามีความสอดคล้องกับตารางปัจจัยการผลิตและ
ผลผลิต (Input-Output table) ปี 2553 ของบัญชี
อุตสาหกรรมที่การจ้างงานเพิ่มขึ้นจากการลงทุนโครงข่ายดิจิทัล ประชาชาติซึ่งสะท้อนถึงผลของเทคโนโลยีการสื่อสารต่อ
เศรษฐกิจมหภาคโดยมีผลกระทบสาคัญต่ออุตสาหกรรม
6 อันดับแรก ดังกล่าว

ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร การศึกษาของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ
(2012) พบว่า การลงทุนในการก่อสร้างโครงข่าย
การขายส่งและการขายปลีก พืน้ ฐานใช้การจ้างงาน 1 คน จะทาให้มีการจ้างงานส่วน
อื่นเพิ่มขึ้นอีก 1.2 ถึง 2.7 คน อย่างไรก็ตามประเทศ
การบริการ ไทยอาจได้ประโยชน์จากการจ้างงานเพิ่มขึ้นน้อยกว่าผล
ด้านสุขภาพ การศึกษาประเทศที่เป็นผู้ผลิตเทคโนโลเนื่องจากอาศัย
การนาเข้าอุปกรณ์เป็นสัดส่วนสูง
ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร
ศิลปะความบันเทิงและนันทนาการ https://www.nesdb.go.th/ewt_news.php?nid=5705
ITU (2012), Impact of Broadband on the Economy.
การวิเคราะห์ สรุปผลจากการสัมภาษณ์
ทักษะที่สาคัญในยุคดิจิทัล
รูปแบบการจ้างงานที่เปลี่ยนไป
ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ
เกิดอาชีพใหม่ ๆ ทั้งจากการควบรวมตาแหน่งเดิม และการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน
และจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
การเรียนรู้เชิงรุกอย่างมีกลยุทธ์
เกิดรูปแบบการจ้างงานใหม่ ๆ
การจัดจ้างบุคคลภายนอกเพิ่มขึ้น ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างแตกต่าง
รูปแบบการทางานที่ยืดหยุ่นมากขึ้น
การทางานทางไกล การออกแบบเทคโนโลยี
และการเขียนโปรแกรม
ลดบางตาแหน่งงานและทางานควบคู่กับเทคโนโลยี
เพื่อเพิ่มผลิตภาพแรงงาน ภาวะผู้นา และความฉลาดทางอารมณ์
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
ต้นน้า กลางน้า ปลายน้า
สร้างเยาวชนให้มีทักษะด้านเทคโนโลยีและ การลงทุนในทรัพยากรมนุษย์ต่อเนื่องหลังจบ การให้ความคุ้มครองแรงงานทั้งในระบบและนอก
สมรรถนะที่จาเป็นสอดคล้องกับความต้องการ การศึกษา ระบบให้มีสิทธิขั้นพื้นฐานเท่าเทียมกัน เช่น ชั่วโมง
ของตลาดแรงงาน - การให้เงินอุดหนุนสาหรับการพัฒนาทักษะที่ การทางานและความปลอดภัยชีวอนามัยในการ
- ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนระดับประถม- จาเป็นเพิ่มเติมก่อนเข้าทางาน ทางาน
มัธยม และเข้าถึงทรัพยากรเพื่อการเรียนรู้ที่ - การสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อสร้างทักษะ
ทันสมัย รวมถึง reskill และ upskill สร้างกลไกในการหาอุปสงค์และอุปทานแรงงาน
- สร้างโอกาสให้มีประสบการณ์เรียนรู้ในสถานที่ อัตโนมัติ
ทางานจริงหรือการฝึกงานในระดับหลังจบ การสนับสนุนทรัพยากรมนุษย์ในการเปลี่ยนผ่าน
การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ ในช่วงต่าง ๆ ของชีวิต การจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ Design Thinking
ตลาดแรงงาน - การแนะแนวเพื่อเตรียมตัวเข้าสู่ตลาดแรงงาน เพื่อทบทวนและออกกฎหมายหรือนโยบาย
- การเชื่อมโยงทักษะแรงงานต้องการในอนาคตกับ สาหรับเยาวชน สาธารณะ โดยคานึงถึงมุมมองของนักลงทุน
ระบบการศึกษาโดยเฉพาะทักษะด้านการคิด - การแนะแนวเพื่อเตรียมตัวทางานในวัยสูงอายุ ผู้ประกอบการ และแรงงาน
วิเคราะห์ การคิดเชิงนวัตกรรม ทักษะความคิดเชิง
สร้างสรรค์ ความคิดริเริ่ม และความสามารถเข้าใจ สร้างกลไกไตรภาคีระหว่าง รัฐ เอกชน และ
จิตใจและอารมณ์ของผู้อื่น แรงงาน ร่วมกันพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน

You might also like