You are on page 1of 3

หัวข้อ "วิศวกรรมกับการเกษตรยุคดิจิทัล" กล่าวถึง เทคโนโลยีในสมัยนีม

้ ีความแม่นยำที่สูง และสามารถเข้าถึงได้ง่าย จึง


เป็ นเหตุผลที่ดท
ี ี่จะทำการนำเทคโนโลยีทางการเกษตรในยุคดิจิตัลเข้ามาช่วยแก้ปัญหาทางการเกษตร อีกทัง้ ยังช่วยยก
ระดับการทำการเกษตรให้ได้ผลผลิตที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึน
้ กว่าในอดีตที่ผ่านมา โดยเทคโนโลยีทางการเกษตรในยุคดิจิตั
ลก่อให้เกิดประโยชน์มากมายในการทำเกษตรกรรรม เช่น

1.เกษตรกรสามารถเลือกซื้อปุ๋ยสูตรต่างๆให้เข้ากับสภาพดินของตนเองได้ง่าย และแม่นยำขึน
้ ด้วยการใช้เทคโนโลยี
เซนเซอร์ที่สามารถวัดค่าธาตุอาหารหลักของดินได้มาช่วยทำการวัดค่า N (ไนโตรเจน), ค่า P (ฟอสฟอรัส) และค่า K
(โพแทสเซียม)ในดิน

2.เกษตรกรสามารถวิเคราะห์โรคของพืชที่ตนเองปลูกได้ด้วยตนเอง โดยเทคโนโลยีทางการเกษตรในยุคดิจิตัลที่สามารถ
ถ่ายรูปพืช และอัพโหลดรูปภาพพืชนัน
้ เข้าในแอพพลิเคชั่น แล้วแอพพลิเคชั่นก็จะประมวลผลออกมาให้ว่าพืชชนิดนัน
้ เป็ น
โรคอะไร และมีสาเหตุมาจากไหน

3.ช่วยให้เกษตรกรสามารถประเมิณการช้ำของพืช และรู้เท่าทันการเกิดโรค รวมถึงการระบาดของแมลงได้โดยการเก็บ


ข้อมูล Weather station system

4.ช่วยประหยัดเวลาในการทำงานด้านการเกษตรโดยการใช้เทคโนโลยีทางการเกษตรในยุคดิจิตัลที่สามารถทำงานได้แทน
มนุษย์เข้ามาใช้ในทางการเกษตรเช่น การใช้โดรนในการช่วยใส่ปุ๋ย

5.ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในระยะยาว โดยการลงทุนในด้านเทคโนโลยีทางการเกษตรในยุคดิจิตัล เช่น การลงทุนซื้อโดรน


เพื่อใช้ในการใส่ปุ๋ย ก็จะสามารถลดต้นแรงงานคนใส่ปุ๋ยไปได้, ช่วยให้เกษตรกรซื้อปุ๋ยได้อย่างเหมาะภายในครัง้ เดียวโดยไม่
ต้องทดลองปุ๋ยสูตรต่างๆหลายครัง้

ข้อจำกัดที่มีในปั จจุบนั
1. เกษตรส่วนใหญ่ในปั จจุบันยังไม่มีองค์ความรู้ รวมถึงความเข้าใจเทคโนโลยีทางการเกษตรในยุคดิจิตัลในอย่า
ถ่องแท้ จึงส่งผลให้เกษตรกรมองไม่เห็นถึงประสิทธิภาพที่แท้จริงของเทคโนโลยีทางการเกษตรในยุคดิจิตัล และ
ยังคงทำการเกษตรแบบเดิม ๆ
2. เทคโนโลยีทางการเกษตรในยุคดิจิตัลบางอย่างยังมีใช้เพียงแค่ในบางประเทศ และมีราคาที่สูงมากหากมีการ
ทำการนำเข้ามา
3. เทคโนโลยีทางการเกษตรในยุคดิจิตัลส่วนใหญ่เป็ นเทคโนโลยีที่ต้องมีการเข้าถึงระบบสัญญาณโทรศัพท์ และ
อินเตอร์เน็ต แต่บางพื้นทีท
่ ี่ทำการเกษตรจะเป็ นพื้นที่ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ เช่น พื้นที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อ
เกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ที่อยู่บนเขา
4. ผมคิดว่าเทคโนโลยีทางการเกษตรในยุคดิจิตัลที่มีคุณภาพบางตัวยังมีต้นทุนที่ค่อนข้างสูงจึงทำให้เกษตรกรบาง
กลุ่มยากที่จะเข้าถึงการใช้เทคโนโลยีทางการเกษตรในยุคดิจิตัลที่มีคุณภาพ
5. ผมคิดว่าในระยะยาว เมื่อเทคโนโลยีทางการเกษตรในยุคดิจิตัลถึงจุดหมดประกัน หรืออายุการใช้งานจะส่งผล
ทำให้ค่าใช้จา่ ยในการบำรุงรักษา ซ่อมแซม หรือแม้กระทัง้ ซื้ออุปกรณ์ตัวใหม่เปลี่ยนจะตกอยู่ที่เกษตรกร ซึ่งใน
ส่วนนีจ
้ ะมีค่าใช้จ่ายที่สูง
จงยกตัวอย่างการปรับปรุ งแก้ไขข้อจำกัดเหล่านั้น
1. การสร้างสื่อความรู้ และจัดงาน workshop นำอุปกรณ์เทคโนโลยีทางการเกษตรในยุคดิจิตัลต่างๆมาลองใช้
งานให้แก่เกษตรกรดู เพื่อที่จะช่วยให้เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการเกษตรในยุคดิจิตัลมาก
ขึน
้ ะ และได้เห็นพร้อมทัง้ สัมผัสของจริง
2. ให้รัฐบาลไทยสนับสนุนเงินทุนวิจัยในการ Research and development เพื่อพัฒนา และสร้างเทคโนโลยี
ทางการเกษตรในยุคดิจิตัลต่างๆขึน
้ มาใช้งานได้เองในประเทศ
3. พัฒนาระบบของแอพพลิเคชั่นให้สามารถใช้ในระบบ offline ได้โดยไม่ต้องใช้ระบบสัญญาณโทรศัพท์ และ
อินเตอร์เน็ตในการใช้งาน หรือทำการปรับปรุงโครงสร้างเครือข่ายของระบบสัญญาณโทรศัพท์ และ
อินเตอร์เน็ตให้ทุกที่ในประเทศสามารถเข้าใช้งานระบบสัญญาณโทรศัพท์ และอินเตอร์เน็ตได้
4. ผมคิดว่าในช่วงแรกให้เกษตรกรที่มีก ำลังต้นทุนต่ำไปขอศึกษาดูงานในพื้นที่ของเกษตรที่น ำเทคโนโลยี
ทางการเกษตรที่มีคณ
ุ ภาพมาใช้งานเพื่อทำการศึกษาว่าเทคโนโลยีทางการเกษตรที่มีคุณภาพตัวไหนนัน

เหมาะสม และจำเป็ นต่อการทำการเกษตรในพื้นที่เราจริงๆจะได้ตัดงบในส่วนของเทคโนโลยีทางการเกษตร
ที่มีคุณภาพบางตัวที่ไม่จำเป็ นออกไป เพื่อที่จะได้ลดต้นทุน และประหยัดค่าใช้จ่ายในการทำการเกษตร
5. ผมคิดว่าเกษตรกรควรคำนวณจุดคุ้มทุน หรือ จุดคืนทุนก่อนที่จะซื้อ เทคโนโลยีทางการเกษตรเข้ามาใช้โดย
การคำนวณว่าเทคโนโลยีทางการเกษตรที่จะซื้อมาใช้งานมีต้นทุนอยู่กี่บาท และผลผลิตของเราที่ผลิตได้ต่อ
เดือนหรือต่อปี จะสามารถถอนต้นทุนตรงนัน
้ ได้ในระยะเวลาเท่าใด และจะสามารถเก็บผลประโยชน์จาก
เทคโนโลยีทางการเกษตรได้กี่ปี หรือกี่เดือนก่อนจะมีการบำรุงซ่อมแซมหรือซื้อใหม่ และเมื่อคำนวณแล้วเรา
จะได้กำไร หรือขาดทุนจากการนำเทคโนโลยีทางการเกษตรเข้ามาใช้งานหรือไม่

ผมคิดว่าจะนำเทคโนโลยีทางการเกษตรในยุคดิจิตัลในส่วนของการใช้เซนเซอร์ ที่สามารถวัดค่าธาตุอาหารหลัก
ของดินได้มาช่วยทำการวัดค่า N (ไนโตรเจน), ค่า P (ฟอสฟอรัส) และค่า K (โพแทสเซียม)ในดินได้มาประยุคใช้ กับการ
พัฒนาสูตรปุ๋ย เพราะว่าในปั จจุบันนัน
้ เกษตรกรไม่สามารถจะทราบค่า N P K ภานในดินได้อย่างแม่นแน่นอน ทำได้เพียง
สังเกตุอาการต่างๆของพืชเช่น
- พืชขาดธาตุในโตรเจน (N) ใบแก่แสดงอาการใบเหลือง (chlorosis) ทำให้ต้นแคระ เมื่อเปรียบเทียบกับต้นที่
ได้รับ N เพียงพอ
- พืชขาดราตุฟอสฟอรัส (P) :ใบแก่จะเปลี่ยนจากสีเขียวเป็ นสีม่วงแล้วกลายเป็ นสีน้ำตาลและหลุดร่วงลำต้น
แกร็นไม่ผลิดอกออกผล
- พืชขาดราตุโพแทสเชียม (K):ใบแก่แสดงอาการใบเหลือง และมีการตายของเนื้อใบ
ด้วยเหตุผมจึงคิดว่าจะนำเทคโนโลยีทางการเกษตรในยุคดิจิตัลในส่วนของการใช้เซนเซอร์ ที่สามารถวัดค่าธาตุ
อาหารหลักของดินได้มาทำเป็ นธุรกิจขายปุ๋ยโดยเราจะทำการนำเซนเซอร์ที่สามารถวัดค่าธาตุอาหารหลักของดินเข้าไปวัด
ค่า N P K ของเกษตรกรที่เป็ นลูกค้า เพื่อที่จะเก็บข้อมูลเชิงสถิติของค่า N P K ในช่วงต่างๆในแต่ละพื้นที่ของเกษตรกร
ลูกค้า พร้อมทัง้ นำข้อมูลเหล่านัน
้ มาทำการวิเคราะห์สูตรปุ๋ยที่เหมาะสมกับพื้นที่ของเกษตรกรลูกค้า ซึ่งเมื่อเกษตรกรลูกค้า
ได้สูตรปุ๋ยที่เหมาะสมแล้วนัน
้ เกษตรกรลูกค้าจะสามารถป้ องกันอาการ และโรคต่างๆของพืชที่ตนปลูกจาการขาดธาตุ
อาหารหลักของดินได้ อีกทัง้ ยังช่วยลดระยะเวลาในการทดลองปุ๋ยสูตรต่างๆ และลดค่าใช้จา่ ยการซื้อปุ๋ยที่ผิดสูตรมาใช้ใน
พื้นที่ของตนเอง และสุดท้ายเกษตรกรลูกค้าก็จะได้ผลผลิตที่สูง และมีประสิทธิภาพจากพืชทีต
่ นเองปลูก
อ้างอิงสารโรคต่างๆจากการขาดสารอาหาร https://www.svgroup.co.th/blog

You might also like