You are on page 1of 18

โครงงาน ระบบควบคุมปัจจัยต่างๆ ในฟาร์มเห็ด โดยใช้ Arduino

(Control systems factor in cultivation of mushrooms farm by Arduino)

เสนอต่อ

มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดาริ

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

ได้รับสนับสนุนทุนทาโครงงาน

ในโครงการสนับสนุนทุนทาโครงงานของนักเรียนในชนบท

ประจาปี 2560

โดย

นางสาวภัสราภรณ์ มิศิริ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

นางสาวรินรดา สมัญกลาง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

นางสาวศุภรดา สิงห์ทอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

อาจารย์ที่ปรึกษา คุณครูณีรนุช ทองเติม

โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร”
กิตติกรรมประกาศ
เอกสารโครงงานฉบับนี้ สาเร็จได้ด้วยความกรุณาช่วยเหลือ และให้คาปรึกษาแนะนาเป็นอย่างดีจาก
คุณครู ณีรนุช ทองเติม ครูที่ปรึกษาโครงงานและขอขอบคุณคณะวิทยากรของอาจารย์จีระศักดิ์ สุวรรณโณที่ให้
ความกรุณา ช่วยเหลือให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนาปรับปรุงโครงงาน ตรวจสอบ แก้ไขข้อบกพร่อง ทาให้
โครงงานฉบับนี้มีความสมบูรณ์ถูกต้องยิ่งขึ้น

ขอกราบขอบคุณทุนอุดหนุนการทาโครงงานจากมูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดาริสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี โดยการสนับสนุนจากสถาบันกวดวี บาย เดอะเบรน จนทาให้การ
พัฒนาโครงงานนี้สาเร็จอย่างสมบูรณ์

คุณค่าและประโยชน์ทั้งหลายที่พึ่งมีจากโครงงานฉบับนี้ ขอมอบเป็นกตัญญุตาแก่ผู้มีพระคุณทุกท่าน

คณะผู้จัดทา
ชื่อ : นางสาวภัสราภรณ์ มิศิริ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
นางสาวรินรดา สมัญกลาง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
นางสาวศุภรดา สิงห์ทอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ชื่อเรื่อง : ระบบควบคุมปัจจัยต่างๆ ในฟาร์มเห็ด โดยใช้ Arduino (Control systems factor in
cultivation of mushrooms farm by Arduino)
ที่ปรึกษา : คุณครูณีรนุช ทองเติม
ปีการศึกษา : 2560
บทคัดย่อ
โครงงานระบบควบคุมปัจจัยต่างๆ ในฟาร์มเห็ด โดยใช้ Arduino มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ
การนาเอาเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการควบคุมอุปกรณ์เซ็นเซอร์ต่างๆในโรงเพาะ โดยใช้บอร์ด Arduino และส่ง
ข้อมูลเข้ามาแสดงผลที่จอ LCD เพื่อประหยัดเวลาและแรงงานในการทางาน และเป็นการพัฒนาระบบการ
จัดการบริหารทางการเกษตรให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ผลการศึกษาพบว่าความชื้นที่พอเหมาะไม่ควรต่ากว่า 80% ไม่ควรปล่อยให้ชื้นหรือแห้งมากเกินไป
เห็ดแต่ละชนิดจะมีค่าสีที่แตกต่างกันด้วย ซึ่งสีของเห็ดก็ยังสามารถบอกอายุของเห็ดได้อีกด้วย ในระยะการ
เติบโตของเส้นใยหากจานวนของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในโรงเรือนมีปริมาณสูงกว่าบรรยากาศเล็กน้อย จะ
ทาให้เส้นใยของเห็ดเจริญทางด้านความยาวและแบ่งเซลล์ได้เร็วยิ่งขึ้นเพราะก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จะเป็นตัว
ช่วยเร่งการเจริญเติบโตของเส้นใยเห็ด
สารบัญ
ชื่อ........................................................................................................................................................หน้า

กิตติกรรมประกาศ...........................................................................................................................................ก

บทคัดย่อ.................................................................................................................................. ........................ข

บทนา......................................................................................................................... ......................................1

วัตถุประสงค์และเป้าหมาย..............................................................................................................................1

รายละเอียดโครงงาน.......................................................................................................................................2

ผลของการทดสอบผลงาน..............................................................................................................................6

ปัญหาและอุปสรรค........................................................................................................................................6

แนวทางในการพัฒนาและประยุกต์ใช้กับงานอื่นๆในขั้นต่อไป.......................................................................6

ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ................................................................................................................................6

เอกสารอ้างอิง.................................................................................................................................................7

สถานที่ติดต่อของผู้พัฒนาและอาจารย์ที่ปรึกษา............................................................................................8

ภาคผนวก......................................................................................................................................................9
บทนา
ความสาคัญ

ระบบควบคุมปัจจัยต่างๆในฟาร์มเห็ดโดยใช้ Arduino (Control systems factors in farm


cultivation of mushrooms from Arduino ) จะเป็นการพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตรที่สามารถ เพิ่ม
ความรวดเร็วและประสิทธิภาพในการดูแลพืชผล การเพาะเลี้ยงเห็ดนั้น เกษตรกรต้องคอยใส่ใจ คอยดูแล
เนื่องจากเห็ดต้องการความชื้นที่เหมาะสม ปริมาณน้าและแสงที่พอเหมาะ ทาให้ในเกษตรกรบางรายเสียเวลา
และแรงงานในการดูแล จากปัญหาข้างต้นคณะผู้จัดทาจึงได้ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีมาพัฒนาการดูแลการ
เพาะปลูก ซึ่งสามารถลดเวลาและแรงงานในการดูแลได้ เพื่อเป็นการสนองความต้องการของเกษตรกรโดยการ
นาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์พัฒนา ทาให้ระบบการบริหารจัดการเกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ความเป็นมาของโครงการ

เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงเห็ด มักจะต้องประสบปัญหาในเรื่องของการดูแล ตัวอย่างเช่น เห็ดน็อค หรือก็


คือการที่เส้นใยเห็ดหลังจากโรยเชื้อเห็ดไม่ยอมรวมตัวกันเป็นดอกเห็ด สาเหตุมาจากอากาศ ในโรงเรือนเพาะ
เห็ดไม่บริสุทธิ์มีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากเกินไป ควรหาทางระบายอากาศและเพิ่มออกซิเจนเข้าไปอุณหภูมิ
ในโรงเรือนเพาะเห็ดสูงเกิน 35 องศาเซลเซียส ต้องระบายอากาศและรดน้าตามพื้นและรอบๆโรงเรือนเพื่อให้
อุณหภูมิลดลง แสงสว่างไม่เพียงพอ การที่เส้นใยจะรวมตัวและเกิดเป็นดอกเห็ดได้นั้นจาเป็นต้องมีแสงสว่างที่
เหมาะสม เพื่อให้เส้นใยพัฒนาและก่อตัวขึ้นเป็นดอกเห็ด ควรเพิ่มแสงสว่างโดยติดหลอดไฟฟ้าเข้าไป เพื่อ
แก้ปัญหาไม่ให้โรงเรือนมืดทึบจนเกินไป เป็นต้น ทาให้เกษตรกรขาดทุนและได้ผลผลิตไม่เป็นไปตามที่ต้องการ

จากปัญหาข้างต้นผู้จัดทาจึงได้คิดระบบการควบคุมปัจจัยต่างๆในโรงเห็ด เพื่อประหยัดเวลาในการ
ดูแลและยังเป็นการถ่ายทอดเทคโนโลยีนี้ไปให้แก่ชุมชนและเกษตรกรที่สนใจซึ่งสามารถนาไปประกอบอาชีพ
หลัก หรืออาชีพเสริม เป็นการเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัว

วัตถุประสงค์ของโครงงานและเป้าหมายของโครงงาน

1. เพื่อต้องการลดการใช้แรงงานและเวลาในการดูแลเห็ดในโรงเพาะเห็ดแต่ละโรง
2. เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการทางด้านการเกษตรให้ดียิ่งขึ้น
3. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีนี้ไปให้เกษตรกรที่ต้องการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ

- ระบบสามารถใช้งานได้จริง
- ระบบสามารถช่วยลดแรงงานและเวลาในการดูแลเห็ดได้
- เกษตรกรสามารถนาเทคโนโลยีนี้ไปใช้ได้จริง

รายละเอียดเกี่ยวกับโครงงาน

ในปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์เริ่มมีบทบาทในชีวิตประจาวันของมนุษย์มากขึ้น ซึ่งประเทศ
ไทยได้เริ่มมีการตื่นตัวใช้เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ได้เริ่มมีการพัฒนา
ทักษะในการเขียนโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ และนาความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันใน
หลายๆด้าน เริ่มมีการประยุกต์หรือสร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆ จุดประสงค์เพื่อในการอานวยความสะดวก เพิ่ม
ความรวดเร็วและประสิทธิภาพรวมไปถึงความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีส่งผลให้เกิดการพัฒนาทักษะ
ศักยภาพในการทางานต่างเพื่อปรับให้เข้ากับยุคสมัยที่เปลี่ยนไปและตอบสนองความต้องการของมนุษย์จึงทา
ให้มีการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว

ระบบควบคุมปัจจัยต่างๆในฟาร์มเห็ดโดยใช้ Arduino (Control systems factors in farm


cultivation of mushrooms from Arduino ) จะเป็นการพัฒนาเทคโนโลยีทางด้วยวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
พัฒนาและประยุกต์เทคโนโลยีให้เข้ากับภาคการเกษตรที่สามารถ เพิ่มความรวดเร็วและประสิทธิภาพในการ
ดูแลพืชผล การเพาะเลี้ยงเห็ดนั้น เกษตรกรต้องคอยใส่ใจ คอยดูแลเนื่องจากเห็ดต้องการความชื้นที่เหมาะสม
ปริมาณน้าและแสงที่พอเหมาะ ทาให้ในเกษตรกรบางรายเสียเวลาและแรงงานในการดูแล จากปัญหาข้างต้น
คณะผู้จัดทาจึงได้ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีมาพัฒนาการดูแลการเพาะปลูก ซึ่งสามารถลดเวลาและแรงงานในการ
ดูแลได้ เพื่อเป็นการสนองความต้องการของเกษตรกรโดยการนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์พัฒนา ทา
ให้ระบบการบริหารจัดการเกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
แผนผังการประกอบวงจร

ทฤษฎีหลักการและเทคนิคหรือเทคโนโลยีที่ใช้

ระบบสมองกลฝังตัว
ระบบสมองกลฝังตัว Embedded System คือระบบที่ทางานร่วมกันระหว่างซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์
เพื่อควบคุมการทางานของอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์หนึ่งๆ มีการประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวาง
ทุกๆวงการ เช่น อุปกรณ์เครื่องใช้ประจาบ้าน เครื่องซักผ้า เตาไมโครเวฟ วิทยุ โทรทัศน์ เครื่องมือวัดทาง
การแพทย์ โทรศัพท์มือถือ เครื่องเล่นเกมส์ ฯลฯ ถือว่าเป็นเทคโนโลยีที่ได้รับความสนใจในปัจจุบันมากจาก
ภาคอุตสาหกรรมเพื่อนามาปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพมากขึ้น ประเทศไทยให้ความสนใจ มีการจัดตั้ง
สมาคมสมองกลฝังตัวไทย และมีการจัดประชุมสัมมนาเรื่องนี้ มาตั้งแต่ปี 2547
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้ทาการศึกษาวิจัย Embedded Technology มีผลงานต่อเนื่อง
ยกตัวอย่างเช่น เครื่องวัดความเป็นกรด-ด่างน้า / อุปกรณ์ตรวจวัดคุณภาพน้า / การพัฒนาระบบเครือข่าย
เซ็นเซอร์ / อุปกรณ์การเข้าออกสานักงาน / รถสื่อสารฉุกเฉินเพื่อสังคมไทย ฯลฯ และให้ความสาคัญ
ดาเนินการบริหารจัดการเป็นโปรแกรมวิจัยกลยุทธ์ ในช่วงปีงบประมาณ 2550-2554 ชื่อว่า โปรแกรมระบบ
สมองกลฝังตัว Embedded System โดยมีแผนงานดาเนินการประมาณ 25 โครงการ
ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี STKS จึงรวบรวมผลงานวิจัยเรื่องสมองกลฝังนี้ ทั้ง
เอกสารการวิจัยและเอกสารสิทธิบัตร จากแหล่งข้อมูลออนไลน์นานาชาติ และทาการวิเคราะห์แบบเบื้องต้น
เพื่อสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาให้ติดตาม เท่าทัน กับนานาชาติ
เครื่องมือที่ใช้พัฒนา

เครื่องมือหลักที่ใช้คือ บอร์ด Arduino ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมคือภาษาซี

Arduino
Arduino คือ โครงการที่นาชิปไอซีไมโครคอนโทรลเลอร์ตระกูลต่างๆ มาใช้ร่วมกันในภาษา C ซึง่
ภาษา C นี้เป็นลักษณะเฉพาะ คือมีการเขียนไลบารี่ของ Arduino ขึ้นมาเพื่อให้การสั่งงาน
ไมโครคอนโทรลเลอร์ที่แตกต่างกัน สามารถใช้งานโค้ดตัวเดียวกันได้ โดยตัวโครงการได้ออกบอร์ดทดลองมา
หลายๆรูปแบบ เพื่อใช้งานกับ IDE ของตนเอง สาเหตุหลักที่ทาให้ Arduino เป็นนิยมมาก เป็นเพราะซอฟแวร์
ที่ใช้งานร่วมกันสามารถโหลดได้ฟรี และตัวบอร์ดทดลองยังถูกแจกแปลน

Arduino ต่างอะไรกับ AVR แบบปกติ ?


จากที่ได้กล่าวไปแล้ว Auduino นั้นได้ใช้ชิป AVR เป็นหลักใน Auduino แทบรุ่น สาเหตุมาจาก
ไมโครคอนโทรเลอร์ของตระกูล AVR นั้นมีความทันสมัย ในชิปในบางตัวสามารถเชื่อมต่อผ่าน USB ได้โดยตรง
สามารถใช้กับคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ได้เป็นอย่างดี และในไมโครคอนโทรเลอร์ตระกูล AVR ยังมีส่วนของ
โปรแกรมพิเศษที่เรียกว่า Bootloader อยู่ในระดับล่างกว่าส่วนโปรแกรมปกติ ซึ่งจะเป็นส่วนโปรแกรมที่จะถูก
เรียกขึ้นมาก่อนการเรียกโปรแกรมปกติ ทาให้สามารถเขียนสั่งให้ทางานใดๆก็ได้ ก่อนการเรียกโปรแกรมปกติ
ทาให้ Arduino นั้นอาศัยส่วนโปรแกรมแกรมพิเศษนี้ในการทาให้ชิป สามารถโปรแกรมผ่านพอร์ตอนุกรมชนิด
UART ได้ จึงทาให้การเขียนโปรแกรมลงไปในชิปใช้เพียง USB to UART ก็เพียงพอแล้ว แต่การโปรแกรมด้วย
การใช้โปรโตคอล UART ก็มีข้อเสียตรงที่ต้องใช้เวลาในการบูตเข้าโปรแกรมปกติประมาณ 1 – 2 วินาที
ภาษาซี
ภาษาซี (C Programming Language) คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ใช้สาหรับพัฒนาโปรแกรมทั่วไป ถูกพัฒนาครั้ง
แรกเพื่อใช้เป็นภาษาสาหรับพัฒนาระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ( Unix Opearating System) แทน
ภาษาแอสเซมบลี ซึ่งเป็นภาษาระดับต่าที่สามารถกระทาในระบบฮาร์ดแวร์ได้ด้วยความรวดเร็ว แต่จุดอ่อนของ
ภาษาแอซเซมบลีก็คือความยุ่งยากในการโปรแกรม ความเป็นเฉพาะตัว และความแตกต่างกันไปในแต่ละ
เครื่อง เดนนิส ริตชี (Dennis Ritchie) จึงได้คิดค้นพัฒนาภาษาใหม่นี้ขึ้นมาเมื่อประมาณต้นปี ค.ศ. 1970 โดย
การรวบรวมเอาจุดเด่นของแต่ละภาษาระดับสูงผนวกเข้ากับภาษาระดับต่า เรียกชื่อว่า ภาษาซี
โปรแกรม Arduino IDE
Arduino IDE (อาดุยอิโน่ ไอดีอี) คือ เครื่องมือการเขียนโปรแกรมที่มีใช้งานได้กับอาดุยอิโน่ได้ทุกรุ่น โดย
ภายในจะมีเครื่องมือที่จะเป็นสาหรับติดต่ออาดุยอิโน่ เช่น การค้นหาอาดุยอิโน่ ที่ติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์
การเลือกรุ่นอาดุยอิโน่ที่ต่ออยู่เพื่อนตรวจสอบว่าขนาดของโปรแกรมที่เขียน หรือไรบรารี่ต่างๆซับพอร์ตกับอา
ดุยอิโน่รุ่นนั้นๆไหม อีกทั้งยังมีโปรแกรมติดต่อผ่านซีเรียลโดยตรงสาหรับคอมพิวเตอร์

Arduino IDE อาดุยอิโน่ ไอดีอี


โปรแกรมอาดุยอิโน่ไอดีอี เป็นโปรแกรมโอเพ่นซอสสามารถนาไปใช้งานได้ฟรีๆ อีกทั้งมีซอสโค้ดตัวอย่างให้
ทดสอบกับเซ็นเซอร์ต่างๆ เช่น โปรแกรมไฟกระพริบ โปรแกรมวัดอุณหภูมิ เป็นต้น
ขอบเขตและข้อจากัดของผลงาน

1. การนาเทคโนโลยีมาปรับใช้ในโรงเรือนเห็ด
2. ตรวจหรือวัดค่าความชื้นและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
3. แสดงความชื้น ค่าสี และอุณหภูมิของโรงเพาะเห็ด

ผลของการทดสอบผลงาน

อุปกรณ์สามารถใช้งานได้จริง สามารถแยกสีของเห็ด วัดค่าความชื้นในดิน วัดค่าแก๊สคาร์บอนได้จริง

ปัญหาและอุปสรรค

1. มีความรู้ทางด้านการเขียนโปรแกรม Arduino ไม่มากนัก


2. อุปกรณ์หน้าจอแสดงผลขัดข้อง ทาให้ไม่สามารถใช้งานได้

แนวทางในการพัฒนาและประยุกต์ในร่วมกับงานอื่นๆในขั้นต่อไป

1. ปรับค่ารับสีได้มากขึ้นเพื่อที่จะสามารถคัดแยกชนิดเห็ดได้หลายชนิด
2. พัฒนาโครงสร้างให้ดูเรียบร้อยมากขึ้น
3. พัฒนาให้ปรับใช้กับการปลูกพืชชนิดอื่นได้หลากหลายขึ้น

ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ

สรุปผล

โครงงานระบบควบคุมปัจจัยต่างๆ ในฟาร์มเห็ด โดยใช้ Arduino ควบคุมอุปกรณ์โดยการเขียน


โปรแกรมสั่งการผ่านบอร์ด Arduino เพื่อลดแรงงาน และเวลาในการดูแลเห็ด โดยแสดงผลผ่าน
จอคอมพิวเตอร์หรือจอLCD ซึ่งผลปรากฏว่าสามารถใช้งานได้จริง ระบบดังกล่าวสามารถลดแรงงานและเวลา
ได้จริง
ข้อเสนอแนะ

1. ควรเผยแพร่ระบบดังกล่าวให้กับเกษตรกรที่สนใจ
2. นาไปประยุกต์หรือต่อยอดกับโครงงานอื่น
3. พัฒนาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
เอกสารอ้างอิง
บทความ Arduino คืออะไร
ลิงค์ http://www.thaieasyelec.com/article-wiki/basic-
electronics/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1-
arduino-
%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3-
%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%89%
E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99-
arduino.html

บทความ ภาษาซี
ลิงค์
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%8
B%E0%B8%B5

บทความ ระบบสมองกลฝังตัว
ลิงค์ https://morasweb.wordpress.com/2016/06/15/first-blog-post/

แบบจาลองผังวงจร

https://storage.circuito.io/index.html?solutionId=593d59af25b4560012d89c82
สถานที่ติดต่อของผู้พัฒนาและอาจารย์ที่ปรึกษา

ผู้จัดทาโครงงาน

1. นางสาวภัสราภรณ์ มิศิริ ระดับชั้น ม.4

e-mail : phat.npk@gmail.com โทรศัพท์ 091-0803077

2. นางสาวรินรดา สมัญกลาง ระดับชั้น ม.4

e-mail : linladda83@gmail.com โทรศัพท์ 094-5141923

3. นางสาวศุภรดา สิงห์ทอง ระดับชั้น ม.4

e-mail : bambi_hunhan@hotmail.com โทรศัพท์ 088-8611711

4. อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ณีรนุช สารกาล สอนวิชา คณิตสาสตร์

e-mail : nenut2523@gmail.com โทรศัพท์ 084-3528219


ภาคผนวก
ตัวอย่างโค้ดโปรแกรม

/* Arduino Color Sensing Tutorial


*
* by Dejan Nedelkovski, www.HowToMechatronics.com
*
*/

#define S0 4
#define S1 5
#define S2 6
#define S3 7
#define sensorOut 8
int Rvalul = 0;
int Gvalul = 0;
int Bvalul = 0;
int sensorSoilPin = A0; // select the input pin for the Soil Sensor
int sensorCarbonPin = A1; // select the input pin for the Carbon sensor
int soilValue = 0; // variable to store the value coming from the Soil sensor
int carbonValue = 0; // variable to store the value coming from the Soil sensor

void setup() {
pinMode(S0, OUTPUT);
pinMode(S1, OUTPUT);
pinMode(S2, OUTPUT);
pinMode(S3, OUTPUT);
pinMode(sensorOut, INPUT);

// Setting frequency-scaling to 20%


digitalWrite(S0,HIGH);
digitalWrite(S1,LOW);

Serial.begin(9600);
}
void loop() {
// Setting red filtered photodiodes to be read
digitalWrite(S2,LOW);
digitalWrite(S3,LOW);
// Reading the output frequency
Rvalul = pulseIn(sensorOut, LOW);
// Printing the value on the serial monitor
Serial.print("R= ");//printing name
Serial.print(Rvalul);//printing RED color frequency
Serial.print(" ");
delay(100);
// Setting Green filtered photodiodes to be read
digitalWrite(S2,HIGH);
digitalWrite(S3,HIGH);
// Reading the output frequency
Gvalul = pulseIn(sensorOut, LOW);
// Printing the value on the serial monitor
Serial.print("G= ");//printing name
Serial.print(Gvalul);//printing RED color frequency
Serial.print(" ");
delay(100);
// Setting Blue filtered photodiodes to be read
digitalWrite(S2,LOW);
digitalWrite(S3,HIGH);
// Reading the output frequency
Bvalul = pulseIn(sensorOut, LOW);
// Printing the value on the serial monitor
Serial.print("B= ");//printing name
Serial.print(Bvalul);//printing RED color frequency

// read the value from the Soil sensor:


soilValue = analogRead(sensorSoilPin);
Serial.print(" Soil : ");
Serial.print(soilValue);

// read the value from the Carebo sensor:


carbonValue = analogRead(sensorCarbonPin);
Serial.print(" Carbon : ");
Serial.print(carbonValue);

Serial.println(" ");
delay(100);
{if (Rvalul >= 900 && Rvalul<= 1220 && Gvalul >= 1000 && Gvalul<= 1400 && Bvalul
>=300 && Bvalul<= 400)
Serial.println (" Brown ");
else if (Rvalul >= 500 && Rvalul<= 700 && Gvalul >= 500 && Gvalul<= 600 && Bvalul
>=100 && Bvalul<= 200)
Serial.println (" White ");
}
}

You might also like