You are on page 1of 85

การปลูกผักไรดินแบบครบวงจรดวยระบบควบคุมอัตโนมัติผานระบบสมารทโฟน

Vegetable Hydroponics with Automation Control System via


Smartphone

นางสาววราภรณ ลือใจ
นายนธี ศรีจริยา
นายนัฐวุฒิ ไสยสุภีย

คณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
ศูนยพระนครศรีอยุธยา หันตรา
เงินกองทุนสงเสริมงานวิจยั ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564
เดือน กุมภาพันธ 2565
การปลูกผักไรดินแบบครบวงจรดวยระบบควบคุมอัตโนมัติผานระบบสมารทโฟน
Vegetable Hydroponics with Automation Control System via
Smartphone

นางสาววราภรณ ลือใจ
สาขาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร
นายนธี ศรีจริยา
สาขาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร
นายนัฐวุฒิ ไสยสุภีย
สาขาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร

คณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
ศูนยพระนครศรีอยุธยา หันตรา
เงินกองทุนสงเสริมงานวิจยั ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564
เดือน กุมภาพันธ 2565

ชื่อเรื่อง
การปลูกผักไร้ดินแบบครบวงจรด้วยระบบควบคุมอัตโนมัติผ่านระบบสมาร์ทโฟน
ผู้วิจัย นางสาววราภรณ์ ลือใจ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์
นายนธี ศรีจริยา สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์
นายนัฐวุฒิ ไสยสุภีย์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์
แหล่งทุน เงินกองทุนส่งเสริมงานวิจัย
พ.ศ. 2564

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้นำเสนอการศึกษาวิจัยเรื่องการปลูกผักไร้ดินแบบครบวงจรควบคุมด้วยระบบอัตโนมัติที่
ใช้โปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรลเลอร์ซึ่งเป็น ตัวควบคุมใช้ร่วมกับสัญญาณอินพุตและเอาต์พุตทางด้าน
ไฟฟ้า โดยสามารถสั่งงานหรือรับคำสั่งผ่านหน้าจอสัมผัสติดตั้งบริเวณหน้าตู้ควบคุมและระบบไร้สาย Wi-Fi
ด้วยสมาร์ทโฟนควบคู่กันมาประยุกต์ใช้ร่วมกับการออกแบบและสร้างชุดควบคุมอัตโนมัติของระบบการ
ปลูกผักไร้ดินโดยจะใช้การปลูกในระบบน้ำหมุนเวียนแบบตื้นแบบการจัดวางแนวตั้งเพื่อประหยัดพื้นที่ ซึ่งมี
การออกแบบเงื่อนไขโปรแกรมการควบคุมอัตโนมัติที่สำคัญ ได้แก่ การเลือกชนิดของผักที่ปลูก การให้
สารอาหารในน้ำ ระบบการเปลี่ยนน้ำ การควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ภายในโรงเรือน และการเฝ้า
สังเกตการเติบโตของผัก เป็นต้น การทดลองได้ทำในโรงเรือนขนาดกว้าง 2 × ยาว 2.5 × สูง 2 เมตรจำนวน
4 แปลง แปลงละ 40 หลุมโดยมีการแยกระบบน้ำหมุนเวียน พบว่า ผักสลัดทั้ง 4 ชนิด คือ กรีนโอค กรี
นคอสโรเมน กรีนปัตตาเวีย และบัตเตอร์เฮดที่ใช้ระยะเวลาปลูก 50 วันโดยมีการเจริญเติบโตเฉลี่ยน้ำหนัก
ต่อต้นประมาณ 150 กรัม และมีการใช้ไฟฟ้าต่อเดือนที่ 220.752 หน่วย คิดเป็น 717.333 บาท โดยคำนวณ
จากประเภทที่อยู่อาศัย อัตราปกติ ระบบสเปรย์ละอองน้ำจะทำงานอัตโนมัติเมื่ออุณหภูมิภายในสูงกว่า 35
องศาเซลเซียสหรือค่าความชื้นสัมพัทธ์น้อยกว่า 70% โดยแสดงข้อมูลและควบคุมผ่านหน้าจอสัมผัสและ
สมาร์ทโฟน เพื่อเป็นการประหยัดเวลา ลดต้นทุน เพิ่มคุณภาพและผลผลิตให้ เพียงพอต่อความต้องการ
บริโภค อีกทั้งยังสามารถดูประวัติย้อนหลังเพื่อนำไปปรับปรุงระบบให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

คำสำคัญ : การปลูกผักไร้ดิน ระบบอัตโนมัติ โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร์ หน้าจอสัมผัส สมาร์ทโฟน


Title Vegetable Hydroponics with Automation Control System via Smartphone


Researcher Ms. Waraporn Luejai, Department of Electrical Engineering, Faculty of
Engineering and Architecture
Mr. Nathee Sreejariya, Department of Electrical Engineering, Faculty of
Engineering and Architecture
Mr. Nuttawut Saiyasupee, Department of Electrical Engineering, Faculty of
Engineering and Architecture
Source of Fund Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi
Year 2021

Abstract

This research is present investigation of the vegetable hydroponics by controlled


using the programmable logic controller which is a control device used with electrical input
and output signals. It is used to automatically controlling or monitoring commands by
human machine interface installed in front of the control cabinet and smart phone via the
wi-fi network. The control unit design of the automatic hydroponics system is planted in a
recirculating water system with nutrient film technique that uses Vertical layout to save
space. The conditions of the automatic control program are created such as selecting
vegetables type, water nutrition, water change system, temperature and humidity control
in the greenhouse, monitoring the vegetable growth and etc. The experiment in the
greenhouse size 2 × length 2.5 × height 2 meters in in 4 plots and 40 wells per plot. The
experiment shown 4 type is green oak lettuce, cos romaine lettuce, green batavian lettuce
and green butterhead lettuce grows in 50 days. The average growth average weight of about
150 gram per plant and used electricity approximately 220.752 units or 717.333 baht per
month which is calculated from the type of housing, normal rate. The fogging system is
automated spray for internal temperature more than 28 oC or the humidity less than 70%.
The system can be monitored and controlled via human machine interface and smart
phone. The benefits of this system are saved time, reduced costs, increased quality and
productivity to needs of the consumption as well as monitor history to improve the system
to be more efficient.

Keywords: Vegetable hydroponic, Automatic control system, Programmable logic


controller, Human machine interface, Smart phone

กิตติกรรมประกาศ

รายงานวิจัยฉบับนี้สำเร็จได้ด้วยความช่วยเหลือ และอนุเคราะห์จากบุคคลหลายฝ่าย เริ่มจาก ผศ.


ดร. วารุณี ศรีสงคราม ที่ให้คำปรึกษาและแนวทางการทำวิจัยฯ ทำให้สามารถดำเนินการทำวิจัยได้อย่าง
สมบูรณ์ คุณประสิตา วงษ์สวรรค์ เจ้าของฟาร์มผักไฮโดโปรนิกส์ที่ให้ความรู้และสามารถเข้าไปศึกษาดูงาน
เช่น ลักษณะการปลูกผักไร้ดิน อุปกรณ์ที่ใช้ในการปลูกผัก พฤติกรรมของผักแต่ละชนิด เป็นต้น ซึ่งเป็น
แนวทางใน การดำเนินงานต่างๆ และบริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น จำกัด ที่ให้ความรู้
และเป็นที่ปรึกษาทางด้านการใช้งานโปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรลเลอร์และหน้าจอสัมผัส
ขอขอบพระคุณอย่างยิ่ง สถาบันวิจัยและพัฒนาที่พิจารณาให้ทุน เงินกองทุนส่ง เสริมงานวิจัย
ประจำปีง บประมาณ พ.ศ. 2564 และคณะวิศวกรรมศาสตร์แ ละสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลั ย
เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ที่อำนวยความสะดวกเรื่องต่าง ๆ จนทำให้สามารถดำเนินการออกแบบ
ประกอบ ติดตั้ง ทดสอบ ทดลอง และวิเคราะห์ผล ในตลอดระยะเวลาการทำวิจัยที่ผ่านมา จนเป็นผลสำเร็จ
ได้ด้วยดี

วราภรณ์ ลือใจ, นธี ศรีจริยา, นัฐวุฒิ ไสยสุภีย์


สารบัญ

หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย ก
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ข
กิตติกรรมประกาศ ค
สารบัญ ง
สารบัญตาราง ฉ
สารบัญภาพประกอบ ช
คำอธิบายสัญลักษณ์ ฎ
บทที่ 1 บทนำ 1
1.1 ความสำคัญและที่มาของปัญหา 1
1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1
1.3 ขอบเขตของการวิจัย 2
1.4 สมมุติฐานงานวิจัย 2
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4
2.1 ทฤษฎีบท 4
2.1.1 โปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทลเลอร์ 4
2.1.2 ชนิดของ PLC 6
2.1.3 ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม 7
2.1.4 เซนเซอร์ 9
2.1.5 ระบบเครือข่ายไร้สาย 15
2.1.6 ระบบควบคุมอัตโนมัติสำหรับโรงเรือนปลูกผักไร้ดิน 21
2.1.7 หน้าจอสัมผัส 24
2.1.8 ไฮโดรโปนิกส์ 26
2.1.9 ผักที่นิยมนำมาปลูกไฮโดโปรนิกส์ 27
2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องในประเทศ 32
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย 34
3.1 การวางแผนขั้นตอนการดำเนินงาน 34
3.2 ศึกษาและวางแผนการทำงาน 35

สารบัญ (ต่อ)

หน้า
3.3 ออกแบบการทดลอง 37
3.4 ลงมือทำสมาร์ทฟาร์มและระบบควบคุมภายในโรงเรือน 39
3.5 วิธีการใช้โปรแกรม GX work 3, GT Designer 3 เบื้องต้น 43
3.6 หลักการทำงานของโปรแกรมการควบคุมด้วยโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทลเลอร์ 49
3.7 การแสดงผลบนหน้าจอสัมผัสและสมาร์ทโฟน 52
3.8 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ 53
3.9 วิธีการทดลอง 54
บทที่ 4 ผลการทดลอง 55
4.1 ผลจากการเปรียบเทียบการเจริญเติบโต 55
4.2 ผลอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ของผักไฮโดโปรนิกส์ 60
4.3 ผลการประเมินค่าไฟฟ้า 62
4.4 ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับเกษตรกร 64
4.5 อภิปรายผล 65
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย 66
5.1 สรุปผลการวิจัย 66
5.2 ข้อเสนอแนะ 66
5.3 ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานวิจัย 67
บรรณานุกรม 68
ประวัติคณะผู้วิจัย 69

สารบัญตาราง

ตาราง หน้า
3.1 ตารางการวางแผนปฏิบัติงาน 35
3.2 รายละเอียดโครงสร้างชุดปลูกผักไร้ดินแบบครบวงจรด้วยระบบควบคุมอัติโนมัติ 53
ผ่านระบบสมาร์ทโฟน
4.1 เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผักกรีนคอสโรเมนนอกโรงเรือน 55
4.2 เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผักกรีนคอสโรเมนในโรงเรือน 56
4.3 เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผักกรีนโอ๊ตในโรงเรือน 57
4.4 เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผักปัตตาเวียในโรงเรือน 58
4.5 เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผักบัตเตอร์เฮตเขียวในโรงเรือน 59
4.6 แสดงผลการทดลองปลูกผักอายุ 7 วัน 60
4.7 แสดงผลการทดลองปลูกผักอายุ 15 วัน 60
4.8 แสดงผลการทดลองปลูกผักอายุ 30 วัน 61
4.9 แสดงผลการทดลองปลูกผักอายุ 50 วัน 61
4.10 การวัดค่าไฟโดยการใช้วัตต์มิเตอร์ 62
4.11 ค่าใช้จ่ายการดูแลผักไฮโดโปรนิกส์โดยใช้แรงงานคน 63
4.12 ค่าใช้จ่ายการดูแลผักไฮโดโปรนิกส์โดยใช้ระบบอัตโนมัติ 63

สารบัญภาพ

ภาพ หน้า
1.1 สมมุติฐานของชุดควบคุมอัตโนมัติสำหรับการปลูกผักไร้ดิน 2
2.1 หน่วยอินพุต 5
2.2 หน่วยเอาต์พุต 5
2.3 Block Type Plc 6
2.4 ชนิดโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทลเลอร์ แบบโมดูล 7
2.5 Ladder diagram 7
2.6 Function block diagram 8
2.7 Instruction list 8
2.8 Structure text 9
2.9 Sequential function chart 9
2.10 เซนเซอร์ด้านกายภาพ 10
2.11 เซนเซอร์ด้านเคมี 10
2.12 เซนเซอร์ทางชีวภาพ 11
2.13 เซนเซอร์แบบเอ็นพีเอ็น 11
2.14 เซนเซอร์แบบพีเอ็นพี 12
2.15 ลักษณะและการต่อวงจรของ RTD 12
2.16 เซนเซอร์วัดระดับ 13
2.17 เซนเซอร์วัดระดับ 13
2.18 Electrode Level Switch 13
2.19 Cable Float Level Switch 14
2.20 โครงสร้างภายในของ Capacitive และ Resitive Humidity Sensor 15
2.21 WPN 16
2.22 WLAN 16
2.23 WMAN 17
2.24 WWAN 17
2.25 เครือข่ายไร้สาย IEEE 802.11 18
2.26 เครือข่ายไร้สาย IEEE 802.11a 18
2.27 เครือข่ายไร้สาย IEEE 802.11b 19
2.28 เครือข่ายไร้สาย IEEE 802.11g 19
2.29 เครือข่ายไร้สาย IEEE 802.11e 20
2.30 เครือข่ายไร้สาย IEEE 802.11f 20
2.31 เครือข่ายไร้สาย IEEE 802.11h 21
2.32 ระบบการปลูกแบบ NFT 22

สารบัญภาพ (ต่อ)

ภาพ หน้า
2.33 ระบบการปลูกแบบ DFT 22
2.34 ระบบการปลูกแบบ DRFT 23
2.35 ระบบการปลูกแบบการปลูกพืชในวัสดุปลูก 23
2.36 ระบบการปลูกแบบระบบ Aeroponics 24
2.37 ระบบการปลูกแบบระบบไฮโดโปรนิกส์แบบให้อากาศ 24
2.38 หน้าจอสัมผัสแบบตัวต้านทาน 25
2.39 กรีนโอ๊ค 28
2.40 กรีนคอสโรเมน 29
2.41 บัตเตอร์เฮดเขียว 30
2.42 กรีนปัตตาเวีย 31
3.1 โรงเรือนเพาะปลูก 37
3.2 แปลงเพาะปลูก 37
3.3 รางเพาะปลูก 38
3.4 แทงค์เก็บน้ำ 38
3.5 ตู้ควบคุม 38
3.6 โรงเรือนที่ใช้คลุมรอบ ๆ ผักไฮโดโปรนิกส์ 39
3.7 ชั้นวางรองรับรางปลูกผักไฮโดโปรนิกส์ 39
3.8 รางใช้สำหรับปลูกผักไฮโดโปรนิกส์ 40
3.9 แทงค์น้ำใช้เก็บน้ำหล่อเลี้ยงผักไฮโดโปรนิกส์ 40
3.10 ปั๊มน้ำใช้สูบน้ำจากแทงค์ด้านล่างขึ้นไปเก็บแทงค์บนในโรงเรือน 40
3.11 เซนเซอร์ใช้ควบคุมระดับน้ำภายในแทงค์ในโรงเรือน 41
3.12 ตู้คอนโทรลใช้ในการสั่งการทำงานภายในโรงเรือน 41
3.13 หน้าจอทัชสกรีนใช้สั่งการให้ระบบทำงาน 41
3.14 ปั๊มใช้สำหรับดึงน้ำไปพ่นหมอกภายในโรงเรือนและชั้นวางผัก 42
3.15 หัวพ่นหมอกภายในโรงเรือน 42
3.16 หัวพ่นหมอกภายในชั้นวางผัก 42
3.17 การเข้าโปรแกรม GX Works3 43
3.18 เลือก Project > New 43
3.19 เลือก Series > FX5CPU Type FX5U Program Language > Ledder จากนั้น 44
กด OK
3.20 เลือก Series เริ่มทำการเขียนโปรแกรมได้ 44
3.21 เช็ค Series ของ GOT ที่เมนู Project New หรือ Toolbar 45
3.22 กด Next เลือก GOT Series และ GOT Type ตาม Hardware จริง 45
3.23 เลือก Manufacturer (Brand) และ Controller Type ตาม Hardware จริง 46

สารบัญภาพ (ต่อ)

ภาพ หน้า
3.24 (เฉพาะ GOT Hardware) กำหนด I/F (nterface) ที่ใช้ในการทำงาน 46
3.25 (เฉพาะ GOT Hardware) กำหนด GOT IP Address (Default : 192.68.3.18) 47
3.26 กำหนด Screen Switching Device Setting 47
3.27 กำหนดรูปแบบการแสดงเฉดสีของ GOT Screen 48
3.28 กด Finish 48
3.29 คำสั่งเริ่มต้นการทำงาน 49
3.30 คำสั่งการทำงานของเซนเซอร์วัดระดับน้ำ 49
3.31 คำสั่งควบคุมระดับน้ำ 49
3.32 คำสั่งเติมน้ำใส่แทงค์ พร้อมตัดการทำงานเมื่อน้ำเต็ม 50
3.33 คำสั่งนับระยะเวลาการปลูก 50
3.34 คำสั่งปล่อยน้ำก่อนเก็บเกี่ยว 7 วัน 50
3.35 คำสั่งเติมน้ำเปล่าเพื่อชะล้างสารพิษ 51
3.36 คำสั่งเมื่อครบระยะเวลาเก็บเกี่ยว 51
3.37 คำสั่งหยุดการทำงาน 51
3.38 คำสั่งการพ่นหมอก 51
3.39 คำสั่งเติมน้ำเข้าแทงค์บน 52
3.40 คำสั่งพ่นหมอก 52
3.41 คำสั่งปล่อยน้ำทิ้ง 52
3.42 คำสั่งปล่อยน้ำเข้าแทงค์ 52
3.43 หน้าจอสัมผัสแสดงผลและสั่งงาน 52
3.44 หน้าจอสัมผัสแสดงผลและสั่งงานผ่านระบบสมาร์ทโฟน 53
4.1 การถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับเจ้าของฟาร์มผักไฮโดโปรนิกส์ 64
4.2 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเจ้าของฟาร์มผักไฮโดโปรนิกส์ 65

คำอธิบายสัญลักษณ์

B = ธาตุโบรอน (Boron)
C = คาร์บอน (Carbon)
CCK = Complimentary Code Keying
Cl = ธาตุคลอรีน (Chlorine)
CO2 = คาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon Dioxide)
CPU = ตัวประมวลผล (Central Processing Unit)
DFT = Deep Flow Technique
DRFT = Dynamic Root Floating Technique
DSSS = Direct Sequence Spread Spectrum
EC = Electrical Conductivity
EEPROM = Electrically Erasable Programmable Read Only Memory
EPROM = Erasable Programmable Read-only Memory
FBD = Function Block Diagram
Fe = ธาตุเหล็ก (Iron)
H = ธาตุไฮโดรเจน (Hydrogen)
HMI = หน้าจอสัมผัส (Human Machine Interface)
H2 O = น้ำ
IAPP = Inter Access Point Protocol
IL = Instruction List
IOT = Internet of Thing
LD = Ladder Diagram
Mg = แมกนีเซียม (Magnesium)
Mn = ธาตุแมงกานีส (Manganese)
N = ธาตุไนโตรเจน (Nitrogen)
NFT = Nutrient Film Technique
O = ธาตุออกซิเจน (Oxygen)
OFDM = Orthogonal Frequency Division Multiplexing
PLC = โปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรลเลอร์ (Programmable Logic Controller)
QoS = Quality of Service
RAM = หน่วยความจำชั่วคราว (Random-access Memory)
ROM = หน่วยความจำถาวร (Read Only Memory)
SFC = Sequential Function Chart
ST = Structure Text
VoIP = Voice Over IP
WLAN = ระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Wireless Local Area Network)
WMAN = ระบบเครือข่ายสำหรับเมืองใหญ่ๆ (Wireless Metropolitan Area Network)

คำอธิบายสัญลักษณ์ (ต่อ)

WWAN = ระบบเครือขายไร้สายขนาดใหญ่สำหรับเมือง (Wireless Wide Area Network)


Zn = ธาตุสังกะสี (Zinc)
A = แอมเปร์ (Ampere)
cm = เซนติเมตร (Centimeter)
g = กรัม (Gram)
In = นิ้ว (Inch)
l = ลิตร (Liter)
m = เมตร (Metr)
mm = มิลลิเมตร (Millimetr)
ms/cm = มิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร (millisiemens per centimeter)
pF = Picofarad
V = โวลต์ (Voltage)
W = วัตต์ (Watt)
%RH = Percentage Relative Humidity
°C = Degree Celsius
บทที่ 1
บทนำ

1.1 ความสำคัญและที่มาของปญหา
เนื่องจากในประเทศไทยเรานั้นเปนประเทศที่เหมาะสมตอการเพาะปลูกและทำเกษตรกรรม ทำให
เราสามารถปลูกพืชเศรษฐกิจไดหลากหลายชนิด ทั้งพืชลมลุกและพืชสวน แตประเทศไทยยังเจอปญหา
หลายดาน เชน ผลผลิตที่ไมอยูในเกณฑมาตรฐาน เกษตรกรไมมีเวลาวางเนื่องจากตองดูแลพืชผักตลอดเวลา
และการปลูกพืชที่มีคุณภาพและใหผลผลิตสูง เปนตน ซึ่งในปจจุบันไดมีงานวิจัยทางดานเกษตรกรรม
มากมาย ทั้งการปรับปรุงชนิดของพืชใหเหมาะสมกับพื้นที่เพาะปลูก การนำเอาเทคโนโลยีทางดานฮารดแวร
และซอรฟ แวรเ ขา มาใชใหเกิดประโยชนกับงานเกษตรกรรม และเพื ่อเพิ่ม ผลผลิตและคุณภาพใหกับ
เกษตรกร ซึ่งเปนอาชีพหลักของประเทศไทยใหสูงขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งการปลูกพืชผักโดยไมใชดิน หรือ
การปลูกพืชไรดิน (Hydroponics) ซึ่งมีการปลูกพืชในน้ำที่มีธาตุอาหารพืชนั้นมีแนวโนมสูงขึ้นในประเทศ
ไทย และกำลังไดรับความนิยม เนื่องจากสามารถปลูกพืชไดในทุกสถานที่ ไมวาจะเปนการปลูกจำนวนนอย
เพื่อบริโภคในครัวเรือนหรือการปลูกเพื่อผลิตในเชิงธุรกิจ ซึ่งวิธีนี้เหมาะสมกับความตองการพืชผักในการ
บริโภคมากขึ้นแตสามารถใชพื้นที่เพาะปลูกนอย ในปจจุบ ันไดมีการทำเกษตรกรรมสมัยใหมที่เรียกวา
สมาร ท ฟาร ม คื อ การเกษตรที ่ น ำระบบเทคโนโลยี สื ่ อ คอมพิ ว เตอร อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส เซนเซอร
เทคโนโลยีชีวภาพ เขามาชวยในกระบวนการผลิตหรือกระบวนการเพาะปลูก โดยเนนการประยุกตใชระบบ
อัตโนมัติ ซึ่งการเพาะปลูกในปจจุบันนั้นจะเนนที่การใชคนงานหรือแรงงานในการเพาะปลูกเปนสวนใหญ
ดังนั้นทางผูวิจัยไดมีแนวคิดการนำระบบสมารทฟารมและตัวควบคุมแบบโปรแกรมเมเบิ้ลลอจิก
คอนโทรเลอร (PLC) มาประยุกตใชรวมกัน เปนตัวควบคุมที่ใชรวมกับอุปกรณอินพุตและเอาตพุตทางดาน
ไฟฟาโดยสามารถสั่งงานหรือรับคำสั่งอัตโนมัติผานทางสมารทโฟน มาใชในการดูแลการปลูกผักไฮโดรโปร
นิกส เชน กำหนดระยะเวลาการปลูก เลือกชนิดของผัก การใหสารอาหารในน้ำ การเปลี่ยนน้ำ เปนตน เพื่อ
เปนการประหยัดเวลาของเกษตรกร เพิ่มคุณภาพของผักและเพิ่มผลผลิตใหเพียงพอตอความตองการบริโภค

1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย
1. เพื่อใหไดชุดควบคุมอัตโนมัตสิ ำหรับการปลูกผักไรดิน
2. เพื่อพัฒนาการควบคุมการปลูกผักไรดินแบบอัตโนมัติโดยใชสมารทโฟน
2

1.3 ขอบเขตของการวิจัย
1. ปลูกผักไฮโดรโปรนิกสตนแบบอยางนอย 4 ชนิด ไดแก กรีนโอค กรีนคอสโรเมน กรีนปตตาเวียและ
บัตเตอรเฮด
2. ชุดควบคุมการปลุดผักไรดินอัตโนมัติโดยใชพีแอลซีและสามารถสั่งงานพรอมทั้งดูขอมูลที่เกี่ยวของ
ไดจากสมารทโฟน

1.4 สมมุติฐานงานวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ไดตั้งสมมุติฐานในการวิจัยดังนี้
การสรางชุดควบคุมอัตโนมัติสำหรับการปลูกผักไรดินแบบครบวงจรเพื่อใชในโรงเรือนปลูกผักไรดิน
ที่มีการควบคุมตัวแปรที่เกี่ยวของกับการเจริญเติบโตของผัก เชน การควบคุมคา pH การควบคุมความ
เขมขนของธาตุอาหาร อัตราการไหลเวียนของสารละลาย อุณหภูมิของสารละลาย อุณหภูมิของของ
สภาพแวดลอมภายในโรงเรือน เปนตน โดยศึกษาพฤติกรรมการเจริญเติบโตของผักไรดินที่ไมมีระบบ
อัตโนมัติเปรียบเทียบ สวนในระบบอัตโนมัติจะมีการสั่งงานผานระบบสมารทโฟนและหนาจอสัมผัสที่มีการ
เชื่อมโยงโดยใชระบบอินเตอรเน็ตไรสาย โดยมีการบันทึกขอมูลที่สำคัญ มีการแจงเตือนเมื่อระบบเกิดปญหา
และมีระบบแจงเมื่อผักถึงระยะเวลาการเก็บเกี่ยวเพื่อประหยัดแรงงานคน สวนการแสดงผลมีแนวคิดติดตั้ง
ระบบกลองวงจรปดเพื่อดูการเจริญเติบโตของผักไดดังรูป

ภาพที่ 1.1 สมมุติฐานของชุดควบคุมอัตโนมัติสำหรับการปลูกผักไรดิน

ผลสัมฤทธิ์ตอการปลูกพืชผักไรดินดวยระบบควบคุมอัตโนมัติโดยใชพีแอลซี ซึ่งใชโปรแกรม GX
Work 3 ในการออกแบบโปรแกรมควบคุม และโปรแกรม GT Designer 3 เชื่อมกับหนาจอสัมผัสในการ
สั่งงานและดูแลพืชผักภายในฟารม แทนการใชคนในการดูแลอุปกรณที่ใชสรางการปลูกพืชผักดวยระบบ
ควบคุมอัตโนมัติประกอบดวยพีแอลซี เซนเซอรวัดระดับน้ำ วาลวไฟฟา แหลงจายไฟฟากระแสตรง หนาจอ
สั่งการโดยใชหนาจอสัมผัส เปนตน
3

1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. ไดโปรแกรมควบคุมดวยพีแอลซีในการดูแลพืชผักดวยระบบควบคุมอัตโนมัติ
2. ไดชุดการปลูกผักอัตโนมัติตนแบบที่ทันสมัย และราคาคุมทุน
3. ไดขอมูลยอนหลังที่มีการบันทึกไวเพื่อนำมาปรับปรุงใหเหมาะสม
4

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

2.1 ทฤษฎีบท
2.1.1 โปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทลเลอร
โปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอลโทรลเลอร (Programmable Logic Controller: PLC) หมายถึง สิ่งที่ใช
ควบคุมอุปกรณเครื่องจักรตาง ๆ โดยผานสิ่งที่เรียกวา อินพุต - เอาตพุต ซึ่งเปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่
ภายในประกอบไปดวยหนวยความจำ ที่สามารถสั่งงานไดดวยโปรแกรม
2.1.1.1 โครงสรางของโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร
ก) ตัวประมวลผล (Central Processing Unit: CPU) ทำหนาที่คำนวณเเละประมวลผล
เปรียบเสมือนสมองของโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร ภายในตัวประมวลผลประกอบดวยวงจรลอจิกและมี
ไมโครโปรเซสเซอรเบส (Micro Processor Based) ใชแทนอุปกรณจำพวกรีเลย เคานเตอรไทมเมอร เพื่อให
ผูใชสามารถออกแบบวงจรโดยใชรีเลยและแลดเดอรไดอะแกรมได หนวยประมวลผลกลางจะรับขอมูลจาก
อุปกรณอินพุตตาง ๆ หลังจากนั้นจะทำการประมวลผลและเก็บขอมูลโดยใชโปรแกรมจากหนวยความจำ
หลังจากนั้นจะสงขอมูลไปยังอุปกรณเอาตพุต
ข) หนวยความจำ (Memory Unit) ทำหนาที่เก็บโปรแกรมและขอมูลที่ใชในการทำงาน
โดยขนาดของหนวยความจำจะถูกแบงออกเปนบิตขอมูล (Data Bit) ภายในหนวยความจำ 1 บิต จะมีคา
สภาวะทางลอจิก 0 หรือ 1 แตกตางกันแลวแตคำสั่ง ซึ่งโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร ประกอบดวย
หนวยความจำ 2 ชนิด คือ
- หนวยความจำชั่วคราว (Random-Access Memory: RAM) ทำหนาที่เก็บโปรแกรม
ของผูใชและขอมูลที่ใชในการทำงานของโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร หนวยความจำชั่วคราวประเภทนี้
จะมีแบตเตอรี่เล็ก ๆ ตอไวเพื่อใชเปนไฟเลี้ยงสำหรับขอมูลเมื่อเกิดไฟดับ การอานและการเขียนขอมูลลงใน
หนวยความจำชั่วคราวทำไดงายมากดังนั้นนั้นจึงเหมาะกับงานที่มีการเปลี่ยนแปลงแกไขโปรแกรมอยูบอย ๆ
- หนวยความจำถาวร (Read Only Memory: ROM) ทำหนาที่เก็บโปรแกรมสำหรับ
ใชในการทำงานของโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอรตามโปรแกรมของผูใช หนวยความจำถาวรยังสามารถ
แบงไดเปน หนวยความจำอานอยางเดียว (Erasable Programmable Read-only Memory: EPROM)
ผู  ใ ช ง าน (Electrically Erasable Programmable Read only Memory : EEPROM) หน ว ยความจำ
ประเภทนี้ผูใชงานสามารถเขียนและลบโปรแกรมได สามารถใชงานไดเหมือนกับความจำชั่วคราวแตไมตอง
ใชแบตเตอรี่สำรองแตราคาจะแพงกวาเนื่องจากรวมคุณสมบัติของความจำถาวรและความจำชั่วคราวไว
2.1.1.2 หนวยอินพุต - เอาตพุต (Input - Output Unit)
ก) หนวยอินพุต ทำหนาที่รับสัญญาณจากอุปกรณภายนอกแลวแปลงสัญญาณใหเปน
สัญญาณที่เหมาะสมแลวสงใหหนวยประมวลผลตอไป
5

ภาพที่ 2.1 หนวยอินพุต


ที่มา : http://www.star-circuit.com/article/PLC.html, 2563

ข) หนวยเอาตพุต ทำหนาที่รับขอมูลจากตัวประมวลผลแลวสงตอขอมูลไปควบคุมยัง
อุปกรณภายนอก เชน ควบคุมหลอดไฟ มอเตอร และวาลว เปนตน

ภาพที่ 2.2 หนวยเอาตพุต


ที่มา : http://www.star-circuit.com/article/PLC.html, 2563

2.1.1.3 แหลงจายไฟ (Power Supply) ทำหนาที่จายพลังงานและรักษาระดับแรงดันไฟฟา


กระแสตรงใหกับหนวยประมวลผลกลาง หนวยความจำ และหนวยอินพุต/เอาตพุต
6

2.1.2 ชนิดของ PLC


2.1.2.1 ชนิดบล็อก (Block Type PLC) โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอรประเภทนี้จะรวม
สวนประกอบทั้งหมดของโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอรอยูในบล็อกเดียวกัน

ภาพที่ 2.3 Block Type ของ PLC


ที่มา : http://www.star-circuit.com/PLC.html, 2563

ก) ขอดี
- มีขนาดเล็กสามารถติดตั้งไดงายจึงเหมาะกับงานควบคุมขนาดเล็ก ๆ
- สามารถใชงานแทนวงจรรีเลยได
- มีฟงกชันพิเศษ เชน ฟงกชันทางคณิตศาสตรและฟงกชันอื่น ๆ
ข) ขอเสีย
- การเพิ ่ ม จำนวนอิ น พุต เอาตพ ุต สามารถเพิ ่ ม ได น อ ยกวา โปรแกรมเมเบิ้ ล
คอนโทรลเลอรชนิดโมดูล
- เมื่ออินพุต เอาตพุตเสียจุดใดจุดหนึ่งตองนำโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร
ออกไปทั้งชุดทำใหระบบตองหยุดทำงานชั่วระยะเวลาหนึ่ง
- ฟงกชันใหเลือกใชงานนอยกวาโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอรชนิดโมดูล
2.1.2.2 ชนิดโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอรแบบโมดูล (Modular Type PLCs) หรือแร็ก (Rack
Type PLC) โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอรชนิดนี้ สวนประกอบแตละสวนสามารถแยกออกจากกันเปน
โมดูล (Modules) เชน ภาคอินพุต เอาตพุต จะอยูในสวนของโมดูลอินพุต เอาตพุต (Input/Output Units)
ซึ่งสามารถเลือกใชงานไดวาจะใชโมดูลขนาดกี่อินพุต เอาตพุต ซึ่งมีใหเลือกใชงานหลายรูปแบบ อาจจะใช
เปนอินพุตอยางเดียวขนาด 8/16 จุด หรือเปนเอาตพุตอยางเดียวขนาด 4/8/12/16 จุด ขึ้นอยูกับรุนของ
โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอรดวย
7

ภาพที่ 2.4 ชนิดโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร แบบโมดูล


ที่มา : http://www.star-circuit.com/PLC.html, 2563

ก) ขอดี
- เพิ่มขยายระบบไดงายโดยติดตั้งโมดูลตาง ๆ ที่ตองการใชงาน
- สามารถขยายจำนวนอินพุต/เอาตพุตไดมากกวาแบบ Block Type
- อุปกรณอินพุต/เอาตพุตเสียจุดใดจุดหนึ่ง สามารถถอดเฉพาะโมดูลนั้นไปซอม
ทำใหระบบสามารถทำการตอได
- มียูนิตและรูปแบบการติดตอสื่อสารใหเลือกใชงานมากกวาแบบ Block Type
ข) ขอเสีย
- ราคาแพงเมื่อเทียบกับโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอรชนิดบล็อก

2.1.3 ภาษาที่ใชในการเขียนโปรแกรม
2.1.3.1 แลดเดอรไดอะแกรม (Ladder Diagram: LD) จะเปนภาษาที่เขียนอยูในรูปของ
กราฟฟก ซึ่งมีพื้นฐานมาจากวงจรควบคุมแบบรีเลยและวงจรไฟฟา ซึ่งแลดเดอรไดอะแกรมจะประกอบดวย
ราง (Rail) ทั้งซายและขวาของไดอะแกรม เพื่อใชสำหรับเชื่อมตออุปกรณที่เปนสวิตชหนาสัมผัส เพื่อเปน
ทางผานของกระแส และมีขดลวด หรือคอยล เปนเอาตพุต

ภาพที่ 2.5 Ladder Diagram


ที่มา : http://www.star-circuit.com/PLC.html, 2563
8

2.1.3.2 ฟงกชันบล็อกไดอะแกรม (Function Block Diagram: FBD) เปนภาษาที่แสดงฟงกชัน


การทำงานในรูปของกราฟกเชนเดียวกัน และเชื่อมตอกันเปนโครงขาย โดยการเขียนโปรแกรมในรูปของ
ฟงกชันบล็อคไดอะแกรม จะมีพื้นฐานมาจาก ลอจิกไดอะแกรม

ภาพที่ 2.6 Function Block Biagram


ที่มา : http://www.circuit.com/PLC.html, 2563

2.1.3.3 Instruction List (IL) เปนภาษาที่เขียนอยูในรูปของขอความ และมีลักษณะคลายกับ


ภาษาแอสเซมบลี้ (Assembly) และภาษาเครื่อง (Machine Code) ซึ่งภายในหนึ่งคำสั่งจะประกอบดวยสวน
ปฏิบัติการ (Operator) และสวนที่ถูกดำเนินการ (Operand)

ภาพที่ 2.7 Instruction List


ที่มา : http://mechatronnic2day.blogspot.com.html, 2563

2.1.3.4 Structure Text (ST) เปนภาษาในระดับสูง โดยมีพื้นฐานมาจากภาษา Pascal


ซึ่งจะประกอบไปดวยนิพจนและคำสั่ง โดยคำสั่งทั่วไปจะอยูในรูปของคำสั่งเกี่ยวกับการเลือกทำงาน เชน IF
THEN ELSE เปนตน คำสั่งเกี่ยวกับการทำงานซ้ำ เชน FOR WHILE เปนตน
9

ภาพที่ 2.8 Structure Text


ที่มา : http://mechatronnic2day.blogspot.com.html, 2563

2.1.3.5 Sequential Function Chart (SFC) เปนภาษาที่รองรับการเขียนโปรแกรมที่มีการ


ทำงานเปนแบบซีเควนซ ซึ่งสวนประกอบของ SFC จะประกอบดวยสเต็ป (คำสั่งในการปฏิบัติการในแตละ
ขั้นตอน) และการเปลี่ยนแปลง (เงื่อนไขที่กำหนดใหกระทำคำสั่งในแตละขั้น) นอกจากนี้ยังสามารถกำหนด
ลักษณะการทำงาน เชน Alternative Step Sequence และ Parallel Step Sequence เปนตน

ภาพที่ 2.9 Sequential Function Chart


ที่มา : http://mechatronnic2day.com, 2563
10

2.1.4 เซนเซอร
2.1.4.1 เซนเซอรดานกายภาพ (Hysical Sensor) เซนเซอรที่ใชในการตรวจวัดคุณสมบัติทาง
กายภาพตาง ๆ เปนเซนเซอรที่ใชเซลลพิเศษที่มีความไวตอแสง การเคลื่อนไหว อุณหภูมิ สนามแมเหล็ก แรง
โนมถวง ความชื้น การสั่นสะเทือน แรงดัน สนามไฟฟา เสียง และลักษณะทางกายภาพอื่น ๆ ของ
สภาพแวดลอมภายนอก ภายใน เชน แรงยืด การเคลื่อนไหวของอวัยวะ รวมทั้งสารพิษ สารอาหาร และ
สภาพแวดลอมการเผาผลาญภายใน เชน ระดับน้ำตาล ระดับออกซิเจน ฮอรโมน เปนตน

ภาพที่ 2.10 เซนเซอรดานกายภาพ


ที่มา : https://physical-control-and-sensors, 2563

2.1.4.2 เซนเซอรดานเคมี (Chemical Sensor) เซนเซอรที่ใชในการตรวจวัดสารเคมีตาง ๆ โดย


อาศัยปฏิกิริยาจำเพาะทางเคมี และมีการแปลงเปนขอมูลหรือสัญญาณที่สามารถอานวิเคราะหได เชน
เซนเซอรตรวจวัดสารเคมีปนเปอนในสิ่งแวดลอม หรือดินและน้ำ และอุปกรณในการตรวจวิเคราะหทดสอบ
วาสัมพันธกันอยางไร

ภาพที่ 2.11 เซนเซอรดานเคมี


ที่มา : https://www.sangchaimeter.com, 2563

2.1.4.3 เซนเซอรทางชีวภาพ (Biosensor) มีหนาที่ตรวจวัดสารที่ตองการโดยใชสารชีวภาพเชน


เอนไซม แอนติบอดี กรดนิวคลีอิก ดีเอ็นเอ ที่มีความจำเพาะเจาะจงตอสารที่ตองการตรวจวัด เมื่อ
สารชีวภาพจับกับสารที่ตองการตรวจวัดจะทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่มีลักษณะเฉพาะ เชน เกิดไอออน
11

อิเล็กตรอน ความชื้น ออกซิเจน ความรอน สี เปนตน ภายในเซนเซอรจะมีทรานดักเซอร ทำหนาที่แปลง


ลักษณะเฉพาะเหลานี้เปนสัญญาณไฟฟา เซนเซอรทางชีวภาพสามารถแบงตามหลักการทำงานได 2 กลุม
1) เซนเซอรที่ตรวจวัดโดยตรงและวัดปริมาณการเปลี่ยนแปลงจากสารชีวภาพโดยตรง
ซึ่งจะสัมพันธกับปริมาณสารที่ตองการตรวจวัด
2) เซนเซอรที่ตรวจวัดปฏิกิริยาของสารชีวภาพทางออม โดยวัดคาจากสารที่เกิดขึ้นจาก
ปฏิกิริยาระหวางสารชีวภาพกับสารที่ตองการตรวจวัด เมื่อตรวจพบสัญญาณของสารนั้น สัญญาณที่ไดจะ
แปรตามปริมาณสารที่ตองการตรวจวัด

ภาพที่ 2.12 เซนเซอรทางชีวภาพ


ที่มา : University of Missouri, 2563

2.1.4.4 เซนเซอรแบบเอ็นพีเอ็นและพีเอ็นพี เนื่องจากเซนเซอรที่ใชงานนั้นเปนดิจิตอลเอาตพุต


แบบทรานซิสเตอร (Transistor) 3 สาย ซึ่งทรานซิสเตอรสามารถเเบงตามโครงสรางได 2 ประเภทคือเอ็นพี
เอ็นและพีเอ็นพี บางครั้งจะเรียก พีเอ็นพี วาเปน Positive Logic และเรียก เอ็นพีเอ็น วา Negative Logic
เอ็นพีเอ็นถามองในแบบไฟฟาจะใหเอาตพุตออกมาเปนลบ (-) เรียกอีกอยางวาซิงค ตองตอ (+) รอที่โหลด
หรือคอมมอนโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร

รูปที่ 2.13 เซนเซอรแบบเอ็นพีเอ็น


ที่มา : https://mall.factomart.com, 2563
12

พีเอ็นพีถามองในแบบไฟฟาจะใหเอาตพุตออกมาเปนบวก (+) เรียกอีกอยางวา ซอรส ตองตอ (-) รอทีโ่ หลด


หรือคอมมอนโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร

ภาพที่ 2.14 เซนเซอรแบบพีเอ็นพี


ที่มา : https://mall.factomart.com, 2563

2.1.4.5 เซนเซอรวัดอุณหภูมิแบบความตานทาน (Resistance Temperature Detector: RTD)


เซนเซอรอุณหภูมิใชหลักการเปลี่ยนแปลงคาความตานทานของโลหะ ซึ่งคาความตานทานดังกลาวจะมีคา
เพิ่มตามอุณหภูมิ นิยมนำไปใชในการวัดอุณหภูมิในชวง -270 to 850 °C วัสดุทนี่ ำมาใชจะเปนโลหะที่มี
ความตานทานจำเพาะต่ำ เชน แพลทินัม ทังสเตน และนิกเกิล เปนตน

ภาพที่ 2.15 ลักษณะและการตอวงจรของ RTD


ที่มา : https://factomart.com, 2563

2.1.4.6 เซนเซอรวัดระดับ (Level Sensor) เซนเซอรที่ทำหนาที่ในการตรวจจับระดับของวัตถุที่


มีลักษณะเปนของแข็งหรือของเหลวที่อยูในภาชนะ ทั้งที่เปนระบบเปดและที่เปนระบบปด เพื่อตองการรู
ตำแหนงหรือระดับของวัสดุที่อยูภายใน ซึ่งจะทำงานไดงายกวาในกรณีที่ใชกับภาชนะบรรจุที่มีขนาดใหญ
เชน ถังเก็บอาหารสัตว ถังเก็บน้ำดิบ เปนตน
13

ภาพที่ 2.16 เซ็นเซอรวัดระดับ


ที่มา : https://www.arduinothai.com, 2563

2.1.4.7 สวิตชลูกลอยตรวจจับระดับของเหลว (Level Switch) ลูกลอยวัดระดับแบบแกน


สแตนเลส วัดระดับของเหลว เชน น้ำ น้ำมัน โดยอาศัยแม็กเน็ตสวิตชเปลี่ยนแปลงสถานะของหนาคอนแทค
NO NC เมื่อลูกลอยเคลื่อนที่ขึ้น - ลง ตามระดับของเหลว มีทั้งแบบติดตั้งดานบนและดานขางถัง

ภาพที่ 2.17 เซ็นเซอรวัดระดับ


ที่มา : https://www.primusthai.com, 2563

2.1.4.8 อุปกรณวัดระดับแบบกานอีเล็กโทรด (Electrode Level Switch) เปนเซนเซอรที่ใชกับ


ของเหลวที่นําไฟฟาไดเทานั้น และไมสามารถใชกับน้ำบริสุทธิ์ (RO) หรือน้ำมันที่มีสถานะเปนไฮโดรคารบอน
ได โดยตอใชงานรวมกับอุปกรณควบคุมระดับ (Level Control) เพื่อควบคุมระดับ
14

ภาพที่ 2.18 Electrode Level Switch


ที่มา : https://www.primusthai.com, 2563
2.1.4.9 ลูกลอยวัดระดับแบบสายเคเบิ้ล (Cable Float Level Switch) ใชหยอนลงไปในถังหรือ
บอบําบัดน้ำเสียเพื่อตรวจระดับน้ำและควบคุมใหอยูในตำแหนงสูงหรือต่ำตามตองการ เมื่อน้ำมีระดับสูงขึ้น
ลูกลอยจะอยูในลักษณะแนวนอน ทำใหสวิตชอยูในตำแหนง OFF แตถาน้ำอยูในระดับต่ำลูกลอยจะอยูใน
ลักษณะแนวตั้ง ทำใหสวิตชอยูในตำแหนง ON และสวิตชที่อยูภายในลูกลอยเปนแบบสวิตชปรอท ทำใหมี
อายุการใชงานที่ยาวนาน

ภาพที่ 2.19 Cable Float Level Switch


ที่มา : https://www.primusthai.com, 2563

2.1.4.10 เซ็นเซอรวัดความชื้น (Humidity Sensor) เปนอุปกรณที่ใชสำหรับวัดคาความชื้นโดย


ความชื้นนี้มาจากความชื้นสัมพันธ (Relative Humidity หรือ RH) ซึ่งความชื้นสัมพันธหมายถึง “อัตราสวน
ของปริมาณไอน้ำที่มีอยูจริงในอากาศตอปริมาณไอน้ำที่จะทำใหอากาศอิ่มตัว ณ อุณหภูมิเดียวกัน”หรือ
“อัตราสวนของความดันไอน้ำที่มีอยูจริงตอความดันไอน้ำอิ่มตัว” ซึ่งคาความชื้นสัมพันธจะแสดงในรูปของ
รอยละ (%) มีหนวยเปน %RH โดยทั่วไปแลว Humidity Sensor จะสามารถวัดคาความชื้นสัมพันธได
ในชวงระหวาง 10-90 %RH เซ็นเซอรวัดความชื้นหรือเครื่องวัดความชื้นที่มีใชกันในงานอุตสาหกรรมนั้นจะ
มีหลักการทำงานดวยกัน 3 แบบ คือ
15

1) Capacitive Humidity Sensor เซนเซอรแบบนี้มีโครงสรางภายในที่ประกอบไปดวยชั้น


ฐานแผนฟลมบางที่ทำจากโพลีเมอรหรือเมทัลออกไซด (Metal Oxide) จะถูกวางอยูระหวางแผนอิเล็กโตรด
ทั้งสอง โดยพื้นผิวของฟลมบางจะถูกเคลือบดวยแผนอิเล็กโตรดโลหะแบบมีรูพรุนเพื่อปองกันฝุนละอองและ
ปญหาจากแสงแดด โดยคาความชื้นจะทำใหเปลี่ยนแปลงคา Dielectric Constant คาคงที่ของไดอิเล็กทริก
ซึ่งก็คือฉนวน ทำใหเกิดการผันผวนของคาความตานทานที่ Substrate ที่เปนสารตัวนำ โดยเมื่อคาความชื้น
สัมพัทธเปลี่ยนไป 1 เปอรเซ็นต คาความจุไฟฟา (Capacitive) ก็จะเปลี่ยนไป 0.2 ถึง 0.5 pF ซึ่งเซ็นเซอร
แบบนี้มักนิยมใชงานกันอยางกวางขวางในอุตสาหกรรม
2) Resistive Humidity Sensor โครงสรางภายในจะประกอบดวยอิเล็กโตรดโลหะ 2 สวน
วางอยูบนฐาน (Substrate) โดยตัวฐานนั้นจะถูกเคลือบดวยเกลือหรือโพลีเมอร (Conductive Polymer)
หลักการทำงานของเซ็นเซอรชนิดนี้คือจะใชการวัดจากการเปลี่ยนคาอิมพลีแดนซของวัสดุดูดความชื้น เมื่อ
เซ็นเซอรดูดซับไอน้ำและไออนแตกตัวทำใหคาความนำไฟฟาของตัวกลางเพิ่มขึ้น ความตานทานเปลี่ยนไป
ตามความชื้นทำใหเกิดกระแสไฟไหลในวงจร กระแสไฟฟานี้จะถูกแปลงเปนแรงดันไฟฟากระแสตรงเพื่อสง
ตอไปยังวงจรตาง ๆ ตอไป

ภาพที่ 2.20 โครงสรางภายในของ Capacitive และ Resistive Humidity Sensor


ที่มา : http://machinedesign.com/news/sensor-sense-humidity-sensors, 2564

3) Thermal Conductivity Humidity Sensor เปนเซ็นเซอรที่ใชวัดความชื้นสัมบูรณ


(Absolute Humidity) จะอาศัยการคำนวณความแตกตางระหวางคาการนำความรอนของอากาศแหงกับ
อากาศที่มีไอน้ำ โครงสรางภายในจะประกอบไปดวย เทอรมิสเตอรจำนวน 2 ตัว ตออยูในวงจรบริดจโดย
เทอรมิสเตอรตัวหนึ่งจะบรรจุอยูในแคปซูลที่มีกาซไนโตรเจนและเทอรมิสเตอร อีกตัวหนึ่งจะถูกวางอยูใน
บรรยากาศ กระแสไฟฟาจะถูกสงผานเทอรมิสเตอรทั้งสองทำใหเกิดความรอนสูงขึ้นในตัวเทอรมิสเตอรและ
ความรอนที่กระจายออกจากเทอรมิสเตอรในแคปซูลจะมากกวาเทอรมิสเตอรที่อยูในบรรยากาศ อุณหภูมิที่
มีความแตกตางกันนี้ เปนความแตกตางของการนำความรอนของไอน้ำเทียบเก็บไนไตรเจนแหงและทำให
ความแตกตางคาความตานทานของเทอรมิสเตอรเปนสัดสวนโดยตรงกับความชื้นสมบูรณ
16

2.1.5 ระบบเครือขายไรสาย (Wireless Network) หมายถึง เทคโนโลยีในการติดตอสื่อสารระหวาง


เครื่องคอมพิวเตอร 2 เครื่องหรือกลุมของเครื่องคอมพิวเตอร รวมถึงการติดตอสื่อสารระหวางเครื่อง
คอมพิวเตอรกับอุปกรณเครือขาย ซึ่งการสื่อสารรูปแบบนีจ้ ะไมใชสายสัญญาณ (LAN) ในการเชื่อมตอ แตจะ
ใชคลื่นวิทยุหรือคลื่นอินฟาเรดในการรับสงขอมูลแทน
2.1.5.1 เครือขายไรสาย
1) เครือขายไรสายระยะบุคคล (Wireless Personal Area Network: WPAN) เปนระบบ
เครือขายไรสายสวนบุคคล ปจจุบันมีอยูสองระบบที่รองรับการทำงานสวนบุคคล คือ IR (Infrared) และ
Bluetooth การทำงานจะครอบคลุมบริเวณการสื่อสารที่คอนขางจำกัด เชน อินฟาเรด ระยะประมาณไม
เกิน 3 เมตร และบลูทูธ ระยะไมเกิน 10 เมตร เปนตน

ภาพที่ 2.21 WPN


ที่มา : https:// rabb-kherux-khay-ri-say-wireless-network, 2563

2) ระบบเครือขายทองถิ่น (Wireless Local Area Network: WLAN) เปนระบบเครือขาย


ทองถิ่นที่ใชงานในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งในระยะใกล ภายในหนวยงานหรืออาคารเดียวกัน เชน สำนักงาน บริษัท
หรือสถานที่จัดนิทรรศการ เปนตน
17

ภาพที่ 2.22 WLAN


ทีม่ า : https://rabb-kherux-khay-ri-say-wireless-network, 2563

3) ระบบเครือขายสำหรับเมืองใหญ (Wireless Metropolitan Area Network: WMAN)


เปนระบบเครือขายสำหรับเมืองใหญ ๆ มีระบบเครือขายที่หลากหลาย ใชเชื่อมตอสื่อสารกันระหวางอาคาร
ตาง ๆ ภายในเมือง

ภาพที่ 2.23 WMAN


ที่มา : https:// rabb-kherux-khay-ri-say-wireless-network, 2563

4) ระบบเครือขายไรสายขนาดใหญสำหรับเมือง (Wireless Wide Area Network:


WWAN) เปนระบบเครือขายไรสายขนาดใหญสำหรับเมืองหรือประเทศซึ่งมักมีการใชงานผานดาวเทียมขาม
ประเทศ
18

ภาพที่ 2.24 WWAN


ที่มา : https:// rabb-kherux-khay-ri-say-wireless-network, 2563

2.1.5.2 มาตรฐานของการสงสัญญาณของเครือขายไรสาย
1) มาตรฐานเครือขายไรสาย IEEE 802.11 เครือขายไรสายมาตรฐาน IEEE 802.11 มี
ขอกำหนดระบุไววา มีความสามารถในการรับสงขอมูลที่ความเร็ว 1 2 5.5 11 และ 54 เมกะบิตตอวินาทีโดย
มีสื่อนำสัญญาณ 3 ประเภทใหเลือกใชงานไดแก คลื่นวิทยุยานความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ 2.5 กิกะเฮิรตซและ
คลื่นอินฟาเรด

ภาพที่ 2.25 เครือขายไรสาย IEEE 802.11


ที่มา : https:// wireless-network, 2563

2) เครือขายไรสาย IEEE 802.11a เปนมาตรฐานที่ใชเทคโนโลยี (Orthogonal


Frequency Division Multiplexing: OFDM) เพื่อพัฒนาใหเครือขายไรสายมีความสามารถในการรับสง
ขอมูลดวยอัตราความเร็วสูงสุด 54 เมกะบิตตอวินาที โดยใชคลื่นวิทยุยานความถี่ 5 กิกะเฮิรตซ ซึ่งเปนยาน
ความถี่ที่ไมไดรับอนุญาตใหใชงานโดยทั่วไปในประเทศไทย ขอเสียของเครือขายไรสายมาตรฐาน IEEE
802.11a ก็คือมีรัศมีการใชงานในระยะสั้นและมีราคาแพง ดังนั้นเครือขายไรสายมาตรฐาน IEEE 802.11a
จึงไดรับความนิยมนอย
19

ภาพที่ 2.26 เครือขายไรสาย IEEE 802.11a


ที่มา : https:// wireless-network, 2563

3) เครือขายไรสาย IEEE 802.11b เปนมาตรฐานที่เกิดขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2542 เปนที่รูจักกัน


ดีและไดรับความนิยมในการใชงานกันอยางแพรหลายมากที่สุด อุปกรณที่ออกแบบมาใหรองรับมาตรฐาน
IEEE 802.11b ใชเทคโนโลยีที่เรียกวา (Complimentary Code Keying: CCK) รวมกับเทคโนโลยี (Direct
Sequence Spread Spectrum: DSSS) เพื่อใหสามารถรับสงขอมูลดวยอัตราความเร็วสูงสุดที่ 11 เมกะบิต
ตอวินาที โดยใชคลื่นสัญญาณวิทยุยานความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ ซึ่งเปนยานความถี่ที่อนุญาตใหใชงานในแบบ
สาธารณะทางดานวิทยาศาสตร อุตสาหกรรม และการแพทย โดยอุปกรณที่ใชความถี่ยานนี้มีทั้งที่รองรับ
เทคโนโลยี Bluetooth โทรศัพทไรสาย และเตาไมโครเวฟ จึงทำใหการใชงานนั้นมีปญหาในเรื่องของ
สัญญาณรบกวน ขอดีของมาตรฐาน IEEE 802.11b ก็คอื สนับสนุนการใชงานเปนบริเวณกวางกวามาตรฐาน
IEEE 802.11a มาตรฐาน IEEE 802.11b เปนที่รูจักในเครื่องหมายการคา Wi-Fi

ภาพที่ 2.27 เครือขายไรสาย IEEE 802.11b


ที่มา : https:// wireless-network, 2563
20

4) เครือขายไรสาย IEEE 802.11g เปนมาตรฐานที่นิยมใชงานกันมากในปจจุบันและไดเขา


มาทดแทนมาตรฐาน IEEE 802.11b เนื่องจากมีความเร็วการรับสงขอมูลในระดับ 54 เมกะบิตตอวินาที โดย
ใชเทคโนโลยี (Orthogonal Frequency Division Multiplexing: OFDM) บนคลื่นสัญญาณวิทยุยาน
ความถี่ 2.4 กิกะเฮิรตซ และมีรัศมีการทำงานที่มากกวา IEEE 802.11a และสามารถในการใชงานรวมกันกับ
มาตรฐาน IEEE 802.11b ได

ภาพที่ 2.28 เครือขายไรสาย IEEE 802.11g


ที่มา : https:// wireless-network, 2563
5) เครือขายไรสาย IEEE 802.11e เปนมาตรฐานที่ออกแบบมาสำหรับการใชงานของ
แอพพลิเคชันทางดานมัลติมีเดียอยาง (Voice Over IP: VoIP) เพื่อควบคุมและรับประกันคุณภาพของการใช
งานตามหลักการ (Quality of Service: QoS) โดยการปรับปรุง MAC Layer ใหมีคุณสมบัตใิ นการรับรอง
การใชงานใหมีประสิทธิภาพ

รูปที่ 2.29 เครือขายไรสาย IEEE 802.11e


ที่มา : https:// wireless-network, 2563

6) เครือขายไรสาย IEEE 802.11f มาตรฐานนี้เปนที่รูจักกันในนาม (Inter Access Point


Protocol: IAPP) ซึ่งเปนมาตรฐานที่ออกแบบมาสำหรับจัดการกับผูใชงานที่เคลื่อนที่ขามเขตการใหบริการ
ของ Access Point ตัวหนึ่งไปยัง Access Point เพื่อใหบริการในแบบโรมมิ่งสัญญาณระหวางกัน
21

ภาพที่ 2.30 เครือขายไรสาย IEEE 802.11f


ที่มา : https://zhuanlan.zhihu.com/, 2563

7) เครือขายไรสาย IEEE 802.11h มาตรฐานที่ออกแบบมาสำหรับอุปกรณเครือขายไรสาย


ที่ใชงานยานความถี่ 5 กิกะเฮิรตซ ใหทำงานถูกตองตามขอกำหนดการใชความถี่ของประเทศในทวีปยุโรป

ภาพที่ 2.31 เครือขายไรสาย IEEE 802.11h


ที่มา : https://www.semanticscholar, 2563

2.1.6 ระบบควบคุมอัตโนมัติสำหรับโรงเรือนปลูกผักไรดนิ ซึ่งระบบควบคุมอัตโนมัติ (Automation)


เขามามีบทบาทเปนอยางมากในการพัฒนาวิธีการผลิตที่ชวยลดตนทุน สามารถควบคุมคุณภาพของการผลิต
ไดดีขึ้น เพิ่มกำลังการผลิต และทำใหการผลิตมีความนาเชื่อถือสูง ทำใหปจจุบันหลาย ๆ บริษัทมุงเนนการ
พัฒนาระบบสายงานการผลิตไปที่ระบบการผลิตแบบอัตโนมัติ (Automation System) มีสิ่งหนึ่งที่สำคัญที่
ชวยทำใหระบบสามารถทำงานไดอยางมีประสิทธิภาพ มีชื่อเรียกวา โปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรลเลอร
(PLC) คือหนวยประมวลผลที่สามารถโปรแกรมได เพื่อชวยจัดการควบคุม สั่งงาน รับคาเซนเซอรตาง ๆ และ
กำหนดการทำงานของระบบควบคุมอัตโนมัติที่ออกแบบสำหรับใชงานควบคุมทางดานการเกษตรโดยเฉพาะ
ไมวาจะเปนการทนตอสัญญาณรบกวน หรือใชงานในสภาวะอากาศที่มีฝุน ความชื้น ละอองน้ำ ใชในสภาพ
อากาศรอน หนาว และการใชงานที่ตองทำงานตลอดเวลา 24 ชั่วโมง โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร จึงเปน
ที่นิยมสำหรับการนำมาควบคุมระบบอัตโนมัติ ซึ่งมีระบบลักษณะการปลูกผักไรดิน ดังนี้
2.1.6.1 ระบบ NFT (Nutrient Film Technique) การปลูกแบบนี้จะเปนการปลูกพืชโดยราก
แชอยูในสารละลายโดยตรง สารละลายธาตุอาหารจะไหลเปนแผนฟลมบางๆ (หนาประมาณ 2-3 มิลิเมตร)
22

ในรางปลูกพืชกวาง ตั้งแต 5-35 ซม. สูงประมาณ 5 - 10 ซม. ความกวางราง ขึ้นอยูกับชนิดพืชที่ปลูก ความ


ยาวของราง ตั้งแต 5 - 20 เมตร การไหลของสารละลายอาจเปนแบบตอเนื่องหรือแบบสลับก็ไดโดยทั่วไป
สารละลายจะไหลแบบตอเนื่อง อัตราไหลอยูในชวง 1 - 2 ลิตร/นาที/ราง ขอดีคือใชน้ำนอยกวาระบบอื่น จะ
เปนลักษณะรางขาว กนแบน น้ำจะไหลผานรากเปนฟลมบางๆ ขอเสีย คือ ราคาเริ่มตนสูง และหากไฟฟาดับ
ติดตอกันเปนเวลานาน จะทำใหตนไมตายพรอมกันทั้งราง ตองมีคนดูแลหรือมีปมอัตโนมัติ และเปนพื้นที่ที่
ไฟฟาไมคอยดับหรือดับแลวติดเร็ว

ภาพที่ 2.32 ระบบการปลูกแบบ NFT


ที่มา : http://www.h2ohydrogarden.com, 2564

2.1.6.2 ระบบ DFT (Deep Flow Technique) เปนระบบที่ใชทอ PVC มาปลูกผัก โดยหลักการ
เดียวกับ ระบบNFT โดยที่มีน้ำไหลผานทอ ความหนาของน้ำจะสูงกวาระบบNFT จะเปนระบบที่นิยมใชกัน
มากในไทยเนื่องจากตนทุนถูก

ภาพที่ 2.33 ระบบการปลูกแบบ DFT


ที่มา : http://www.h2ohydrogarden.com, 2564

2.1.6.3 ระบบ DRFT (Dynamic Root Floating Technique) เปนการปลูกพืชแบบน้ำเยอะ


สวนมากนิยมปลูกกันในถาดโฟม เหมาะสำหรับปลูกผักไทย สรางระบบงาย ดูแลรักษางาย ทำความสะอาด
งาย และประยุกตใชวัสดุที่มีอยูในพื้นที่มาทำชุดปลูกผัก อายุการใชงานของระบบขึ้นอยูก ับวัสดุที่ทำมาใช
23

ภาพที่ 2.34 ระบบการปลูกแบบ DRFT


ที่มา : http://www.h2ohydrogarden.com, 2564

2.1.6.4 การปลูกพืชในวัสดุปลูก (Substrate Culture) วัสดุปลูกที่นิยมใชในการปลูกในประเทศ


ไทยคือ ทรายผสมกับขุยมะพราวและแกลบ ในอัตราสวนตางๆกัน เหมาะสำหรับปลูกพืชที่มีอายุยาวเพื่อ
รับประทานผล เชน มะเขือเทศ พริกหวาน หรือไมประดับ

ภาพที่ 2.35 ระบบการปลูกแบบการปลูกพืชในวัสดุปลูก


ที่มา : http://www.h2ohydrogarden.com, 2564

2.1.6.5 ระบบ Aeroponics เปนระบบที่รากพืชลอยอยูในอากาศ และมีการฉีดสารละลายไปที่


รากพืชโดยตรง เนื่องจากตองใชปปแรงดันสูงในการฉีดสารละลายใหเปนฝอย จึงเปลืองพลังงานมาก จึงใช
ปลูกแคในหองทดลองเพื่อการทำวิจัย หรือปลูกเปนงานอดิเรกเทานั้น ไมนิยมปลูกเพื่อการคา
24

ภาพที่ 2.36 ระบบการปลูกแบบระบบ Aeroponics


ที่มา : http://www.h2ohydrogarden.com, 2564

2.1.6.6 ระบบไฮโดรโปนิกสแบบใหอากาศ คือการปลูกพืชในสารละลายแลวปมอากาศเขาไปใน


น้ำ เชนเดียวกับการเติมอากาศในตูปลา

ภาพที่ 2.37 ระบบการปลูกแบบระบบไฮโดรโปนิกสแบบใหอากาศ


ที่มา : http://www.h2ohydrogarden.com, 2564

2.1.7 หนาจอสัมผัส (Touch Screen) เปนจอแสดงผลชนิดพิเศษสามารถรับคำสั่งงานไดดวยการใช


นิ้วกดสัมผัสที่ผิวของหนาจอโครงสรางภายในของ จอสัมผัส จะประกอบดวย ชั้นบนเปนแผนพลาสติกใสฉาบ
ตัวนำไฟฟาบาง ๆ จนแสงสามารถทะลุผานได สวนชั้นลางเปนแผนกระจกที่ฉาบตัวนำไฟฟาไวเหมือนกัน ทั้ง
สองชั้นจะถูกตอวงจรไฟฟาทั้ง 4 ดาน เพื่อใหกระแสไฟฟาไหลผานไดทุกดาน เมื่อใชนิ้วสัมผัสบนหนาจอ ผิว
พลาสติกชั้นบนก็จะโคงลงไปกระทบกับแผนกระจกชั้นลาง สงผลใหตัวนำไฟฟาที่ฉาบไวสัมผัสกัน เกิดเปน
กระแสแรงดันไหลผานเขาไปในวงจร แลวทำการคำนวณออกมาเปนพิกัด X Y สงใหกับตัวประมวลผลของ
อุปกรณเพื่อที่จะแสดงผลคำสั่งออกมาบนหนาจอ
2.1.7.1 หนาจอสัมผัสแบบตัวตานทาน (Resistive) ระบบตัวตานทานประกอบดวย ชองกระจก
เคลือบดวยตัวนำและตัวตานทานโดยทั้งสองชั้นนี้ไมไดอยูติดกัน โดยมีตัวกั้นและชั้นตัวตานทานที่ปรับคาได
อยูบนสุด ในขณะที่หนาจอกำลังทำงานจะมีกระแสไฟฟาไหลผานทั้งสองชั้น เมื่อผูใชสัมผัสหนาจอ ทำใหชั้น
ทั้งสองชั้นสัมผัสกันตรงตำแหนงที่เราสัมผัส เกิดการเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟาที่ไหลผาน และถูกบันทึก
ไวและคำนวณหาตำแหนงโดยทันที เมื่อรูวาสัมผัสตรงสวน
25

ภาพที่ 2.38 หนาจอสัมผัสแบบตัวตานทาน


ที่มา : https://thai.alibaba.com, 2564

2.1.7.2 หนาจอสัมผัสแบบตัวเก็บประจุ (Capacitive) ระบบตัวเก็บประจุจะเปนชั้นที่ไวสำหรับ


เก็บประจุไฟฟาซึ่งจะวางอยูบนชองกระจกของหนาจอ เมื่อผูใชสัมผัสหนาจอ จะทำใหประจุไฟฟาบางสวน
ถูกสงไปยังตัวผูใชทำใหประจุไฟฟาที่มีอยูในตัวเก็บประจุลดลง การลดลงของตัวเก็บประจุนี้จะเปนตัวบอก
ตำแหนงของการสัมผัสซึง่ จะมีวงจรที่คอยตรวจสอบอยูทตี่ ำแหนงมุมของหนาจอทั้งสี่มุม หลังจากนั้นหนวย
ประมวลผลจะทำการคำนวณ จากผลตางของประจุไฟฟาในแตละมุม จนไดตำแหนงตรงที่ผูใชสัมผัสแลวจึง
สงไปใหไดรเวอร
2.1.7.3 หนาจอสัมผัสแบบคลื่นเสียงที่ผิวของหนาจอ (Surface Acoustic Wave) ระบบคลื่น
เสียง บนหนาจอของระบบคลื่นเสียงที่ผิวหนาจอจะมีตัวรับ และสงสัญญาณอยูตลอดแนวตั้งและแนวนอน
ของแผนกระจกของหนาจอ และตัวตัวสะทอน ซึ่งจะทำหนาที่ สงสัญญาณอิเล็กทรอนิกสที่มาจากตัวสง
สัญญาณไปยังตัวอื่น ตัวรับสัญญาณจะเปนตัวบอกถาคลื่นถูกรบกวนโดยการสัมผัสของผูใช และจะสามารถ
ระบบตำแหนงที่สัมผัสได การใชระบบคลื่นทำใหหนาจอสามารถแสดงภาพไดอยางชัดเจนมากกวาทั้งสอง
ระบบขางตน
2.1.7.4 หนาจอสัมผัสแบบ Infrared จะถูกใชงานในจอแสดงผลขนาดใหญในสถาบันการเงิน
และทางการทหาร เทคโนโลยีนี้ทำงานโดยการตรวจจับแสง แทนที่จะมีแผนแกวอยูหนาจอเหมือนกับ
เทคโนโลยีอื่น แตจะทำเปนกรอบแทน ภายในกรอบจะมีแผงของแหลงกำเนิดแสงที่เรียกวาแอลอีดี ที่ดาน
หนึ่งพรอมกับตัวตรวจจับแสงที่ดานตรงขามกัน จึงเปนเสมือนกริดของลำแสงทั้งจอ เมื่อมีวัตถุใดสัมผัสก็จะ
ไปตัดลำแสง
26

2.1.8 ไฮโดโปรนิกส
2.1.8.1 ธาตุอาหารและสารละลายธาตุอาหาร ในการปลูกพืชไมใชดิน ปจจัยหลักที่ทำใหพืช
เจริญเติบโต คือ ธาตุอาหารที่เปนวัตถุดิบในการใหตนพืชเจริญเติบโตในกระบวนการสรางสารอาหาร โดย
กระบวนการสังเคราะหแสงนี้ วัตถุดิบที่ใชคือคารบอนไดออกไซด (CO2 ) เมื่อไดรับแสงบนคลอโรฟลด จะได
สารคารโบไฮเดรตและออกซิเจน จะเห็นวาธาตุอาหารที่พืชใชในกระบวนการดังกลาว คือ คารบอน (C) จาก
คารบอนไดออกไซดและไฮโดรเจน ออกซิเจน จากน้ำ (H2 O) และในสวนของคลอโรฟลลในพืชมีธาตุอื่น ๆ
เปนองคประกอบ เชน ธาตุไนโตรเจน (N) และแมกนีเซียม (Mg) ซึ่งเราสามารถจำแนกธาตุอาหารตาม
ปริมาณความตองการในปริมาณที่ตางกันในการใชของพืช ซึ่งหากใชไมเหมาะสมก็จะทำใหพืชเติบโตไมปกติ
1) ธาตุคารบอน (C) เปนองคประกอบหลักในโครงสรางพืช มีความจำเปนในกระบวนการ
สังเคราะหแสงที่กลาวมาขางตน ซึ่งในบรรยากาศมีเพียงพอในธรรมชาติ
2) ธาตุออกซิเจน (O) พืชมีความจำเปนในการใชออกซิเจนในกระบวนการหายใจ เพื่อน้ำ
ออกซิไดซ สารอาหารพวกคารโบไฮเดรต ยอยใหเปนน้ำตาลขนาดเล็ก และไดเปนพลังงานเพื่อใหพืชนำไปใช
ในกระบวนการเจริญเติบโตของตนพืช
3) ธาตุไฮโดรเจน (H) ไฮโดรเจนมีความจำเปนในกระบวนการสังเคราะหแสง พืชสามารถ
ไดจากน้ำเปนสวนใหญ หรืออาจไดจากในบรรยากาศ เชน กลวยไม
4) ธาตุไนโตรเจน (N) ไนโตรเจนเปนองคประกอบของสารอินทรียโดยเปนสวนประกอบ
โครงสรางของพืช เชน คลอโรฟลด กรดอะมิโน และองคประกอบของโปรตีน ซึ่งเกี่ยวของกับกระบวนการ
เจริญเติบโตของพืช หากขาดธาตุไนโตรเจนจะทำใหตนแคระแกร็น ใบออนเล็กเรียว ใบลางแกจะมีสีเหลือง
ซีด แหลงไนโตรเจนสามารถไดจากการตรึงในบรรยากาศ หรือจากการยอยสลายสารอินทรีย ซากพืชซาก
สัตวที่ตายแลว ไนโตรเจนถาสูงมากจะทำใหตนพืชมีการขยายเซลล ทำใหตนงายตอการทำลายของโรค และ
ในพืชทีใ่ หผลผลิตอาจจะมีปญหาในการเจริญทางกิ่งใบ ไมมีการสะสมอาหารเมื่อใหผลผลิต แตอยางไรก็ดีผัก
ที่นิยมปลูกโดยไมใชดิน จะนิยมกินใบและเก็บเกี่ยวผลผลิตเร็ว จึงนิยมใหธาตุไนโตรเจนในปริมาณสูง
5) ธาตุเหล็ก (Fe) มีบทบาทในการชวยใหพืชสังเคราะหแสง เปนตัวพาอะตอม ออกซิเจนที่
ใชในการหายใจ มีบทบาทในการสังเคราะหคลอโรฟลล และเปนสารประกอบของ Flavoprotein มีความ
จำเปนในการสรางน้ำตาลและแปง ถาหากขาดทำใหใบเหลืองซีดทั้งใบออนและใบแก ความสามารถในการ
เคลื่อนยายยาก
6) ธาตุคลอรีน (Cl) มีบทบาทในการกระบวนการสังเคราะหแสงชวยเพิ่มความเปนกรดใน
เซลล กระตุนการทำงานของเอนไซม ซึ่งคลอรีนในสภาพทั่วไปจะมีความเพียงพอตอความตองการของพืช
7) ธาตุโบรอน (B) เกี่ยวของกระบวนการเจริญเติบโตของพืช ทำใหพืชใชธาตุแคลเซียมดี
มากขึ้น ในการสรางโครงสรางผนังเซลล และอาจชวยในกระบวนการเคลื่อนยายสารอาหารในพืช หากขาด
จะทำใหการสรางน้ำตาลลดลงในพืชบางชนิด มีลำตนกลวง เชน บล็อกโคลี่
8) ธาตุแมงกานีส (Mn) มีบทบาทในกระบวนการสังเคราะหแสง ชวยการกระตุนเอนไซมใน
การสังเคราะหกรด ไขมัน และเอนไซมที่เกี่ยวของกับการเกิดดีเอ็นเอและอารเอ็นเอ
9) ธาตุสังกะสี (Zn) เปนธาตุที่เกี่ยวของในการสรางสารควบคุมการเจริญเติบโตพวกออกซิน
(Auxin) ที่ปลายยอด และเกี่ยวของกับการสังเคราะหคลอโรฟลล หากขาดจะทำใหตนพืชเตี้ย ใบเล็ก
27

2.1.9 ผักที่นิยมนำมาปลูกไฮโดรโปนิกส เปนทางเลือกหนึ่งของการปลูกพืชใหมีคุณภาพ มีความ


สม่ำเสมอ ผลผลิตสูงสามารถวางแผนการปลูกได กำหนดปริมาณการผลิตใหเปนไปตามเปาหมายหรือความ
ตองการของตลาดไดดีกวา เนื่องจากสามารถควบคุมปจจัยตาง ๆ ที่ใหแกพืชไดอยางเหมาะสม ทำใหปลูกพืช
ไดอยางตอเนื่อง สำหรับประเทศไทยนั้นมีความเปนไปไดที่จะนําวิธีการปลูกพืชแบบนี้มาใชทำใหสามารถ
ปลูกพืชในพื้นที่ที่ไมมีดินหรือดินมีปญหารอบ ๆ เมืองใหญ ผูคนอยูหนาแนน การปลูกแบบไฮโดโปรนิกสจะ
ใชพื้นที่นอยแตใหผลผลิตมาก เปนระบบที่งายไมยุงยาก และดัดแปลงวัสดุอุปกรณไดภายในประเทศเพื่อลด
ทุนเนื่องจากในปจจุบันคนไทยหันมาใสใจสุขภาพมากขึ้น ทำใหผักเปนอาหารที่ไดรับความนิยมมาก แมวา
ประเทศไทยจะเปนประเทศเกษตรกรรม แตก็ยังตองนําเขาผักจากตางประเทศ เชน ผักเมืองหนาวตาง ๆ
เนื่องจากเปนผักที่ไมสามารถ ปลูกไดภายในประเทศ หรือปลูกไดแตผลผลิตตํ่า
2.1.9.1 กรีนโอก (Green Oak Lettuce) ลักษณะโดยทั่วไปสลัดกรีนโอก ใบมีเขียวออนหรือ
เขียวเขม (แลวแตลักษณะของสายพันธุ) ขอบใบหยัก เปนพืชที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปเอเชีย และยุโรป เปนพืช
ฤดูเดียว มีลำตนอวบสั้น ชวงขอถี่ ใบจะเจริญ จากขอเปนกลุม มีระบบรากแกวที่สามารถเจริญลงไปในดินได
อยางรวดเร็ว ชอดอกเปนแบบ Panicle สูง 2 - 4 ฟุต ประกอบดวย ดอก 10 - 25 ดอกตอชอ เปนดอก
สมบูรณเพศกลีบดอกสีเหลือง หรือขาวปนเหลือง ดอกจะบานชวงเชา โดยเฉพาะในชวงที่อุณหภูมิต่ำ
ผักกาดหอมกรีนโอกเปนพืชที่นิยมบริโภคสดโดยเฉพาะในสลัด หรือกินกับยำ นำมาตกแตงในจานอาหาร
ผักกาดหอมกรีนโอกมีน้ำเปนองคประกอบหลัก และมีวิตามินบี วิตามินซี อีกทั้งยังมีไฟเบอร ที่ชวยบรรเทา
อาการทองผูก
คา EC (Electrical Conductivity) สำหรับผักสลัดกรีนโอกในพื้นที่อากาศรอน
1. หลังเพาะเมล็ดไดประมาณ 7 วัน เริ่มใหปุยออนๆ โดยใหคา EC ประมาณ 1.0 - 1.2
ms/cm
2. เมื่อครบกำหนด 10 - 14 วัน หรือตนเกลาเริ่มมีใบจริงประมาณ 2 - 3 ใบ ก็สามารถยาย
ลงแปลงปลูกไดเลย โดยกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้ อยูที่ประมาณ 1.2 - 1.3 ms/cm
3. ชวงผักมีอายุไดประมาณ 15 - 25 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนีอ้ ยูที่
ประมาณ 1.3 - 1.4 ms/cm และควรฉีดพน แคลเซียม และโบรอน สัปดาหละ 1 - 2 ครั้ง เพื่อปองกันอาการ
ปลายใบไหม (Tip Burn)
4. ชวงผักมีอายุไดประมาณ 26 - 30 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้อยูที่
ประมาณ 1.2 - 1.3 ms/cm และควรฉีดพน แคลเซียม และโบรอน สัปดาหละ 1 - 2 ครั้ง เพื่อปองกันอาการ
ปลายใบไหม (Tip urn)
5. เมื่อผักมีอายุไดประมาณ 31 - 35 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้อยูที่
ประมาณ 1.1 - 1.2 ms/cm และควรฉีดพน แคลเซียม และโบรอน สัปดาหละ 1 - 2 ครั้ง
6. เมื่อผักมีอายุไดประมาณ 36 - 40 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้อยูที่
ประมาณ 1.0 - 1.1 ms/cm และควรฉีดพน แคลเซียม และโบรอน สัปดาหละ 1 - 2 ครั้ง
7. เมื่อผักมีอายุไดประมาณ 41 - 50 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้ อยูต่ำ
กวา 0.5 ms/cm หรือจะใชน้ำเปลาเลี้ยงประมาณ 3 วัน กอนเก็บเกี่ยว
28

ภาพที่ 2.39 กรีนโอค


ที่มา : http://zen-hydroponics.blogspot.com, 2563
2.1.9.2 สลัดกรีนคอสโรเมน (Cos Romaine Lettuce) สลัดกรีนคอสโรเมน ลักษณะทั่วไปเปน
พืชลมลุก ลำตนเปนกอ ลักษณะใบยาวรี ซอนกันเปนชอ ใบบางกลม การปลูกดูแลรักษาคลายผักกาดหอม
หอ แตจะมีลักษณะแตกตางกันออกไปบาง ตามสายพันธุ นอกจากนี้ยังมีชนิดใบกลมขนาดเล็ก หอหัวแนน
รสชาติหวานกรอบ เรียกวา เบบี้คอส (Baby Cos) โดยกลุมพืชชนิดนี้ควรปลูกเฉพาะในฤดูหนาวและฤดูฝน
ผักกาดหวาน เปนพืชที่ตองการสภาพอากาศเย็น อุณหภูมิที่เหมาะสมอยู ระหวาง 10 – 24 องศาเซลเซียส
ในสภาพอุณหภูมิสูง การเจริญเติบโตทางใบจะลดลง และพืชจะสรางสารคลายน้ำนมหรือยางมาก เสนใยสูง
เหนียว และมีรสขม นิยมบริโภคสด โดยเฉพาะในสลัด หรือกินกับยำ นำมาตกแตง ในจานอาหาร แตสามารถ
ประกอบอาหารไดในบางชนิด เชน นำไปผัดกับน้ำมัน ผักกาดหวาน มีน้ำเปนองคประกอบและมีวิตามินซีสูง
นอกจากนี้ยังใหฮีโมโกลบิน (Hemoglobin) ชวยปองกันโรคโลหิตจาง บรรเทาอาการทองผูก เหมาะสำหรับ
ผูที่ปวยเปนโรคเบาหวาน
คา EC สำหรับผักสลัดคอสโรเมนในพื้นที่อากาศรอน
1. หลังเพาะเมล็ดไดประมาณ 7 วัน เริ่มใหปุยออนๆ โดยใหคา EC ประมาณ 1.0 - 1.2
ms/cm
2. เมื่อครบกำหนด 10 - 14 วัน หรือตนเกลาเริ่มมีใบจริงประมาณ 2 - 3 ใบ ก็สามารถยาย
ลงแปลงปลูกไดเลย โดยกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้ อยูที่ประมาณ 1.2 - 1.3 ms/cm
3. ชวงผักมีอายุไดประมาณ 15 - 25 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้อยูที่
ประมาณ 1.3 - 1.4 ms/cm และควรฉีดพน แคลเซียม และโบรอน สัปดาหละ 1 - 2 ครั้ง เพื่อปองกันอาการ
ปลายใบไหม (Tip Burn)
4. ชวงผักมีอายุไดประมาณ 26 - 30 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้อยูที่
ประมาณ 1.2 - 1.3 ms/cm และควรฉีดพน แคลเซียม และโบรอน สัปดาหละ 1 - 2 ครั้ง เพื่อปองกันอาการ
ปลายใบไหม (Tip urn)
5. เมื่อผักมีอายุไดประมาณ 31 - 35 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้อยูที่
ประมาณ 1.1 - 1.2 ms/cm และควรฉีดพน แคลเซียม และโบรอน สัปดาหละ 1 - 2 ครั้ง
6. เมื่อผักมีอายุไดประมาณ 36 - 40 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้อยูที่
ประมาณ 1.0 - 1.1 ms/cm และควรฉีดพน แคลเซียม และโบรอน สัปดาหละ 1 - 2 ครั้ง
29

7. เมื่อผักมีอายุไดประมาณ 41 - 50 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้ อยูต่ำ


กวา 0.5 ms/cm หรือจะใชน้ำเปลาเลี้ยงประมาณ 3 วัน กอนเก็บเกี่ยว

ภาพที่ 2.40 กรีนคอสโรเมน


ที่มา : http://farmorganicseed.com, 2563

2.1.9.3 บัตเตอรเฮดเขียว (Green Butterhead) สายพันธุควิกเกอรจากสหรัฐอเมริกา เปน


บัตเตอรเฮดขนาดกลาง ซึ่งมีจุดเดนคือมีอัตราการเจริญเติบโตที่เร็วมากเมื่อเทียบกับบัตเตอรเฮดสายพันธุ
อื่น ๆ ในขนาดเดียวกัน ลักษณะโดยทั่วไปของบัตเตอรเฮดสายพันธุนี้จะมีเนื้อในที่นุมนวล มีสีเขียวออน
สามารถตานทานตออาการทิปเบิรนและอากาศรอนไดดีระดับปานกลาง มีแคลเซียม เสนใย วิตามินซี
โพแทสเซียม วิตามินเอ วิตามินอี ฟอสฟอรัส เหล็ก วิตามินบี1 วิตามินบี2 วิตามินบี3 วิตามินบี5 วิตามินบี6
วิตามินบี9 เบตาแคโรทีน คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แมกนีเซียม ไขมัน แมงกานีส ชวยบำรุงรางกาย ชวย
ปองกันโรคเบาหวาน แกทองผูก ชวยบำรุงสายตา ชวยบำรุงเสนผม ชวยบำรุงประสาท ชวยบำรุงกลามเนื้อ
ชวยบำรุงผิวพรรณ ชวยรักษาปากนกกระจอก มีอนุมูลอิสระ ชวยสรางเม็ดเลือด แกทองผูก ชวยระบบ
ขับถาย แกทองผูก แกทองอืด แกทองเฟอ ชวยขับปสสาวะ ชวยขับพยาธิ
คา EC สำหรับผักสลัดกรีนบัตเตอรเฮดในพื้นที่อากาศรอน
1. หลังเพาะเมล็ดไดประมาณ 7 วัน เริ่มใหปุยออนๆ โดยใหคา EC ประมาณ 1.0 - 1.2
ms/cm
2. เมื่อครบกำหนด 10 - 14 วัน หรือตนเกลาเริ่มมีใบจริงประมาณ 2 - 3 ใบ ก็สามารถยาย
ลงแปลงปลูกไดเลย โดยกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้ อยูที่ประมาณ 1.2 - 1.3 ms/cm
3. ชวงผักมีอายุไดประมาณ 15 - 25 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้อยูที่
ประมาณ 1.3 - 1.4 ms/cm และควรฉีดพน แคลเซียม และโบรอน สัปดาหละ 1 - 2 ครั้ง เพื่อปองกันอาการ
ปลายใบไหม (Tip Burn)
4. ชวงผักมีอายุไดประมาณ 26 - 30 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้อยูที่
ประมาณ 1.2 - 1.3 ms/cm และควรฉีดพน แคลเซียม และโบรอน สัปดาหละ 1 - 2 ครั้ง เพื่อปองกันอาการ
ปลายใบไหม (Tip urn)
30

5. เมื่อผักมีอายุไดประมาณ 31 - 35 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้อยูที่


ประมาณ 1.1 - 1.2 ms/cm และควรฉีดพน แคลเซียม และโบรอน สัปดาหละ 1 - 2 ครั้ง
6. เมื่อผักมีอายุไดประมาณ 36 - 40 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้อยูที่
ประมาณ 1.0 - 1.1 ms/cm และควรฉีดพน แคลเซียม และโบรอน สัปดาหละ 1 - 2 ครั้ง
7. เมื่อผักมีอายุไดประมาณ 41 - 50 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้ อยูต่ำ
กวา 0.5 ms/cm หรือจะใชน้ำเปลาเลี้ยงประมาณ 3 วัน กอนเก็บเกี่ยว

ภาพที่ 2.41 บัตเตอรเฮดเขียว


ที่มา : http://www.erhydroshop.com, 2563
2.1.9.4 กรีนปตตาเวีย (Green Batavian Lettuce) เปนผักสลัดกลุม Crip Leaf มีลักษณะใบ
เปนแผนรูปหยดน้ำ ขอบใบหยิกเปนคลื่น เปนทรงพุม หอหัวแบบหลวม ๆ มีทั้งสีเขียวและสีแดง เปนผักสลัด
ที่นิยมมากในแถบยุโรปตอนใต ประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา นิยมรับประทานเปนผักสลัดเนื่องจากมี
คุณคาทางสารอาหาร คือชวยบำรุงสายตา บำรุงเสนผม บำรุงประสาทและกลามเนื้อ บำรุงผิวพรรณ ปองกัน
โรคปากนกกระจอก ชวยในการสรางเม็ดเลือด ใหเสนใยอาหารสูง ขจัดอนุมูลอิสระ ปองกันโรคหวัด
คา EC สำหรับผักสลัด กรีนปตตาเวียในพื้นที่อากาศรอน
1. หลังเพาะเมล็ดไดประมาณ 7 วัน เริ่มใหปุยออนๆ โดยใหคา EC ประมาณ 1.0 - 1.2
ms/cm
2. เมื่อครบกำหนด 10 - 14 วัน หรือตนเกลาเริ่มมีใบจริงประมาณ 2 - 3 ใบ ก็สามารถยาย
ลงแปลงปลูกไดเลย โดยกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้ อยูที่ประมาณ 1.2 - 1.3 ms/cm
3. ชวงผักมีอายุไดประมาณ 15 - 25 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้อยูที่
ประมาณ 1.3 - 1.4 ms/cm และควรฉีดพน แคลเซียม และโบรอน สัปดาหละ 1 - 2 ครั้ง เพื่อปองกันอาการ
ปลายใบไหม (Tip Burn)
4. ชวงผักมีอายุไดประมาณ 26 - 30 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้อยูที่
ประมาณ 1.2 - 1.3 ms/cm และควรฉีดพน แคลเซียม และโบรอน สัปดาหละ 1 - 2 ครั้ง เพื่อปองกันอาการ
ปลายใบไหม (Tip urn)
5. เมื่อผักมีอายุไดประมาณ 31 - 35 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้อยูที่
ประมาณ 1.1 - 1.2 ms/cm และควรฉีดพน แคลเซียม และโบรอน สัปดาหละ 1 - 2 ครั้ง
31

6. เมื่อผักมีอายุไดประมาณ 36 - 40 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้อยูที่


ประมาณ 1.0 - 1.1 ms/cm และควรฉีดพน แคลเซียม และโบรอน สัปดาหละ 1 - 2 ครั้ง
7. เมื่อผักมีอายุไดประมาณ 41 - 50 วัน ใหกำหนดคา EC สำหรับผักสลัดในชวงนี้ อยูต่ำ
กวา 0.5 ms/cm หรือจะใชน้ำเปลาเลี้ยงประมาณ 3 วัน กอนเก็บเกี่ยว

ภาพที่ 2.42 กรีนปตตาเวีย


ที่มา : https://www.nanagarden.com/product, 2563
32

2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวของในประเทศ
ระบบควบคุมโปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทลเลอรไดทำระบบควบคุมอัตโนมัติติดตามโดยสภาพ
แวดลอมเพื่อการเกษตรผานสมารทดีไวซ [1] โดยศศิมาภรณ มงคลพิทักษและทวีพล ซื่อสัตย มีตัวควบคุม
แบบตรรกะที่โปรแกรมได PLC ทำหนาที่เปนตัวควบคุมซึ่งรับขอมูลจากตัวเซนเซอรวัดอุณหภูมิ และ
ความชื้น และยังทำหนาที่เปนเว็ปเซิรฟเวอรแบบฝงตัวสำหรับใชในการปฏิบัติงานระยะไกล และวิเคราะห
ขอมูล ดังนั้นจึงไมจำเปนตองมีผูปฏิบัติอยูบริเวณพื้นที่เพาะปลูก นอกจากนี้ผูปฏิบัติงานยังสามารถใชสมารท
ดีไวซผานกลองไอพีเพื่อตรวจสอบความผิดปกติและการเจริญเติบโตของพืชไดอีกดวย ในการทดลองไดทำ
การเปรียบเทียบ วิธีการควบคุมระบบ 2 วิธี คือ วิธีแรกเปนการควบคุมตามเวลา ซึ่งโปรแกรมการรดน้ำทุก
เชาเย็น วิธีที่สองเปนการรดน้ำตามสภาวะของอุณหภูมิและความชืน้ จากผลการทดลองพบวาวิธีที่สองใหผล
การประหยัดน้ำไดดีกวาและ การเจริญเติบโตของพืชดีกวา และไดมีการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตร ใน
งานวิจัยนี้ชวยประหยัดทั้งแรงงาน และทรัพยากรไดอยางมีประสิทธิภาพ

ศึกษาเทคโนโลยีระบบไรสายในการรดน้ำของเกษตรกรดวยระบบรดน้ำอัตโนมัติ [2] โดยภาคภูมิ


มโนยุทธ และคณะ ไดทำระบบเครือขายเซ็นเซอรไรสาย โดยระบบสามารถตรวจวัดคาสิ่งแวดลอม ตาง ๆ
ไดแก ความชื้น อุณหภูมิ ภายในอากาศ คาความเขมของแสงสวาง คาความชื้น โดยสามารถทำการ
ติดตอสื่อสารไดไกลโดยการใชวิธีการติดตอสื่อสารแบบ Multi - hop และสามารถทำการปรับตั้งคาได

การใชเซนเซอรตรวจสอบการวัดอุณหภูมิ ความชื้น [3] โดยนางสาวธนัยพร กำจร ไดทำระบบที่


มีการใชงานผานเซ็นเซอร เพื่อใชตรวจสอบการวัดอุณหภูมิ ความชื้น มีความเหมาะสมในการทำการเกษตร
เนื่องจากงานวิจัยทั้ง 3 งาน พบวาการประยุกตใชเทคโนโลยี Internet of Thing (IOT) นั้นสามารถวัด
อุณหภูมิความชื้น และพฤติกรรมของสัตวโดยมีผลการใชไดจริงโดยทำงานรวบกับระบบตาง ๆ ไมวาจะเปน
ทางเซ็นเซอร หรือ RFID ทั้งนี้การทำงานในครั้งตาง ๆ จะตองคำนึงถึงปจจัยอีกหลายปจจัยรวมดวยเพื่อให
การประยุกตใชในทางตาง ๆ มีประสิทธิภาพสูงสุด

ระบบติดตามและดูแลการเจริญเติบโตแคนตาลูปไฮโดรโปนิกสแบบอัตโนมัติ [4] โดยลักขณา


บรรณวัฒน และคณะ ไดจัดทำระบบติดตามและดูแลการเจริญเติบโตแคนตาลูปไฮโดรโปนิกสแบบอัตโนมัติ
ดวยการนำเซนเซอรหลายชนิดเขามาตรวจสอบคาตาง ๆ ที่สงผลตอการเจริญเติบโตของแคนตาลูป ซึ่งใน
ระบบประกอบดวยเซนเซอรวัดความเขมแสง เซนเซอรวัดความเปนกรด - ดางของน้ำ เซนเซอรวัดอุณหภูมิ
และความชื้น ทำงานรวมกับระบบไมโครคอนโทรลเลอร โดยระบบจะบันทึกคาที่ไดจากเซนเซอรแตละตัว
แลวบันทึกลงบนฐานขอมูล จากนั้นจะนำขอมูลไปแสดงผลในแอปพลิเคชั่น

การพัฒนาระบบควบคุม เปด-ปด ไฟฟาและเครื่องปรับอากาศผานสมารทโฟน [5] โดย อภิรักษ


พันธุพณาสกุลและคณะ การพัฒนาระบบควบคุมไฟฟาโดยใช Zigbee วงจรสำหรับรับ-สงขอมูล ประมวลผล
ที่ไดรับและควบคุมการเปด-ปดไฟฟาของอุปกรณไฟฟาตามสวนของการประมวลผลสั่งงานโดยใช Zigbee
ไมโครคอนโทรลเลอร และ Relay, Web Application สำหรับใชงานระบบผานทางอินเตอรเน็ตโปรแกรม
สำหรับควบคุมวงจรในโปรแกรมสำหรับควบคุมการเปด-ปดไฟฟาบนโทรศัพทมือถือจากงานวิจัยที่พัฒนาขึ้น
นี้จะชวยเพิ่มความสะดวกสบายแกผูใชงานไดอยางมาก เนื่องจากผูใชงานมีวิธีในการเลือกใชงานระบบไดถึง
33

2 ชองทาง ไมวาจะทางอินเตอรเน็ต หรือ ทางโทรศัพทมือถือและผูใชงานยังสามารถควบคุมการเปด-ปด


ไฟฟาไดจากระยะไกลดวย นอกจากนี้ ยังมีผลชวยใหลดอัตราการเกิดอัคคีภัยไดอีกดวย ดังนั้นงานวิจัยของ
การพัฒนาระบบควบคุมไฟฟาโดยใช Zigbee นี้จึงเหมาะแกการนำไปประยุกตใชในชีวิตประจำวันหรือนำไป
พัฒนาตอเพื่อเพิ่ม ประโยชน และประสิทธิภาพใหมีมากยิ่งขึ้น

การพัฒนาระบบฟารมอัจฉริยะสำหรับเกษตรกรยุคใหมดวยซอรฟแวรรหัสเปดและอินเทอรเน็ต
ของสรรพสิ่ง [6] โดย ธิติศักดิ์ โพธิ์ทองและคณะ ไดออกแบบการพัฒนา เทคโนโลยีเพื่ออำนวยความสะดวก
การจัดการฟารมเกษตรกรรมในรูปแบบที่เรียกวา ระบบฟารมอัจฉริยะ (Smart Farming System) เปนการ
ประยุกตใชความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อที่จะสอดคลอง กับ Thailand 4.0 ที่เปนการนำเอา
เทคโนโลยีมาชวยสงเสริมในดานการเกษตร วัตถุประสงคของงานวิจัย นี้คือ ผลิตชุดควบคุมสําหรับตรวจวัด
สภาพแวดลอม เชน อุณหภูมิและความชื้นในอากาศ รวมไปถึง ความชื้นในดิน เพื่อใหบุคคลทั่วไปสามารถใช
งานไดงายสะดวกสบาย ประหยัดเวลา ผานระบบเครือขาย อินเทอรเน็ต (Internet) ดวยเทคโนโลยี 3G, 4G
หรือ Wifi และควบคุมอุปกรณตาง ๆ ผานระบบสมารทโฟน

จากงานวิจัยที่กลาวมาขางตนนี้ทางคณะผูจัดทำจึงไดคิดคน “การปลูกผักไรดินแบบครบวงจรดวย
ระบบควบคุมอัตโนมัตผิ านระบบสมารทโฟน” โดยนำมาปรับปรุงเพื่อสรางระบบการปลูกผักแบบครบวงจร
อัตโนมัติ ซึ่งระบบการปลูกผักแบบครบวงจรอัตโนมัตนิ ี้จะทำการควบคุมและดูแลผักแทนคน อีกทั้งยัง
สามารถปลูกผักไดหลากหลายชนิดเนื่องจากมีการเขียนโปรแกรมรองรับไวเรียบรอยแลว โดยมีการควบคุม
ดวยโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอรผานระบบสมารทโฟน การควบคุมนี้จะทำใหระบบการปลูกผักไรดิน
แบบครบวงจรอัตโนมัติมีความแมนยำ รวดเร็ว ปลอดภัย มีการใชงานที่งายและทันสมัย ทั้งยังทำใหระบบ
การปลูกผักแบบครบวงจรอัตโนมัติมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
บทที่ 3
วิธีการดำเนินการ

คณะผูจัดทำงานวิจัย ฯ มีแนวคิดที่จะออกแบบการปลูกผักไรดินหรือไฮโดรโปรนิกสแบบครบวงจร
ดวยอุปกรณที่เรียกวา โปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร (Programmable Controller: PLC) เปนตัวควบคุม
แบบอัตโนมัตโิ ดยใชงานรวมกับอุปกรณอินพุตและเอาตพุตทางไฟฟา เชน สวิตซ เซนเซอร ปม เปนตน โดย
สามารถสั่งงานหรือรับคำสั่งจากการเขียนโปรแกรม นำมาใชดูแลการปลูกผักไฮโดรโปรนิกสภายในฟารม
เชน กำหนดระยะเวลาการปลูก เลือกชนิดของผัก การใหสารอาหารในน้ำ การเปลี่ยนน้ำ เปนตน โดย
สามารถสั่งงานผานหนาจอสัมผัสจากบริเวณหนาฟารมหรือผานสมารทโฟนจากพื้นที่ที่สัญญาณ Wi-Fi ถึงได
มีรายละเอียดของขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้

3.1 การวางแผนขั้นตอนการดำเนินงาน
1. ดำเนินการศึกษาคนควาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการปลูกผักไรดินแบบครบวงจรดวย
ระบบควบคุมอัตโนมัติแบบโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร หลักการ ทฤษฎี ชนิดของวัสดุอุปกรณ
สิ่งประดิษฐที่เกี่ยวของ และศึกษาการใชงานการควบคุมโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร
2. วิเคราะหขอมูลจากการนำเอาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการปลูกผักไรดินแบบครบวงจร
ดวยระบบควบคุมอัตโนมัติแบบโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร มาวิเคราะหเพื่อนำขอมูลเหลานั้นมาพัฒนา
และตอยอดใหกับงานวิจัยของคณะผูจัดทำ ฯ
3. ดำเนินการออกแบบและดำเนินการปลูกผักไรดินดวยระบบควบคุมอัตโนมัตดิ วยโปรแกรมเมเบิ้ล
คอนโทรลเลอรโดยสั่งงานผานระบบสมารทโฟน ซึ่งการออกแบบของงานวิจัยนี้จะใชโปรแกรม SolidWork
เนื่องจากโปรแกรม SolidWork เปนที่นิยม ใชงานงาย และมีเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อชวยในการจำลอง
ชิ้นงานแบบ 3D ทำใหผูใชงานเห็นภาพมากขึ้น
4. กำหนดตารางการปฏิบัติงานการโครงงาน เพื่อใชเวลาใหคุมคาและเกิดประโยชนมากที่สุด แบง
งานตามความถนัดเพื่อใหงานมีคุณภาพ ทำใหลดปญหาการขัดของ
5. ดำเนินการทดสอบปลูกผักไรดินบนแปลงแบบแนวตั้งที่ไดทำการออกแบบไวดวยระบบควบคุม
อัตโนมัติแบบโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอรโดยสั่งงานผานระบบสมารทโฟน
6. ดำเนินการสรุปผลการทดลอง และแกไขปญหาที่เกิดขึน้
3.2 ศึกษาและวางแผนการทำงาน
35

ตารางที่ 3.1 ตารางการวางแผนปฏิบัติงาน


งบประมาณ 2564 ระยะขยายเวลา
กิจกรรม
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค

1. ศึกษาวิธีการปลูกผักไรดิน พฤติกรรมการเจริญเติบโต
ของผักแตละชนิด การสรางโรงเรือน การควบคุมดวย
ระบบอัตโนมัติ
2. คนหาปญหาการปลูกผักไรดินและกำหนดปญหาโดย
มุงเนนเรื ่ อ งการใช กำลั งคนและการไดผ ลผลิ ต อย า ง
สม่ำเสมอโดยการหาเอกสาร บทความที่เกี่ยวของรวมถึง
เขาไปศึกษาการปลูกผักไรดินในฟารมที่มีการปลูกในเชิง
พาณิชย ดังนั้นจึงไดคิดคนชุดควบคุมอัตโนมัติในการ
ปลูกผักไรดิน และมีการเพิ่มความสะดวกสบายในการใช
งานเพิ่มขึ้นโดยการสั่งงานผานระบบสมารทโฟน
3. ดำเนินการออกแบบโรงเรือนตัวอยาง ระบบน้ำ
หมุนเวียน และระบบอื่นๆ รวมถึงการออกแบบ
โปรแกรมควบคุมซึ่งใชกับ Mitsubishi PLC และการ
สั่งงานผานหนาจอโดยใชหนาจอสัมผัสสั่งงานและดูแล
ผักภายในโรงเรือนและออกแบบการใชงานผานทาง
สมารทโฟน
งบประมาณ 2564 ระยะขยายเวลา
36

กิจกรรม
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค

4. ดำเนินการทดลองโดยมีการเปรียบเทียบเชิงสถิติ เชน
ขนาดการเติบโตของผักทั้ง 4 ชนิด (กรีนโอค กรีนคอสโร-
เมน กรีนปตตาเวีย บัตเตอรเฮด) น้ำหนักของผักในพื้นที่
เทากัน ตนทุน เปนตน โดยเปรียบเทียบการปลูกผักไรดิน
ดวยการควบคุมผานชุดควบคุมอัตโนมัติ และการปลูก
ผักไรดินในโรงเรือนแบบเดิม
5. ดำเนินการวิเคราะหขอมูลที่ไดเพื่อนำมาหาจุดคุมทุน
ในการลงทุนทำชุดควบคุมระบบควบคุมอัตโนมัติโดยที่
ผักที่ไดมีการเจริญเติบโตเทาเดิมหรือมากกวาเดิมเมื่อ
เทียบกับการปลูกผักไรดินแบบเดิม
6. ดำเนินการสรุปผลการทดลอง ขอเสนอแนะและการ
แกไขปญหาที่เกิดขึ้น
7.ตีพิมพเผยแพรระดับชาติหรือนานาชาติและถายทอด
เทคโนโลยี
8.จัดทำรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ
37

3.3 ออกแบบการทดลอง
โดยผูจัดทำไดทำการออกแบบโรงเรือนเพาะปลูกดังรูปที่ 3.1 จะมีขนาด 2 × 2.5 × 2 เมตร
( กวาง × ยาว × สูง ) โดยอุปกรณทั้งหมดจะอยูภายใตโรงเรือนนี้

รูปที่ 3.1 โรงเรือนเพาะปลูก


แปลงเพาะปลูกมีไวสำหรับปลูกผักไฮโดโปรนิกส ดานบนจะเปนถังเก็บน้ำใชสำหรับการวนน้ำภายในระบบ

รูปที่ 3.2 แปลงเพาะปลูก


38

รูปที่ 3.3 รางเพาะปลูก

รูปที่ 3.4 แทงคเก็บน้ำ


ตูควบคุม ภายในจะมี PLC ติดตั้งอยูทำหนาที่เปนตัวควบคุมอุปกรณตางๆภายในโรงเรือน ดานหนาจะมี
สวิทซเลือกโหมดการทำงาน และไฟแสดงสถานะติดตั้งอยู พรอมปุม Emergency เมื่อเกิดเหตุการณฉุกเฉิน

รูปที่ 3.5 ตูควบคุม


39

3.4 ลงมือทำสมารทฟารมและระบบควบคุมภายในโรงเรือน

รูปที่ 3.6 โรงเรือนที่ใชคลุมรอบ ๆ ผักไฮโดโปรนิกส

รูปที่ 3.7 ชั้นวางรองรับรางปลูกผักไฮโดโปรนิกส


40

รูปที่ 3.8 รางใชสำหรับปลูกผักไฮโดโปรนิกส

รูปที่ 3.9 แทงคน้ำใชเก็บน้ำหลอเลี้ยงผักไฮโดโปรนิกส

รูปที่ 3.10 ปมน้ำใชสูบน้ำจากแทงคดานลางขึ้นไปเก็บแทงคบนในโรงเรือน


41

รูปที่ 3.11 เซนเซอรใชควบคุมระดับน้ำภายในแทงคในโรงเรือน

รูปที่ 3.12 ตูคอนโทรลใชในการสั่งการทำงานภายในโรงเรือน

รูปที่ 3.13 หนาจอทัชสกรีนใชสั่งการใหระบบทำงาน


42

รูปที่ 3.14 ปมใชสำหรับดึงน้ำไปพนหมอกภายในโรงเรือนและชั้นวางผัก

รูปที่ 3.15 หัวพนหมอกภายในโรงเรือน

รูปที่ 3.16 หัวพนหมอกภายในชั้นวางผัก


43

3.5 วิธีการใชโปรแกรม GX work 3, GT Designer 3 เบื้องตน


3.5.1 โปรแกรม GX Works3

รูปที่ 3.17 เขาโปรแกรม GX Works3

รูปที่ 3.18 เลือก Project > New


44

รูปที่ 3.19 เลือก Series > FX5CPU Type > FX5U Program Language > Ladder จากนั้นกด OK

รูปที่ 3.20 เลือก Series เริ่มทำการเขียนโปรแกรมได


45

3.5.2 โปรแกรม GT Designer 3

รูปที่ 3.21 เช็ค Series ของ GOT ที่เมนู Project New หรือ Toolbar

รูปที่ 3.22 กด Next เลือก GOT Series และ GOT Type ตาม Hardware จริง
46

รูปที่ 3.23 เลือก Manufacturer (Brand) และ Controller Type ตาม Hardware จริง

รูปที่ 3.24 (เฉพาะ GOT Hardware) กำหนด I/F (Interface) ที่ใชในการทำงาน


47

รูปที่ 3.25 (เฉพาะ GOT Hardware) กำหนด GOT IP Address (Default: 192.68.3.18)

รูปที่ 3.26 กำหนด Screen Switching Device Setting


48

รูปที่ 3.27 กำหนดรูปแบบการแสดงเฉดสีของ GOT Screen

รูปที่ 3.28 กด Finish


49

3.6 หลักการทำงานของโปรแกรมการควบคุมดวยโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร
3.6.1 หลักการทำงานของโปรแกรม (Auto Mode)

รูปที่ 3.29 คำสั่งเริ่มตนการทำงาน

รูปที่ 3.30 คำสั่งการทำงานของเซนเซอรวัดระดับน้ำ

รูปที่ 3.31 คำสั่งควบคุมระดับน้ำ


50

รูปที่ 3.32 คำสั่งเติมน้ำใสแทงค พรอมตัดการทำงานเมื่อน้ำเต็ม

รูปที่ 3.33 คำสั่งนับระยะเวลาการปลูก

รูปที่ 3.34 คำสั่งปลอยน้ำกอนเก็บเกี่ยว 7 วัน


51

รูปที่ 3.35 คำสั่งเติมน้ำเปลาเพื่อชะลางสารพิษ

รูปที่ 3.36 คำสั่งเมื่อครบระยะเวลาเก็บเกี่ยว

รูปที่ 3.37 คำสั่งหยุดการทำงาน

รูปที่ 3.38 คำสั่งการพนหมอก


52

3.6.2 หลักการทำงานของโปรแกรม (Manual Mode)

รูปที่ 3.39 คำสั่งเติมน้ำเขาแทงคบน

รูปที่ 3.40 คำสั่งพนหมอก

รูปที่ 3.41 คำสั่งปลอยน้ำทิ้ง

รูปที่ 3.42 คำสั่งปลอยน้ำเขาแทงค

3.7 การแสดงผลบนหนาจอสัมผัสและสมารทโฟน

รูปที่ 3.43 หนาจอสัมผัสแสดงผลและสั่งงาน


53

รูปที่ 3.44 หนาจอสัมผัสแสดงผลและสั่งงานผานระบบสมารทโฟน

3.8 วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ


ตารางที่3.2 รายละเอียดโครงสรางชุดปลูกผักไรดินแบบครบวงจรดวยระบบควบคุมอัตโนมัติผานระบบ
สมารทโฟน
ชิ้นสวน ขนาด จำนวน
ถังเก็บน้ำ 100 l 2 ใบ
ทอสี่ทางตั้งฉาก 1 In 13 ชิ้น
ทอสามทาง 1 In 16 ชิ้น
ทอสามทางตั้งฉาก 1 In 18 ชิ้น
รีเลย 8 cm 2 ตัว
เซ็นเซอรวัดระดับน้ำ 4 cm 4 ตัว
ตูกันน้ำฝาใส 6 × 13 × 11.5 mm 1 ใบ
เบรกเกอร 40A 7 cm 1 ชิ้น
ตูเหล็ก สวิตซบอรดแบบธรรมดา 40 × 57 × 20 mm 1 ใบ
ทอพีวีซีขนาด 1 In 16 ทอน
เหล็กฉากเจาะรู 50 cm 8 ชิ้น
เหล็กฉากเจาะรู 80 cm 8 ชิ้น
โซลินอยดวาลว 30 × 35 × 55 mm 3 ตัว
ปมน้ำ 2000 GPH 24V DC 1 ตัว
54

หนาจอสัมผัส 189 × 194 × 142 mm 1 ตัว


ชิ้นสวน ขนาด จำนวน
เหล็กฉากเจาะรู 150 cm 4 ชิ้น
ปมน้ำ 8 m 24V DC 1 ตัว
รางปลูกผัก 150 cm 6 อัน
ผาใบคลุมโรงเรือน 10 m 1 ผืน
หัวพนหมอก เบอร 3 20 อัน

3.9 วิธีการทดลอง
1. เปดน้ำเขาสูแทงคสำหรับจัดเก็บน้ำที่อยูภายในบริเวณโรงเรือน
2. เติมสารอาหารลงในแทงคจัดเก็บน้ำ โดยสารอาหารที่เติมลงไปจะขึ้นอยูกับพันธุข องผักที่ปลูก ผักแต
ละพันธุจะมีปริมาณสารอาหารที่แตกตางกัน
3. ทำการเปดระบบที่อยูภายในแปลงปลูกผัก
4. เลือกโหมดการทำงาน โดยมีทั้งหมด 2 โหมด คือโหมดออโตและโหมดแมนนวล
5. ทำการกดปุมสตารท หากเลือกโหมดออโต ระบบจะสั่งงานเองโดยอัตโนมัติ แตถาหากเลือกโหมด
แมนนวลจะตองดูแลระบบดวยตนเอง
6. ทำการทดลองไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งผักเจริญเติบโต
7. เมื่อผักเจริญเติบโตครบระยะเวลา นำผักมาวัดขนาดโดยการเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและทำการ
บันทึกผลการทดลอง
8. เมื่อผักเจริญเติบโตครบระยะเวลา และระบบไมพบขอผิดพลาด ถือวาการทดลองนั้นสำเร็จ
9. หากระบบเกิดขอผิดพลาด ใหดำเนินการปรับปรุงแกไขขอผิดพลาดใหสมบูรณ แลวทำกระบวนการ
ขอที่ 1 - 8 อีกครั้ง จนกระทั่งระบบเสร็จสมบูรณ
บทที่ 4
ผลการทดลอง

เมื่อทำการประกอบโครงสรางของชุดการปลูกผักไรดินแบบครบวงจรดวยระบบควบคุมอัตโนมัติ
ผานระบบสมารทโฟน ตามที่ออกแบบแลวทําการตรวจสอบอุปกรณ และชุดการปลูกผักไรดินแบบครบวงจร
ดวยระบบควบคุมอัตโนมัติแบบโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอรในแตละสวนใหถูกตอง เพื่อลดปญหาที่จะ
เกิดขึ้นและไมทำใหการทดลองเกิดขอผิดพลาด และปองกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับอุปกรณ สําหรับบท
นี้จะกลาวถึงผลการทดลองของการปลูกผักไรดินแบบครบวงจรดวยระบบควบคุมอัตโนมัติผานระบบสมารท
โฟนที่กําหนดไวในบทที่ 3 โดยการทดลองบันทึกผลการทดลองดังนี้
4.1 ผลจากการเปรียบเทียบการเจริญเติบโต
ตารางที่ 4.1 เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผักกรีนคอสโรเมนนอกโรงเรือน
โรงเรือนปกติ ผักชนิดที่ 1 กรีนคอสโรเมน
ความสมบูรณของ
ระยะเวลา น้ำหนัก ความกวาง ความสูง
ผัก

7 วัน 2g 1.5 cm 2 cm

15 วัน 5.5 g 4 cm 4.5 cm

30 วัน 45.6 g 10.5 cm 12 cm

50 วัน 87.3 g 22 cm 21 cm
56

ตารางที่ 4.2 เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผักไฮโดโปรนิกสในโรงเรือน

โรงเรือนอัตโนมัติ ผักชนิดที่ 1 กรีนคอสโรเมน


ความสมบูรณของ
ระยะเวลา น้ำหนัก ความกวาง ความสูง
ผัก

7 วัน 4.1 g 1.5 cm 3 cm

15 วัน 12 g 5 cm 6 cm

30 วัน 49.2 g 14 cm 18.5 cm

50 วัน 118.4 g 23.5 cm 31 cm


57

ตารางที่ 4.3 เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผักกรีนโอตในโรงเรือน

ผักชนิดที่ 2 กรีนโอต
ความสมบูรณของ
ระยะเวลา น้ำหนัก ความกวาง ความสูง
ผัก

7 วัน 2.3 g 1.5 cm 2 cm

15 วัน 11 g 6 cm 7.4 cm

30 วัน 42.2 g 15 cm 13.5 cm

50 วัน 93.9 g 24 cm 29 cm
58

ตารางที่ 4.4 เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผักปตตาเวียในโรงเรือน

ผักชนิดที่ 3 ปตตาเวีย
ความสมบูรณของ
ระยะเวลา น้ำหนัก ความกวาง ความสูง
ผัก

7 วัน 3g 1.5 cm 3 cm

15 วัน 13.2 g 4.5 cm 6 cm

30 วัน 48.6 g 15.5 cm 17.5 cm

50 วัน 98.4 g 23.5 cm 29.4 cm


59

ตารางที่ 4.5 เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผักบัตเตอรเฮตเขียวในโรงเรือน

ผักชนิดที่ 4 บัตเตอรเฮตเขียว

ความสมบูรณของ
ระยะเวลา น้ำหนัก ความกวาง ความสูง
ผัก

7 วัน 2.2 g 1.5 cm 2 cm

15 วัน 12.3 g 4.8 cm 8.6 cm

30 วัน 55.4 g 16.5 cm 13 cm

50 วัน 112.7 g 23.5 cm 27 cm

จากผลการทดลองของตารางที ่ 4.1 พบวา การปลูก ผัก กรีน คอสโรเมนภายนอกโรงเรื อ นที่


ระยะเวลาเก็บเกี่ยว 50 วัน น้ำหนัก 87.3 g ความกวาง 22 cm และความสูง 21 cm การเจริญเติบโตของ
ผักมีขนาดต่ำกวาการปลูกภายในโรงเรือน และลักษณะของใบพบปญหาโดยมีแมลงกัดกินสวนใบของผัก
เนื ่อ งจากไมมีอ ุป กรณป  องกัน แมลง และไมสามารถควบคุ ม อุณ หภูมิแ ละความชื้นสั ม พั ทธทำให ก าร
เจริญเติบโตชา เมื่อทำการเปรียบเทียบกับผลการทดลองของตารางที่ 4.2 พบวา การปลูกผักกรีนคอสโรเมน
ภายในโรงเรือนที่เปนระบบปดมีระยะเวลาเก็บเกี่ยว 50 วัน น้ำหนัก 118.4 g ความกวาง 23.5 cm และ
ความสูง 31 cm โดยที่การเจริญเติบโตของผักมีขนาดสูงกวาการปลูกผักภายนอกโรงเรือน และลักษณะของ
ใบสมบูรณไมพบปญหา เนื่องจากมีตาขายกันแมลงเพื่อปองกันแมลงและศัตรูพืช ทั้งนี้ภายในโรงเรือนยังมี
การติดตั้งระบบสเปรยน้ำพนหมอกเพื่อปรับอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธใหกับผักในระบบโดยสามารถ
60

ควบคุมใหเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของผักไดและยังปลอดสารพิษเนื่องจากเปนการเพาะปลูกในระบบ
ปด นอกจากนี้ผลการทดลองของตารางที่ 4.3, 4.4 และ 4.5 พบวา การปลูกผักชนิดอื่น ไดแก กรีนโอต
ปตตาเวีย บัตเตอรเฮตเขียว การเจริญเติบโตและความสมบูรณของผักเปนไปตามที่ตลาดตองการ
4.2 ผลอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธของผักไฮโดโปรนิกส
ตารางที่ 4.6 แสดงผลการทดลองปลูกผักอายุ 7 วัน

ชนิดของผักที่ทดลอง
รายละเอียดผลการทดลอง
กรีนคอสโรเมน กรีนโอค ปตตาเวีย บัตเตอรเฮตเขียว
อายุวันที่เก็บผลการทดลอง 7 วัน 7 วัน 7 วัน 7 วัน
ความสูงของตน 3 cm 2 cm 3 cm 2 cm
น้ำหนัก 4.1 g 2.3 g 3g 2.2 g
คาอุณหภูมิภายในโรงเรือนขณะ
32.8°C 32.8°C 32.8°C 32.8°C
เก็บผลการทดลอง
คาความชื้นสัมพัทธในโรงเรือน
86.40 % 86.40 % 86.40 % 86.40 %
ขณะเก็บผลการทดลอง
ตารางที่ 4.7 แสดงผลการทดลองปลูกผักอายุ 15 วัน

ชนิดของผักที่ทดลอง
รายละเอียดผลการทดลอง
กรีนคอสโรเมน กรีนโอค ปตตาเวีย บัตเตอรเฮตเขียว
อายุวันที่เก็บผลการทดลอง 15 วัน 15 วัน 15 วัน 15 วัน
ความสูงของตน 6 cm 7.4 cm 6 cm 8.6 cm
น้ำหนัก 12 g 11 g 13.2 g 12.3 g
คาอุณหภูมิภายในโรงเรือนขณะ 36.4°C
36.4°C 36.4°C 36.4°C
เก็บผลการทดลอง
คาความชื้นสัมพัทธในโรงเรือน
76.90 % 76.90 % 76.90 % 76.90 %
ขณะเก็บผลการทดลอง
61

ตารางที่ 4.8 แสดงผลการทดลองปลูกผักอายุ 30 วัน

ชนิดของผักที่ทดลอง
รายละเอียดผลการทดลอง
กรีนคอสโรเมน กรีนโอค ปตตาเวีย บัตเตอรเฮตเขียว
อายุวันที่เก็บผลการทดลอง 30 วัน 30 วัน 30 วัน 30 วัน
ความสูงของตน 18.5 cm 13.5 cm 17.5 cm 13 cm
น้ำหนัก 49.2 g 42.2 g 48.6 g 55.4 g
คาอุณหภูมิภายในโรงเรือนขณะ 35.7°C
35.7°C 35.7°C 35.7°C
เก็บผลการทดลอง
คาความชื้นสัมพัทธในโรงเรือน
79.30 % 79.30 % 79.30 % 79.30 %
ขณะเก็บผลการทดลอง
ตารางที่ 4.9 แสดงผลการทดลองปลูกผักอายุ 50 วัน

ชนิดของผักที่ทดลอง
รายละเอียดผลการทดลอง
กรีนคอสโรเมน กรีนโอค ปตตาเวีย บัตเตอรเฮตเขียว
อายุวันที่เก็บผลการทดลอง 50 วัน 50 วัน 50 วัน 50 วัน
ความสูงของตน 31 cm 29 cm 29.4 cm 27 cm
น้ำหนัก 118.4 g 93.9 g 98.4 g 112.7 g
คาอุณหภูมิภายในโรงเรือนขณะ 33.2°C
33.2°C 33.2°C 33.2°C
เก็บผลการทดลอง
คาความชื้นสัมพัทธในโรงเรือน
83.60 % 83.60 % 83.60 % 83.60 %
ขณะเก็บผลการทดลอง
62

4.3 ผลการประเมินคาไฟฟา
ตารางที่ 4.10 การวัดคาไฟโดยการใชวัตตมิตเตอร
ตัวอยางการบันทึก วันที่ 1
จำนวนชั่วโมง คาแรงดัน (V) คากระแส (A) คากำลังไฟฟา (W)
1 25.33 13.79 349.3
2 25.40 11.79 299.4
3 25.38 11.85 300.9
4 25.76 12.88 279.7
5 25.22 11.33 286.7
6 25.31 12.12 305.6
7 25.24 11.74 296.0
8 25.58 11.65 293.8
9 25.23 11.56 291.6
10 25.75 12.86 330.1
11 25.68 12.34 317.7
12 25.38 11.50 296.9
13 25.39 11.59 294.2
14 25.54 11.66 306.6
15 25.35 11.57 293.2
16 25.69 13.37 337.4
17 25.32 12.87 292.3
18 25.41 13.14 332.1
19 25.31 12.51 299.7
20 25.47 12.92 308.6
21 25.33 11.33 285.7
22 25.62 11.54 291.1
23 25.77 13.44 342.7
24 25.49 12.80 326.8
คาเฉลี่ย กำลังไฟฟา (W) ที่ใชใน 1 วัน 306.6
63

การคำนวณคาไฟฟาที่ใชภายในโรงเรือน

กำลังไฟฟา ( ) × เวลา (ชั่วโมง)


พลังงานไฟฟา (Unit) =

กำลังไฟฟา ( . )× (ชั่วโมง)
= = 7.3584 หนวย/วัน
คาไฟฟาหนวยละ 3.2495 บาท
คิดเปนคาไฟฟา = 7.3584 × 3.2495 = 23.9111 บาท/วัน
คิดเปนคาไฟฟา = 23.9111 × 30 = 717.333 บาท/เดือน
ดังนั้น คาใชจายการดูแลผักไฮโดโปรนิกสโดยใชระบบควบคุมอัตโนมัติ จึงมีคาใชจายที่นอยกวา โดย
ใชแรงงานคนในการดูแลผักไฮโดโปรนิกส
ตารางที่ 4.11 คาใชจายการดูแลผักไฮโดโปรนิกสโดยใชแรงงานคน
จำนวนและขนาดโรงเรือน จำนวนผักที่ได งบประมาณในการทำ คาใชจายในการดูแล
(เมตร) (กิโลกรัม) โรงเรือน (บาท) (บาท/วัน)
1 โรงเรือน (8×20) 40 65,000 300
3 โรงเรือน (24×60) 120 120,000 300
5 โรงเรือน (40×100) 200 200,000 600
10 โรงเรือน (80×200) 400 320,000 1,500
ตารางที่ 4.12 คาใชจายการดูแลผักไฮโดโปรนิกสโดยใชระบบควบคุมอัตโนมัติ
จำนวนและขนาด จำนวนผักที่ได งบประมาณในการทำ คาใชจายในการดูแล
โรงเรือน (เมตร) (กิโลกรัม) โรงเรือน (บาท) (บาท/วัน)
1 โรงเรือน (8×20) 50 100,000 20
3 โรงเรือน (24×60) 150 140,000 30
5 โรงเรือน (40×100) 250 180,000 35
10 โรงเรือน (80×200) 500 250,000 45
การสรางโรงเรือนและการใชงานชุดควบคุมการปลูกผักไรดินแบบอัตโนมัติไดทำการสรา งใน
โรงเรือ นขนาดกวาง 2 × ยาว 2.5 × สูง 2 เมตร จึงไดมีก ารประเมินใหขนาดโรงเรือนที่ใหญข ึ้นตาม
มาตรฐานที่มีการปลูกเชิงพาณิชย ซึ่งมีการเปรียบเทียบปริมาณผักที่ทำการปลูก งบประมาณการสราง
โรงเรือนที่รวมถึงชุดควบคุมอัตโนมัติ และคาใชจายในการดูแลรักษาผักไรดินพบวา งบประมาณการสราง
โรงเรือนตั้งแต 5 โรงเรือนขึ้นไป ระบบควบคุมอัตโนมัติจะคุมทุนมากกวา และมีคาใชจายในการดูแลที่ถูก
กวาการใชแรงงานคน
64

ตารางที่ 4.13 ระยะการควบคุมดวยระบบไรสายผานสมารทโฟน


ระยะหางของ Wi-Fi การสั่งงาน การแสดงผล
1-40 เมตร สั่งงานไดดี แสดงผลเร็ว
41-50 เมตร สั่งงานไดแตไมเสถียร มีการแสดงผลไดแตการเปลี่ยนแปลงชา
มากกวา 50 เมตร ควบคุมไมได ไมมีการแสดงผล
การทดสอบระยะการควบคุมดวยสมารทโฟนซึ่งไดทำการทดสอบในระบบไรสายแบบ Wi-Fi ซึ่ง
ระยะการควบคุมไดดีและการแสดงผลและการเก็บขอมูลจะทำไดเร็ว ซึ่งจะอยูที่ไมเกิน 40 เมตร แตเมื่อ
ระยะเพิ่มขึ้นอยูระหวาง 41-50 เมตร การสั่งงานจะเริ่มไมมีความเสถียรและการแสดงผลรวมถึงการเก็บ
ขอมูลจะเริ่มมีความผิดพลาด โดยระยะที่มากกวา 50 เมตรขึ้นไปจะไมสามารถสั่งงานและแสดงผลได
4.4 ถายทอดเทคโนโลยีใหกับเกษตรกร
ทำการถายทอดเทคโนโลยี เรื่อง การปลูกผักไรดินแบบครบวงจรดวยระบบควบคุมอัตโนมัติผาน
ระบบสมารทโฟนใหกับ นางประสิตา วงษสวรรค 119/26 หมู 2 ต.บา นเกาะ อ.พระนครศรีอยุธยา
จ.พระนครศรีอยุธยา 13000 เจาของฟารมผักไฮโดโปรนิกสรวมดำเนิน งานเปนที่ปรึกษาและการนำไป
ประยุกตใชงานตอโดยผานระบบออนไลน Google Meet เนื่องจากสถานการณแพรระบาดของโควิด-19

รูปที่ 4.1 การถายทอดเทคโนโลยีใหกับเจาของฟารมผักไฮโดโปรนิกส


65

รูปที่ 4.2 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเจาของฟารมผักไฮโดโปรนิกส

4.3 อภิปรายผล
จากการทดลองจะเห็นวาการเจริญเติบโตของผักไฮโปรโดนิกสภายในโรงเรือนเจริญเติบโตมากกวา
ผักไฮโปรโดนิกสภายนอกโรงเรือน เนื่องจากภายในโรงเรือนมีปมพนหมอก เพื่อปรับอุณหภูมิใหกับผักไฮ
โดโปรนิกส และมีตะขายกันแมลง เพื่อปองกันแมลงและศัตรูพืช ทั้งนี้เนื่องจากเปนการปลูกผักไฮโดโปรนิกส
และปลอดสารพิษเพราะปลูก ในระบบปด ที่สามารถควบคุมอุณหภูมิและความชื้นใหเหมาะสมกับ การ
เจริญเติบโตของผักแตละชนิดได โดยวัดจากความสมบูรณโดยรวม ความกวาง ความสูง ปริมาณของผัก
ภายในโรงเรือนมีปริมาณที่มากกวาผักที่ปลูกจากภายนอกโรงเรือน และงบประมาณในการทำโรงเรือนดวย
ระบบควบคุมอัตโนมัติจะถูกกวาเมื่อทำตั้งแต 5 โรงเรือนขึ้นไปเนื่องจากอุปกรณที่ใช เชน ระบบควบคุม
อัตโนมัติแบบโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร สามารถควบคุมไดทั้งหมดภายในโรงเรือน และคาใชจายมี
ตนทุนนอยกวาเมื่อเทียบกับการใชแรงงานคน เนื่องจากการใชระบบอัตโนมัติในการควบคุมอัตโนมัติผาน
ระบบสมารทโฟน จึงคิดเพียงคาไฟอยางเดียว
67

บทที่ 5
สรุปผลการวิจัย

จากการที่ไดเริ่มจัดทำชุดปลูกผักไรดินแบบครบวงจรดวยระบบควบคุมอัตโนมัติการปลูกผักไรดิน
แบบครบวงจรควบคุมดวยระบบอัตโนมัติที่ใชโปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรลเลอรควบคุมผานสมารทโฟน
โดยทำการศึกษาองคประกอบตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับทฤษฎีที่ใชงานตลอดจนนำไปสูการออกแบบและสราง
ชุดปลูกผักไรดินแบบครบวงจรดวยระบบควบคุมอัตโนมัติดวยโปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรลเลอรควบคุม
ผานสมารทโฟน ที่สามารถทำงานไดตามจุดประสงคเมื่อทำการทดสอบประสิทธิภาพการทำงานของระบบ
ควบคุมอัตโนมัติ และการทดลองเก็บผลการเจริญเติบโตของผักไฮโปรโดนิกสจนกระทั่งไดผลการทดลองเพื่อ
นำมาทำการวิเคราะหขอมูลที่ไดรับจนสามารถสรุปและไดขอเสนอแนะตามลำดับดังนี้

5.1 สรุปผลการวิจัย
จากการที่ไดจัดทำชุดการปลูกผักไรดินแบบอัตโนมัติดวยโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอรควบคุม
ผานสมารทโฟนขึ้นมาและไดทำการทดสอบการทำงานของชุดปลูกผักไรดินแบบครบวงจรดวยโปรแกรมเม
เบิ้ลคอนโทรลเลอรควบคุมผานสมารทโฟน จากการทดลองการทำงานของชุดปลูกผักไรดินแบบครบวงจร
ดวยระบบควบคุมอัตโนมัติ โดยทำการเก็บผลการเจริญเติบโตของผักไฮโปรโดนิกส ทำใหไดขอสรุปดังนี้
5.1.1 ผลการเจริญเติบโตของผักไฮโดโปรนิกสภายในโรงเรือนมีการเจริญเติบโตเทากับโรงเรือนแบบ
ปกติ แตโรงเรือนที่มีการใชชุดโปรแกรมควบคุมอัตโนมัติดวโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอรมีคาใชจายในการ
ดูแลที่ต่ำกวาเมื่อเทียบกับคาไฟฟามีการใชไฟฟาตอเดือนที่ 220.752 หนวย คิดเปน 717.333 บาท โดย
คำนวณจากประเภทที่อยูอาศัย อัตราปกติ
5.1.2 การลงทุนปลูกผักไรดินดวยชุดการปลูกผักไรดินแบบอัตโนมัติจะทำใหประหยัดคาใชจายในการ
ดูแลเมื่อเทียบกับระบบที่ใชแรงงานคน และงบประมาณการลงทุนที่ 5 โรงเรือนขึ้นไปจึงจะคุมทุนเมื่อเทียบ
กับการใชคนดูแล
5.1.3 ระบบสามารถจัดเก็บขอมูลเปนสถิติยอนหลังโดยสามารถทำการบันทึกไวเพื่อนำมาปรับปรุงให
เหมาะสมได
5.1.4 โปรแกรมทีไ่ ดทำการออกแบบดวยโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอรสามารถนำมาใชงานกับระบบ
การปลูกผักไรดินไดจำนวนมากดวยการควบคุมเพียง 1 อุปกรณและมีการปรับปรุงหรือแกไขทำไดงาย
ทนทานตอสภาวะแวดลอมตางๆ
5.1.5 การสั่งงานและการดูคา ตางๆ ผานระบบสมารทโฟนทำไดสะดวก แตระยะของสัญญาณ Wi-Fi มี
ผลตอความเร็วในการตอบสนองของระบบการควบคุมผานระบบอัตโนมัติ

5.2 ขอเสนอแนะ
5.3.1. ควรปรับปรุงระบบของโรงเรือนการปลูกผักไรดินเพื่อใหสามารถระบายอากาศและทำใหอากาศ
ภายในโรงเรือนถายเทไดมากขึ้น
5.3.2. ควรติดตั้งพัดลมระบายความรอนใหกับตูควบคุมอุปกรณเพื่อยืดอายุการใชงานของอุปกรณใน
ระบบอัติโนมัติ
5.3.3 ควรมีการออกแบบโรงเรือนโดยการเพิ่มการบังแสงเพื่อลดอุณหภูมิภายในโรงเรือนไมใหสูง
จนเกินไปจนทำใหระบบสเปรยน้ำทำงานตลอดเวลาในบางชวงเวลา
67

5.3.5 การสั่งงานผานสมารโฟนดวยระบบ Fi-Wi บางพื้นที่ที่มีผนังกั้นทำไดยาก ไมเสถียร ควรมีการทำ


ศึกษาระบบเครือขายเพื่อใหสามารถใชงานไดทุกพื้นที่เพิ่มขึ้น

5.3 ปญหาและอุปสรรคในการทำงานวิจัย
5.2.1 แหลงน้ำที่ใชงานมีลักษณะที่ไหลไมสม่ำเสมอทำใหระบบพนสเปรยหมอกภายในโรงเรือนไม
ทำงานบางชวง สงผลใหไมสามารถควบคุมอุณหภูมิไดใบบางชวงเวลา
5.2.2 เนื่องจากสถานการณโควิด-19 สงผลใหการสั่งทำอุปกรณและการจัดซื้ออุปกรณตางๆ ทำได
ลาชากวากำหนด
5.2.3 เนื่องจากสภาพแวดลอมที่ติดตั้งตูควบคุมระบบมีอุณหภูมิภายนอกสูง ทำใหอุปกรณมีอายุการใช
งานสั้นลงและบางชวงเวลาเกิดปญหาการหยุดของโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร
5.2.4 สภาพอากาศแตละวันไมเทากัน ทำใหการควบคุมตัวแปรตางๆ ภายในโรงเรือนทำไดยาก สงผล
ตอการเจริญเติบโตของผัก
บรรณานุกรม

นราธิป ทองปาน และธนาพัฒน เที่ยงภักดี. (2559). ระบบรดน้ำอัตโนมัติผา นเครือขายเซ็นเซอรไรสาย.


วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม. ปที่ 3, ฉบับที่ 1 มกราคม –
มิถุนายน 2559, หนา 34-42.
ลักขณา บรรณวัฒน และคณะ. (2560). ระบบติดตามและดูแลการเจริญเติบโตแคนตาลูปไฮโดรโปนิกส
แบบอัตโนมัต.ิ การประชุมวิชาการเครือขายวิศวกรรมไฟฟา ครั้งที่ 10. หนา 639-642.
ศศิมาภรณ มงคลพิทักษและ ทวีพล ซื่อสัตย. (2559). ระบบควบคุมอัตโนมัติที่ติดตามสภาพแวดลอม
เพื่อการเกษตรผานสมารทดีไวซ. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งที่ 54.
หนา 638-645.
V. Palande, A. Zaheer and K. George. (2018). Fully automated hydroponic system for
indoor plant growth. 2017 International Conference on Identification, Information
and Knowledge in the Internet of Things. Procedia Computer Science 129. pp 482–
488.
ระบบควบคุมอัตโนมัติที่ติดตามสภาพแวดลอมเพื่อการเกษตรผานสมารทดีไวซ. [ออนไลน] 2563.
[สืบคนเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2020]. จาก
http://www.lib.ku.ac.th/KUCONF/2560/KC5411048.pdf
วรรณรัช สันติอมรทิตและคณะ.ศึกษาเทคโนโลยีระบบไรสายในการรดน้ำของเกษตรกรดวยระบบรดน้ำ
อัตโนมัติ 2553.คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. [สืบคนเมื่อวันที่ 19
มีนาคม 2020]. จาก http://itm-journal.rmu.ac.th/journal/super20170109133659.pdf
นางสาวธนัยพร กำจร. การใช เ ซนเซอรต รวจสอบการวัด อุณ หภูม ิ ความชื ้ น 2563. มหาวิทยาลั ย
อุบลราชธานี. [สืบคนเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2020].จาก http://www.agri.ubu.ac.th/mis/seminar
upload/53.pdf
ลักขณา บรรณวัฒน และคณะ “ระบบติดตามและดูแลการเจริญเติบโตแคนตาลูปไฮโดรโปนิกสแบบ
อั ต โนมั ติ ” (2560).การประชุ มวิ ช าการเครื อ ข า ยวิ ศ วกรรมไฟฟ า ครั ้ ง ที ่ 10. [สื บ คน เมื ่อ วันที่
21 มีนาคม 2020].639-642.
โปรแกรมเมเบิ ้ ล ลอจิ ก คอนโทลเลอร . [ออนไลน ] 2563. [สื บ ค น เมื ่ อ วั น ที ่ 19 มี น าคม 2020].
จาก http://www.advance-electronic.com/blog/detail/113/th/PLC
เซนเซอร. [ออนไลน] 2563. [สืบคนเมื่อวันที่19 มีนาคม 2020]. จาก
http://www.foodnetworksolution.com/ wiki/word/4340/sensor
ระบบเครือ ขา ยไรสาย (Wireless LAN Technology). [ออนไลน] 2563.[สืบคนเมื่อวันที่ 19 มีนาคม
2020]. จาก https://www.dol.go.th/it/Pages/
ความเปนมาของโปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรล. [ออนไลน] 2557. [สืบคนเมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2564].
จาก http://know2learning.blogspot.com/2014/07/blog-post.html
การปลูกพืช ดว ยระบบไฮโดรโปนิกส [ออนไลน] 2555. [สืบ คนเมื่ อวันที่ 16 มีนาคม 2564]. จาก
http://hydroponicscool.blogspot.com/2012/05/hydroponics_330.html
พีรวิชญ จุลพันธ และ พิรายุ จุลพันธ. ชุดปลูกผักไฮโดรโปนิกส.[ออนไลน] 2561. [สืบคนเมื่อวันที่ 18
มีนาคม 2564]. จาก https://dspace.rmutk.ac.th/bitstream/handle/123456789/2422
ประวัติคณะผูวิจัย

ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย) นางสาววราภรณ ลือใจ


ชื่อ -นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) Miss Waraporn Luejai
ตาแหนงปจจุบัน อาจารย
หนวยงานและสถานที่อยูที่ติดตอ สาขาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร
ศูนยพระนครศรีอยุธยา หันตรา
ประวัติการศึกษา
ปที่จบ ระดับ อักษรยอ สาขาวิชาเอก ชื่อสถาบัน ประเทศ
การศึกษา ปริญญา ปริญญา
ปริญญาตรี วศ.บ วิศวกรรมไฟฟา ม.เทคโนโลยีสุรนารี ไทย
ปริญญาโท วศ.ม วิศวกรรมไฟฟา ม.เทคโนโลยีพระจอม ไทย
เกลาพระนครเหนือ
สาขาวิชาการที่มีความชานาญพิเศษ (แตกตางจากวุฒิการศึกษา) ระบุสาขาวิชาการ
การควบคุมระบบงานอุตสาหกรรมแบบอัตโมมัติและเครื่องมือวัด การออกแบบโปรแกรมและ
แอปพลิเคชั่นในงานวิศวกรรม การประเมินความเสี่ยงของสายสงไฟฟาแรงสูงและอุปกรณในสถานี
ไฟฟาแรงสูง
ผลงาน บทความวิจัยที่ไดรับการเผยแพร
[1] วราภรณ ลือใจ, วารุณี ศรีสงคราม “ชุดควบคุมการปลูกผักไรดินแบบอัตโนมัติดวยโปรแกรม
เมเบิ้ลคอนโทรลเลอรควบคุมผานสมารทโฟน”, การประชุมวิชาการเครือขายวิศวกรรมไฟฟาครั้ง
ที่13 (EENET 2021), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา (ออนไลน), 12-14 พฤษภาคม
2564, หนา 229-232.
[2] WarapornLuejai, “ Automated Storage and Retrieval System using FIFO Method
via PLC-integrated Human Machine Interface”, ECTI- CON 2021 International
Conference, Chiang Mai, Thailand, 19-22 May 2021.
[3] WarapornLuejai, Warunee Srisongkram, “Demonstration of Production System
and Automation Controller for Industrial 4. 0 using PLC”, ECTI- CON 2019
International Conference, D Varee Jomtein Pattaya Beach, Pattaya, Thailand, 10-13
July.2019
[4] วราภรณ ลือใจ, วารุณี ศรีสงคราม “การประเมินสภาพลูกถวยฉนวนของสายสงไฟฟาแรงสูง
โดยใชงานผานเว็บเว็บแอพพลิเคชั่น”, การประชุมวิชาการเครือขายวิศวกรรมไฟฟาครั้งที่11
(EENET 2019), โรงแรมกรุงศรีริเวอร อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, 15-
17 พฤษภาคมพ.ศ. 2562
[5] วราภรณ ลือ ใจ, วารุณี ศรีส งคราม “การพัฒนาซอฟตแวรประเมินสภาพสายตัวนำและ
อุปกรณประกอบของสายสงไฟฟาแรงสูง”, การประชุมวิชาการเครือขายวิศวกรรมไฟฟาครั้งที่10
(EENET 2018), โรงแรมราชศุ ภ มิ ต รอาร . เอส. โฮเต็ ล (R.S. Hotel) อำเภอเมื อ ง จั ง หวั ด
กาญจนบุร,ี 1-3 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
ประวัติคณะผูวิจัย

ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย) นายนธี ศรีจริยา


ชื่อ -นามสกุล (ภาษาอังกฤษ)
ตาแหนงปจจุบัน นักศึกษา
หนวยงานและสถานที่อยูที่ติดตอ สาขาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร
ศูนยพระนครศรีอยุธยา หันตรา
ประวัติการศึกษา
ปที่จบ ระดับ อักษรยอ สาขาวิชาเอก ชื่อสถาบัน ประเทศ
การศึกษา ปริญญา ปริญญา
2564 ปริญญาตรี วศ.บ วิศวกรรมไฟฟา ม.เทคโนโลยีราช ไทย
มงคลสุวรรณภูมิ

สาขาวิชาการที่มีความชานาญพิเศษ (แตกตางจากวุฒิการศึกษา) ระบุสาขาวิชาการ


การควบคุมระบบอัตโนมัติ................................................................................................................

You might also like