You are on page 1of 77

การพัฒนาโปรแกรมเล่นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์

นางสาวกรณิ การ์ ชูตระกูลธรรม

ปั ญหาพิเศษนี เป็ นส่ วนหนึงของการศึกษาตามหลักสู ตร


วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนื อ
ปี การศึกษา 2555
ลิขสิ ทธิ/ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ชือ : นางสาวกรณิ การ์ ชูตระกูลธรรม
ชือปั ญหาพิเศษ :การพัฒนาโปรแกรมเล่นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิ บตั ิการ
แอนดรอยด์
สาขาวิชา : เทคโนโลยีสารสนเทศ
: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนื อ
อาจารย์ทีปรึ กษาปั ญหาพิเศษ : อาจารย์จีระศักดิ นําประดิ ษฐ์
ปี การศึกษา : 2555

บทคัดย่ อ
บทคัดย่ อภาษาไทย
ปั ญ หาพิ เ ศษฉบับ นี* มี ว ัต ถุ ป ระสงค์ เ พื อ พัฒ นาโปรแกรมเล่ น ดนตรี ไทยบนแท็ บ เล็ ต
ระบบปฏิ บตั ิการแอนดรอยด์ โดยโปรแกรมนี* ถูกพัฒนาเพือช่ วยให้การเล่ นดนตรี ไทยเป็ นเรื องที
สะดวกสบายและง่ายสําหรับผูท้ ีใช้งาน โดยผูใ้ ช้งานสามารถเล่นดนตรี ได้ตลอดเวลาเพียงมีแท็บ
เล็ตระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์ โดยโปรแกรมประกอบด้วยเครื องดนตรี 3 ชนิ ด คือ ระนาดเอก
ระนาดทุม้ และฆ้องวงใหญ่ ซึ งผูใ้ ช้สามารถเล่นพร้อมกับเสี ยงเครื องประกอบจังหวะ มีโน้ตเพลง
ดนตรี ไทยทีผใู ้ ช้งานสามารถฟังเพลงตัวอย่างได้และประวัติของเครื องดนตรี แต่ละชนิด
ระบบพัฒนาขึ%นในลักษณะของโปรแกรมแอพพลิเคชัน+ พัฒนาโปรแกรมโดยใช้ภาษาจาวา
จากการประเมินความพึงพอใจของโปรแกรมโดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม
ผูเ้ ชี+ ยวชาญ 3 คน จากแบบประเมินได้ค่าเฉลี+ยเท่ากับ 4.39 และ ค่าส่ วนเบี+ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ
0.54 และ จากผูใ้ ช้งานจํานวน 30 คน ได้ค่าเฉลี+ยท่ากับ 4.33 และค่าส่ วนเบี+ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ
0.66 จากผูใ้ ช้โปรแกรมสรุ ปได้วา่ ระบบที+พฒั นาขึ%นนี%มีประสิ ทธิ ภาพสู งและมีความพึงพอใจมาก
( ปั ญหาพิเศษมีจาํ นวนทั*งสิ* น 68 หน้า )

_________________________________________________อาจารย์ทีปรึ กษาปั ญหาพิเศษ



Name : Miss Kornnika Chootragoontam

Special Problem Title : The Development of Thai Musical on Tablet for Android Application

Major : Information Technology

** :*King Mongkut’s University of Technology North Bangkok

Special Problem Advisor : Mr.Jeerasak Numpradit

Academic Year : 2012

Abstract
บทคัดย่ อภาษาอังกฤษ
This aim of this special problem was to develop a Thai musical application for Android-
based electronic tablets with the Android operating system. This program was developed to allow
users to play along with Thai songs anywhere and anytime. The program consists of three types
of musical instrument : xylophone, alto bamboo xylophone, and gong. Users can play along with
the rhythm and read Thai musical notes at the same time. Moreover, this system has a play back
feature, and history archive of each instrument. This program is in the form of a tablet application
developed using the Java language.
This study was evaluated by 3 experts and 30 general users focusing on satisfaction levels.
The average value from experts equaled 4.39 with a standard deviation of 0.54. The average value
from general users equaled 4.33 with a standard deviation of 0.66. In conclusion, the developed
application gained high levels of satisfaction from all users and achieved development goals
successfully
(Total 68 pages)

________________________________________________________________________Advisor

กิตติกรรมประกาศ

ผูจ้ ดั ทําขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์จีระศักดิ นําประดิษฐ์ อาจารย์ทีปรึ กษาปั ญหาพิเศษที


ได้ให้ความรู ้ให้คาํ แนะนํา และอาจารย์ ดร.ทิพยา จินตโกวิท คณะกรรมการทีปรึ กษาปั ญหาพิเศษที
กรุ ณาให้คาํ ปรึ กษาตลอดจนตรวจสอบและแก้ไขข้อบกพร่ องจนปั ญหาพิเศษ ฉบับนี-สําเร็ จลุล่วงไป
ด้วยดี และขอขอบคุณผูเ้ ชี ยวชาญทุกท่าน ทีได้กรุ ณาตรวจสอบแก้ไข พร้อมข้อเสนอแนะ จนทํา
ให้ปัญหาพิเศษนี-มีความสมบูรณ์ยงิ ขึ-น
ขอขอบพระคุ ณ คณะผู ้เ ชี ย วชาญและผู ้ใ ช้ ง านทุ ก ท่ า นที ไ ด้ ส ละเวลาในการประเมิ น
โปรแกรมนี- อย่างละเอียดถี ถว้ น และได้ให้ขอ้ เสนอแนะในการแก้ไขปรับปรุ งโปรแกรมนี- เพือทีจะ
ได้นาํ ไปใช้งานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
สุ ดท้ายนี- ขอขอบพระคุณบิดา มารดา รวมถึงเพือนทุกท่าน และผูท้ ีไม่ได้กล่าวนามทุกท่าน
ทีช่วยเหลือและเป็ นกําลังใจในการดําเนินงานจนปั ญหาพิเศษฉบับนี-สาํ เร็ จลุล่วงไปได้ดีทุกประการ

กรณิ การ์ ชูตระกูลธรรม


สารบัญ

หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย ข
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ค
กิตติกรรมประกาศ ง
สารบัญ จ
สารบัญตาราง ช
สารบัญภาพ ซ
บทที# 1 บทนํา 1
1.1 ความเป็ นมาและความสําคัญของปั ญหา 1
1.2 วัตถุประสงค์ 2
1.3 สมมุติฐานการวิจยั 2
1.4 ขอบเขตงานวิจยั 2
1.5 ประโยชน์ที#คาดว่าจะได้รับ 3
บทที# 2 ทฤษฎีและงานวิจยั ที#เกี#ยวข้อง 4
2.1 ทฤษฎีเกี#ยวกับดนตรี ไทย 4
2.2 ระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์ 9
2.3 งานวิจยั ที#เกี#ยวข้อง 14
บทที# 3 วิธีการดําเนิ นงาน 17
3.1 การศึกษาข้อมูลและวิเคราะห์ระบบ 17
3.2 การออกแบบระบบ 17
3.3 การออกแบบหน้าจอผูใ้ ช้งาน 24
3.4 การพัฒนาระบบ 29
3.5 การประเมินผลระบบ 29
3.6 สถิติที#ใช้ในงานวิจยั 30
บทที# 4 ผลดําเนินงาน 32
4.1 ผลการพัฒนาระบบ 32
4.2 ผลประเมินความพึงพอใจของระบบ 38
บทที# 5 สรุ ปผลและข้อเสนอแนะ 44


สารบัญ (ต่ อ)

หน้า
5.1 สรุ ปผลการดําเนินงาน 44
5.2 สรุ ปผลการประเมินความพึงพอใจ 44
5.3 ข้อเสนอแนะ 45
เอกสารอ้างอิง 46
ภาคผนวก ก 48
หนังสื อแต่งตัFงผูเ้ ชี#ยวชาญประเมินความพึงพอใจระบบ 49
ภาคผนวก ข 52
รายนามผูเ้ ชี#ยวชาญประเมินระบบ 53
ภาคผนวก ค 54
แบบประเมินความพึงพอใจสําหรับผูเ้ ชี#ยวชาญ 55
แบบประเมินความพึงพอใจสําหรับผูใ้ ช้งาน 58
ภาคผนวก ง 61
คู่มือการใช้งาน 62
ประวัติผจู ้ ดั ทําปั ญหาพิเศษ 68


สารบัญตาราง

ตารางที# หน้า
002-1 การตีฉ#ิ งตามอัตราจังหวะของดนตรี ไทย 5
003-1 คําอธิ บายฟังก์ชนั# การเลือกเครื# องระนาดเอก 19
003-2 คําอธิ บายฟังก์ชนั# การเลือกเครื# องระนาดทุม้ 19
003-3 คําอธิ บายฟังก์ชนั# การเลือกเครื# องฆ้องวงใหญ่ 20
003-4 คําอธิ บายฟังก์ชนั# การเลือกแสดงโน้ตดนตรี ไทย 20
003-5 คําอธิ บายฟังก์ชนั# การชมประวัติดนตรี ไทย 21
003-6 เกณฑ์การให้คะแนนของแบบประเมินผลความพึงพอใจ 30
003-7 เกณฑ์การแปลผลของแบบประเมินผลความพึงพอใจ 30
004-1 ความพึงพอใจด้านความสามารถระบบตรงตามความต้องการของผูเ้ ชี#ยวชาญ 38
004-2 ความพึงพอใจด้านความถูกต้องในการทํางานของผูเ้ ชี#ยวชาญ 39
004-3 ความพึงพอใจด้านการใช้งานของระบบของผูเ้ ชี#ยวชาญ 39
004-4 ความพึงพอใจการออกแบบหน้าจอของผูเ้ ชี#ยวชาญ 40
004-5 ความพึงพอใจด้านความสามารถระบบตรงตามความต้องการของผูใ้ ช้งาน 41
004-6 ความพึงพอใจด้านความถูกต้องในการทํางานของผูใ้ ช้งาน 41
004-7 ความพึงพอใจด้านการใช้งานของระบบของผูใ้ ช้งาน 42
004-8 ความพึงพอใจการออกแบบหน้าจอของผูใ้ ช้งาน 42


สารบัญภาพ

ภาพที# หน้า
002-1 สถาปั ตยกรรม Android 10
002-2 สัญลักษณ์ของแอนดรอยด์ 10
002-3 Android Application Framework 11
002-4 Android Runtime 12
002-5 Linux Kernel 13
002-6 หน้าจอของแอพพลิเคชัน Piano Free with Songs บนระบบปฏิบตั ิการ iOS 15
002-7 หน้าจอแอพพลิเคชันOmniano-Piano Concert บนระบบปฏิบตั ิการ Window Phone 16
003-1 ยูสเคสไดอะแกรมของโปรแกรมเล่นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ต 18
003-2 Sequence Diagram เลือกเครื# องดนตรี ระนาดเอก 21
003-3 Sequence Diagram เลือกเครื# องดนตรี ระนาดทุม้ 22
003-4 Sequence Diagram เลือกเครื# องดนตรี ฆอ้ งวงใหญ่ 22
003-5 Sequence Diagram โน้ตเพลงดนตรี ไทย 23
003-6 Sequence Diagram ประวัติดนตรี ไทย 23
003-7 หน้าจอเมนูหลักของระบบ 24
003-8 หน้าจอเล่นเครื# องดนตรี ระนาดเอก 24
003-9 หน้าจอเล่นเครื# องดนตรี ระนาดทุม้ 25
003-10 หน้าจอเล่นเครื# องดนตรี ฆอ้ งวงใหญ่ 25
003-11 หน้าจอชมประวัติดนตรี ไทย 26
003-12 หน้าจอประวัติระนาดเอก 26
003-13 หน้าจอประวัติระนาดทุม้ 27
003-14 หน้าจอประวัติฆอ้ งวงใหญ่ 27
003-15 หน้าจอชมโน้ตดนตรี ไทย 28
003-16 หน้าจอแสดงโน้ตเพลง 28
004-1 หน้าจอหน้าแรกของโปรแกรม 32
004-2 หน้าจอระนาดเอก 33
004-3 หน้าจอระนาดเอกและดนตรี ประกอบแบบชัFนเดียว 33
004-4 หน้าจอระนาดทุม้ 34


สารบัญภาพ (ต่ อ)

ภาพที# หน้า
004-5 หน้าจอระนาดทุม้ และดนตรี ประกอบแบบสองชัFน 34
004-6 หน้าจอฆ้องวงใหญ่ 35
004-7 หน้าจอฆ้องวงใหญ่และดนตรี ประกอบแบบสามชัFน 35
004-8 หน้าจอรายการโน้ตดนตรี ไทย 36
004-9 หน้าจอแสดงโน้ตดนตรี ไทยและฟังเสี ยงดนตรี 36
004-10 หน้าจอประวัติดนตรี ไทย 37
004-11 หน้าจอแสดงประวัติของระนาดทุม้ 37
00ง-1 หน้าจอแสดงไอคอนของระบบ 62
00ง-2 ผูใ้ ช้ระบบเข้าเมนูหลัก 63
00ง-3 เล่นระนาดเอก 64
00ง-4 เล่นระนาดทุม้ 64
00ง-5 เล่นฆ้องวงใหญ่ 65
00ง-6 เลือกชมประวัติดนตรี ไทย 66
00ง-7 รายละเอียดประวัติดนตรี ไทย 66
00ง-8 เลือกชมโน้ตดนตรี ไทย 67
00ง-9 เลือกจังหวะดนตรี ประกอบเครื( องดนตรี 67


1

บทที1
บทนํา

1.1 ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปัญหา**


****ยุ ค ที เ ทคโนโลยี พ ั ฒ นาไปอย่ า งรวดเร็ วนั น ผู ้ ค นสมั ย ใหม่ ไ ด้ ใ ส่ ใจกั บ เรื องของ
ศิลปะวัฒนธรรมไทยน้อยลงซึ งดนตรี ไทยเป็ นวัฒนธรรมประจําชาติไทยซึ งแสดงให้เห็นถึ งความ
เจริ ญรุ่ งเรื องของวัฒนธรรมรวมถึ งภูมิปัญญาของบรรพบุรุษไทยดนตรี ไทยมีความเกี ยวข้องกับคน
ทุกชนชันพระมหากษัตริ ยไ์ ทยทุกพระองค์ไม่วา่ อดีตจนถึงปั จจุบนั ทรงให้ความสําคัญกับดนตรี ไทย
เป็ นอย่างยิ งดังที พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ ัวได้ทรงพระราชนิ พนธ์เกี ยวกับดนตรี ไทย
(กระทรวงศึกษาธิ การ 2506 : 205-206) ไว้วา่
ชนใดไม่มีดนตรี กาล ในสันดานเป็ นคนชอบกลนัก
อีกใครฟังดนตรี ไม่เห็นเพราะ เขานันเหมาะคิดขบถอัปลักษณ์
ฤาอุบายมุ่งร้ายฉมังนัก มโนหนักมืดมัวเหมือนราตรี
และดวงใจย่อมดําสกปรก ราวนรกชนเช่นกล่าวมานี
ไม่ควรใครไว้ใจในโลกนี เจ้าจงฟังดนตรี เถิดชื นใจ
****จากพระราชนิ พนธ์ดงั กล่าวแสดงให้เห็นว่าพระมหากษัตริ ยไ์ ทยทรงให้ความสนใจกับดนตรี
ไทยอย่างยิ งแต่เนื องจากขนาดของเครื องดนตรี ไทยที มีขนาดใหญ่ยากต่อการพกพาไปได้ทุกที และ
ราคาของดนตรี ไทยแต่ละชนิ ดมีราคาสู งจึงทําให้คนเลื อกที จะสนใจกับเครื องดนตรี สากลประเภท
อื นที มีความสะดวกสบายในการพกพามากกว่า
****ในปั จจุบนั นันเทคโนโลยีน นั ได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ วโดยหนึ งในอุปกรณ์ทนั สมัยที ได้เกิด
ขึนมานันคือสมาร์ ทโฟน (Smartphone) และแท็บเล็ต (Tablet) ด้วยความอัจฉริ ยะและความสามารถ
ต่างๆที มีมากมายรอบด้านของสมาร์ ทโฟนและแท็บเล็ตจึงกระจายสู่ ผใู ้ ช้ทุกเพศทุกวัยอย่างรวดเร็ ว
เรี ยกได้วา่ ทุกคนจะต้องมีสมาร์ ทโฟนหรื อแท็บเล็ตติดตัวผู ้
****ผูจ้ ัด ทํา ปั ญหาพิ เ ศษจึ ง มี ค วามมุ่ ง หวัง ว่า ควรที จ ะนํา เครื อ งดนตรี ไ ทยมาใส่ ใ นเทคโนโลยี
สมัย ใหม่ คื อ แท็บเล็ ตเนื องจากเห็ นถึ งประโยชน์ ก ับเด็ กซึ งรั ฐบาลมี นโยบายให้แท็บเล็ ตกับเด็ ก
นักเรี ยนทุกคนในการเรี ยนจึงได้พฒั นามาเพื อให้สามารถเข้าถึงได้และยังช่วยให้เด็กไทยหันกลับ
สนใจกับ ศิล ปะวัฒ นธรรมไทย และยัง เหมาะกับ ผูท้ ี ตอ้ งการจะเรี ยนรู ้ ด้วยตนเองเพราะว่า ไม่
2

จําเป็ นต้องไปซื อเครื องดนตรี และสามารถเล่นได้ทุกที เนื องจากแท็บเล็ตมีขนาดที เล็กและนําหนัก


ไม่มากทําให้เข้าถึงได้จากผูค้ นทุกเพศทุกวัยในปั จจุบนั
****ดังนันจากปั ญหาข้างต้นผูว้ ิจยั จึงพัฒนาโปรแกรมเล่นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิ บตั ิการ
แอนดรอยด์ เ พื อ สะดวกในการพกพาและเพื อ เป็ นการใช้ เ ทคโนโลยี อ ย่า งเกิ ด ประโยชน์ แ ละ
สร้ างสรรค์โดยเน้นไปที ระบบปฏิ บตั ิการแอนดรอยด์ (Android Operating System) เพราะแอน
ดรอยด์ยงั มีโปรแกรมแกรมที เปิ ดเผยซอฟต์แวร์ ตน้ ฉบับ (Open Source)

1.2 วัตถุประสงค์
****1.2.1**เพื อพัฒนาโปรแกรมเล่นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์
****1.2.2**เพื อ ประเมิ น ความพึ ง พอใจของผู ้ ใ ช้ ง านโปรแกรมเล่ น ดนตรี ไทยบนแท็ บ เล็ ต
ระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์

1.3 สมมุติฐานการวิจัย
****ผูใ้ ช้งานมีความพึงพอใจในการใช้งานโปรแกรมเล่นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิบตั ิการ
แอนดรอยด์ที พฒั นาขึนอยูใ่ นระดับดี
H0 :μ≥ 3.51
H1 :μ< 3.51
****μคือ ค่าเฉลี ยที ได้จากการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้งานที มีต่อการใช้งานโปรแกรม
เล่นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์

1.4 ขอบเขตงานวิจัย
****การพัฒนาโปรแกรมเล่นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ตบนระบบปฏิบตั ิการ Android 2.3 Gingerbread
มีรูปแบบการใช้งานเหมาะสําหรับเด็กการออกแบบโปรแกรมเน้นรู ปภาพเพื อง่ายต่อการจดจําของ
เด็ก มีการอธิ บายการเล่นของเครื องดนตรี แต่ละชนิดเป็ นการสอนความรู ้เบืองต้นและเทคนิ คในการ
เล่นดนตรี ไทย
****ขอบเขตและความสามารถของโปรแกรมเล่ นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิ บตั ิ การแอน
ดรอยด์มีดงั ต่อไปนี
****1.4.1**สามารถเล่นเครื องดนตรี ไทยประกอบด้วย 3 ชินคือระนาดเอกจํานวนโน้ต 21 ตัว
ระนาดทุม้ จํานวนโน้ต 18 ตัวและฆ้องวงใหญ่จาํ นวนโน้ต 16 ตัว
****1.4.2**สามารถบอกถึงประวัติความเป็ นมาของดนตรี ไทยและเครื องดนตรี ไทยแต่ละชนิด
****1.4.3**มีการสอนไล่โน้ตและลักษณะการจับคู่ในการตีของเครื องดนตรี แต่ละชนิด
3

****1.4.4**สามารถเล่นดนตรี ไทยได้เสมือนเครื องจริ งโดยจําลองจํานวนโน้ตเท่ากับเครื องดนตรี


ไทยจริ ง
****1.4.5**ผูเ้ ล่นสามารถกําหนดให้มีเสี ยงของจังหวะเข้าไปในระหว่างการเล่ นดนตรี โดยให้ฉ ิ ง
เป็ นเครื องประกอบจังหวะโดยแบ่งออกเป็ น 3 ชันคือ ช้า กลาง เร็ ว
****1.4.6**ผูเ้ ล่นสามารถทําการบันทึกเสี ยงขณะเล่นได้
****1.4.7**กลุ่ ม ตัว อย่ า งที จ ะประเมิ น ความพึ ง พอใจโปรแกรมเล่ น ดนตรี ไทยบนแท็ บ เล็ ต
ระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์คือเด็กนักเรี ยนที มีอายุระหว่าง 7-12 ปี จํานวน 30 คน
****1.4.8**ขอบเขตด้านฮาร์ ดแวร์ มีรายละเอียดดังนี
**********1.4.8.1**หน่วยความจําหลัก (RAM) ความจุ 2 GB
**********1.4.8.2**ฮาร์ ดดิสก์มีความจุ 120 GB
**********1.4.8.3 จอภาพแสดงผลรายละเอียด 1280×800
**********1.4.8.4 แท็บเล็ตระบบปฏิบตั ิการ Android 2.3 Gingerbread เป็ นอย่างตํ า
****1.4.9 ขอบเขตด้านซอฟต์แวร์ มีรายละเอียดดังนี
**********1.4.9.1 ระบบปฏิบตั ิการ คือ Window XP Professional หรื อ สู งกว่า
**********1.4.9.2 ภาษาที ใช้ในการพัฒนาโปรแกรม คือ Java
**********1.4.9.3 โปรแกรมพัฒนาแอพพลิเคชัน บนแอนดรอยด์ คือ Android SDK Tool
**********1.4.9.4 โปรแกรมรันไทม์และเปิ ดจาวา คือ Java (TM) Platform SE Binary
**********1.4.9.5 โปรแกรมที ใช้ในการพัฒนาระบบ คือ Eclipse IDE for Java Developer
**********1.4.9.6 โปรแกรมปรับแต่งเสี ยงและวิดีโอ คือ Audacity

1.5 ประโยชน์ ทคี าดว่ าจะได้ รับ


****1.5.1 ทําให้ผทู ้ ี ตอ้ งการเรี ยนรู ้ดนตรี ไทยสามารถเรี ยนรู ้ได้ดว้ ยตนเอง
****1.5.2 เป็ นการส่ งเสริ มให้มีการสื บสานศิลปวัฒนธรรมของการเล่นดนตรี ไทย
****1.5.3 สามารถนําแนวทางที ได้ไปพัฒนาหรื อไปประยุกต์ใช้งานกับโปรแกรมอื นได้
4

บทที 2
ทฤษฎีและงานวิจยั ทีเกีย วข้ อง

****ในการพัฒนาครั งนี ผพู ้ ฒั นาได้มีการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลวิจยั ที!เกี!ยวข้องและเครื! องมือที!ใช้ใน


การพัฒนาระบบกับระบบที! จะสามารถนํามาประยุกต์ใช้ในงานได้โดยสามารถจําแนกออกเป็ น
หัวข้อหลักๆได้ดงั ต่อไปนี
****2.1**ทฤษฎีเกี!ยวกับดนตรี ไทย
****2.2**ระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์ (Android OS)
****2.3**งานวิจยั ที!เกี!ยวข้อง

2.1--ทฤษฎีเกี!ยวกับดนตรี ไทย
****2.1.1**การแบ่งประเภทของเครื! องดนตรี ไทย นั นย่อมจะแตกต่างกันไปได้ตามพื นภูมิหรื อ
ความนิ ย มของแต่ ล ะชาติ การแบ่ ง ประเภทของเครื! องดนตรี ต ามแบบตะวัน ตกนั น แบ่ ง เป็ น
เครื! องสาย เครื! องลมและเครื! องตี เครื! องสายจะต้องแยกออกเป็ นเครื! องดีดและเครื! องสี เครื! องลมก็
แยกออกเป็ นเครื! องไม้และเครื! องโลหะ และเครื! องตีก็แยกได้เป็ นเครื! องบรรเลงทํานองและเครื! อง
ประกอบจังหวะ ส่ วนการแบ่งประเภทของเครื! องดนตรี ไทยนั นถือเอากิริยาที!บรรเลงให้เกิดเป็ นเสี ยง
ขึ นอย่างเดียวเป็ นเครื! องแบ่งประเภท คือเครื! องที!ดีดเป็ นเสี ยงเป็ นเครื! องที!มีสาย ใช้มือหรื อวัตถุใดๆ
ดี ดที! สายแล้วก็เกิ ดเสี ยงขึ น เช่ น กระจับปี! จะเข้ อย่างนี เรี ยกว่าเครื! องดี ด เครื! องที! สีเป็ นเสี ยงเป็ น
เครื! องที!มีสายใช้หางม้าหลายๆเส้นสี ที!สายให้เกิดเสี ยง เช่น ซอสามสาย ซอด้วง ซออู ้ อย่างนี เรี ยกว่า
เครื! องสี เครื! องที!ตีเป็ นเสี ยงมีท งั ตีดว้ ยไม้ เช่น ฆ้อง ระนาด กับตีดว้ ยมือ เช่น ตะโพน โทน หรื อของ
สิ! งเดียวกันสองอันตีกนั เอง เช่น กรับและฉิ! ง เหล่านี เรี ยกว่า เครื! องตี เครื! องที!เป่ าเป็ นเสี ยงเป็ นเครื! อง
ที! ต้อ งใช้ล มเป่ าเข้า ไปในเครื! อ งนั น ๆ เช่ น ปี! ขลุ่ ย ก็ เ รี ย กว่า เครื! อ งเป่ า รวมแล้ว ดนตรี ไ ทยมี 4
ประเภท คือ ดีด สี ตี เป่ า การแบ่งหน้าที!ของการบรรเลง การแบ่งประเภทเป็ นดีด สี ตี เป่ า นั นเป็ น
การแบ่งประเภทของเครื! องดนตรี แต่เครื! องดนตรี น นั ๆ ย่อมมีหน้าที!ในการบรรเลงซึ! ง แบ่งออกได้
เป็ น 2 พวก (จิรกานต์, 2555)
**********2.1.1.1** บรรเลงทํานองเพลง เป็ นพวกที! มีเสี ยงสู งตํ!าเรี ยงลําดับกันไม่น้อยกว่า 7
เสี ยง ดนตรี พวกนี มีหน้าที!บรรเลงเป็ นทํานองเพลง เช่น ระนาดเอก ระนาดทุม้ ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวง
เล็ ก ปี! ขลุ่ ย และซอต่ างๆ0000000000000000000000000000000000000000000000000000000
**********2.1.1.2** บรรเลงประกอบจังหวะ เป็ นพวกที!มีเสี ยงสู งตํ!าไม่ถึง 7 เสี ยง เครื! องดนตรี
5

พวกนี มีหน้าที! บรรเลงเป็ นเครื! องประกอบจังหวะ เช่ น ฉิ! ง ฉาบ ตะโพน กลองทัด โทน รํามะนา
****2.1.2 องค์ประกอบของดนตรี ไทย00000000000000000000000000000000000000000000000
********** 2.1.2.1**เสี ยงของดนตรี ไทย ประกอบด้วยระดับเสี ยง 7 เสี ยง แต่ละเสี ยงมีช่วงห่ าง
เท่ากันทุกเสี ยง เสี ยงดนตรี ไทยแต่ละเสี ยงเรี ยกชื! อแตกต่างกันไป ในดนตรี ไทยเรี ยกระดับเสี ยงว่า
“ทาง” ในที! น ี ก็ คื อ ระดับ เสี ย งของเพลงที! บ รรเลงซึ! งกํา หนดชื! อเรี ย กเป็ นที! ห มายรู ้ ก ันทุ ก ๆ
เสี ยง จําแนกเรี ยงลําดับขึ นไปทีละเสี ยง000000000000000000000000000000000000000000000
********** 2.1.2.2**จังหวะของดนตรี ไทย “จังหวะ” มีความหมายถึงมาตราส่ วนของระบบดนตรี
ที!ดาํ เนิ นไปในช่วงของการบรรเลงเพลงอย่างสมํ!าเสมอ เป็ นตัวกําหนดให้ผูบ้ รรเลงจะต้องใช้เป็ น
หลักในการบรรเลงเพลงจังหวะของดนตรี ไทยจําแนกได้ 3 ประเภท คือ
************** ก) **จังหวะสามัญ หมายถึ งจังหวะทัว! ไปที!นกั ดนตรี ยึดเป็ นหลักสําคัญใน
การบรรเลงและขับร้ องโดยปกติจงั หวะสามัญที!ใช้กนั ในวงดนตรี จะมี 3 ระดับ คือ000000000
*********************จังหวะช้า ใช้กบั เพลงที!มีอตั ราจังหวะ สามชั น 00000000000
*********************จังหวะปานกลาง ใช้กบั เพลงที!มีอตั ราจังหวะ สองชั น 00000000000
*********************จังหวะเร็ ว ใช้กบั เพลงที!มีอตั ราจังหวะ ชั นเดียว00000000000
************** ข) **จังหวะฉิ! ง หมายถึง จังหวะที!ใช้ฉ!ิ งเป็ นหลักในการตี โดยปกติจงั หวะ
ฉิ! งจะตี “ฉิ! ง…ฉับ” สลับกันไปตลอดทั งเพลง แต่จะมีเพลงบางประเภทตีเฉพาะ “ฉิ! ง” ตลอดเพลง
บางเพลงตี “ฉิ! ง ฉิ! ง ฉับ” ตลอดทั งเพลง หรื ออาจจะตีแบบอื!นๆ ก็ได้ จังหวะฉิ! งนี นกั ฟั งเพลงจะใช้
เป็ นแนวในการพิจารณาว่าช่วงใดเป็ นอัตราจังหวะสามชั น สองชั น หรื อ ชั นเดียวก็ได้ เพราะฉิ! ง
จะตีเพลงสามชั นให้มีช่วงห่ างตามอัตราจังหวะของเพลง หรื อ ตีเร็ วกระชั นจังหวะ ในเพลงชั น
เดียว ดังตารางที! 2-1
ตารางที 2-1**การตีฉ!ิ งตามอัตราจังหวะของดนตรี ไทย
1234 1234 1234 1234
สามชั น ---- - - - ฉิ! ง ---- - - - ฉับ
สองชั น - - - ฉิ! ง - - - ฉับ - - - ฉิ! ง - - - ฉับ
ชั นเดียว - ฉิ! ง- ฉับ - ฉิ! ง- ฉับ - ฉิ! ง- ฉับ - ฉิ! ง- ฉับ

************** ค) **จังหวะหน้าทับ หมายถึงเกณฑ์การนับจังหวะที!ใช้เครื! องดนตรี ประเภท


เครื! องตีประเภทหนังซึ! งเลียนเสี ยงการตีมาจาก “ทับ” เป็ นเครื! องกําหนดจังหวะเครื! องดนตรี เหล่านี
ได้แก่ ตะโพน กลองแขก สองหน้า โทน - รํามะนา หน้าทับ00000000000000000000000000000000
********** 2.1.2.3**ทํานองดนตรี ไทย ลักษณะทํานองเพลงที!มีเสี ยงสู งๆ ตํ!าๆ สั นๆ ยาวๆ สลับ
คละเคล้ากันไป ตามจินตนาการของคีตกวีที!ประพันธ์ บทเพลงซึ! งลักษณะดังกล่าวนี เหมือนกันทุก
6

ชาติภาษา จะมีความแตกต่างกันตรงลักษณะประจําชาติที!มีพ ืนฐานทางสังคม วัฒนธรรม ไม่เหมือนกัน


เช่น เพลงของอเมริ กนั อินโดนี เซี ย อินเดีย จีน ไทย ย่อมมีโครงสร้างของทํานองที! แตกต่าง
กัน ทํานองของดนตรี ไทยประกอบด้วยระบบของเสี ยง การเคลื!อนที!ของเสี ยงความยาว ความกว้าง
ของเสี ยง และระบบหลักเสี ยงเช่นเดียวกับทํานองเพลงทัว! โลก0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
************** ก) **ทํานองทางร้อง เป็ นทํานองที!ประดิษฐ์เอื อนไปตามทํานองบรรเลงของ
เครื! องดนตรี และมีบทร้องซึ! งเป็ นบทร้อยกรอง ทํานองทางร้องคลอเคล้าไปกับทํานองทางรับหรื อ
ร้อง อิสระได้ การร้องนี ตอ้ งถือทํานองเป็ นสําคัญ000000000000000000000000000000000000000
************** ข) **ทํานองการบรรเลง หรื อทางรับ เป็ นการบรรเลงของเครื! องดนตรี ในวง
ดนตรี ซึ! งคีตกวีแต่งทํานองไว้สาํ หรับบรรเลง ทํานองหลักเรี ยกลูกฆ้อง “Basic Melody” เดิมนิยม
แต่งจากลูกฆ้องของฆ้องวงใหญ่ และแปรทางเป็ นทางของเครื! องดนตรี ชนิ ดต่างๆ ดนตรี ไทยนิยม
บรรเลงเพลงในแต่ละท่อน 2 ครั งซํ ากัน ภายหลังได้มีการแต่งทํานองเพิ!มใช้บรรเลงในเที!ยวที!สอง
แตกต่างไปจากเที!ยวแรกเรี ยกว่า “ทางเปลี!ยน” 000000000000000000000000000000000000000000000000
********** 2.1.2.4**การประสานเสี ยง เป็ นการทําเสี ยงดนตรี พร้อมกัน 2 เสี ยง พร้อมกันเป็ น
คู่ขนานหรื อเหลื!อมลํ ากันตามลีลาเพลงก็ได้ 00000000000000000000000000000000000000000
************** ก) **การประสานเสี ยงในเครื! องดนตรี เดียวกัน เครื! องดนตรี บางชนิดสามารถ
บรรเลงสอดเสี ยงพร้อมกันได้ โดยเฉพาะทําเสี ยงขั นคู่ (คู่2 คู่3 คู่4 คู่5 คู่6 และ คู่7 ) 000
************** ข) **การประสานเสี ยงระหว่างเครื! องดนตรี คือ การบรรเลงดนตรี ดว้ ยเครื! อง
ดนตรี ต่างชนิดกัน เสี ยงและความรู ้สึกของเครื! องดนตรี เหล่านั น ก็ออกมาไม่เหมือนกัน แม้วา่ จะ
บรรเลงเหมือนกันก็ตาม00000000000000000000000000000000000000000000000000000000000
************** ค) **การประสานเสี ยงโดยการทําทาง การแปรทํานองหลักคือ ลูกฆ้อง
“Basic Melody” ให้เป็ นทํานองของเครื! องดนตรี แต่ละชนิดเรี ยกว่า “การทําทาง” ทางของเครื! อง
ดนตรี (ทํานอง)แต่ละชนิดไม่เหมือนกันดังนั นเมื!อบรรเลงเป็ นวงเครื! องดนตรี ต่างเครื! องก็จะบรรเลง
ตามทางหรื อทํานองของตน โดยถือทํานองหลักเป็ นสําคัญของการบรรเลง00000000000000000000
****2.1.3**หลักการอ่านโน้ตไทยเบื องต้น หลักการอ่านโน้ตไทยตามหลัก ของ พันโทพระอภัย
พลรบ (เจ้าพระยามหิ นทรศักดิ`ธาํ รง, 2450) ซึ! งเป็ นผูแ้ ต่งตําราดนตรี วทิ ยาเมื!อ พ.ศ.2450 และ
อธิ บายหลักการบันทึกโน้ตแบบตัวอักษรขึ นจนได้รับความนิยมเป็ นอย่างมาก การบันทึกโน้ตแบบจจจ
ตัวอักษรนี เป็ นการใช้ตวั อักษรไทยมาเปรี ยบเทียบให้ตรงกับเสี ยงของโน้ตสากลดังนี 000000000000

ด = โด ร = เร ม = มี ฟ = ฟา ซ = ซอล ล = ลา ท = ที
7

****ในกรณี ที!เป็ นโน้ตเสี ยงสู งจะใช้การประจุดไว้บนตัวโน้ต เช่น ดํ = โด สู ง เป็ นต้นวิธีการนี ช่วย


ให้ เ ข้า ใจง่ า ย สํ า หรั บ วิ ธี ก ารบัน ทึ ก โน้ ต ไทยนั น จะบัน ทึ ก ลงในตารางโดยแบ่ ง ออกเป็ น
บรรทัด บรรทัดละ 8 ช่องเรี ยกว่า “ห้อง” ในแต่ละห้องจะบรรจุโน้ตไว้ 4 ตัว ถ้าเป็ นอัตราปานกลาง
หรื อจังหวะสองชั น โน้ตตัวสุ ดท้ายของแต่ละห้องจะเป็ นโน้ตเสี ยงตกจังหวะซึ! งในที!น ี จะอธิ บาย
เฉพาะการอ่านโน้ตแบบอัตราสองชั นเป็ นหลัก

ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ

1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234

****นอกจากตัวโน้ตที!บนั ทึกลงในตารางแล้ว ยังมีเครื! องหมาย – ซึ! งใช้แทนตัวโน้ตด้วยขีด 1 ขีด


(-) ใช้แทนโน้ต 1 ตัว แสดงการเพิ!มเสี ยงตัวโน้ตที!อยูข่ า้ งหน้าเครื! องหมายให้มีเสี ยงยาวขึ น ทั งนี
ความยาวของเสี ยงจะมีมากหรื อน้อยขึ นอยูก่ บั จํานวนขีด (-) ดังนี 000000000000000000000000000
**************ถ้ามี - มีค่าความยาวของเสี ยงเท่ากับ 1/4 จังหวะ000000000000000
**************ถ้ามี - - มีค่าความยาวของเสี ยงเท่ากับ 2/4 จังหวะ000000000000000
**************ถ้ามี - - - มีค่าความยาวของเสี ยงเท่ากับ 3/4 จังหวะ000000000000000
**************ถ้ามี - - - - มีค่าความยาวของเสี ยงเท่ากับ 4/4 จังหวะ หรื อ เท่ากับ 1 จังหวะ
****วิธีการอ่านโน้ตไทยนั นจะใช้การเคาะจังหวะที!โน้ตท้ายห้อง แทนเสี ยงฉิ! งฉับ ในอัตราสองชั น
จะมีโน้ตตัวสุ ดท้ายเป็ นเสี ยงตกจังหวะเสมอ เมื!อกําหนดให้ 1 บรรทัดโน้ต เท่ากับ 1 หน้าทับปรบ
ไก่ ดังนั นเมื!ออ่านโน้ตอัตราสองชั น ควรเคาะจังหวะที!โน้ตห้องสุ ดท้ายแทนเสี ยงฉิ! งเสี ยงฉับ สังเกต
ที!ตวั พิมพ์เข้าจะทําให้เข้าใจวิธีการบันทึกได้ง่ายขึ น สําหรับการบันทึกโน้ตไทยโดยทัว! ไปจะบันทึก
ไว้ 8 ลักษณะที!พบมากที!สุด ดังนี 000000000000000000000000000000000000000000000000000
โน้ตแบบ 4 ตัว ต่อ 1 ห้อง0000000000000000000000000000000000000000000000000000000000
ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ

ดดดด รรรร มมมม ฟฟฟฟ ซซซซ ลลลล ทททท ดํ ดํ ดํ ดํ

โน้ตแบบ 3 ตัว ต่อ 1 ห้อง


ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ

-ดดด -รรร -มมม -ฟฟฟ -ซซซ -ลลล -ททท - ดํ ดํ ดํ


8

โน้ตแบบ 3 ตัว แต่เป็ นลักษณะของ 1 ห้อง 1 ตัว และ 3 ห้อง เป็ นโน้ตที!ใช้สาํ หรับมือฆ้อง
ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ

---ด ดด-ร รร-ม มม-ฟ ฟฟ-ซ ซซ-ล ลล-ท ท ท - ดํ

โน้ตแบบ 2 ตัว ต่อ 1 ห้อง (ตัวที! 2 และตัวที! 4)


ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ

-ด-ด -ร-ร -ม-ม -ฟ-ฟ -ซ-ซ -ล-ล -ท-ท - ดํ - ดํ

โน้ตแบบ 2 ตัว ต่อ 1 ห้อง (ตัวที! 3 และตัวที! 4)


ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ

--ดด --รร --มม --ฟฟ --ซซ --ลล --ทท - - ดํ ดํ

โน้ตแบบ 2 ตัว ต่อ 1 ห้อง เป็ นแบบจังหวะยก (ตัวที! 1 และตัวที! 2)


ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ

ดด-- รร-- มม-- ฟฟ-- ซซ-- ลล-- ทท-- ดํ ดํ - -

โน้ตแบบ 1 ตัว ต่อ 1 ห้อง


ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ

---ด ---ร ---ม ---ฟ ---ซ ---ล ---ท - - - ดํ

โน้ตแบบ 1 ตัว ต่อ 2 ห้อง


ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ ฉิ! ง ฉับ

---- ---ด ---- ---ร ---- ---ม ---- ---ฟ

****การบัน ทึ ก โน้ต ไทยทั ง8 ลัก ษณะนี ถื อเป็ นพื น ฐานสํ า คัญสํ า หรั บ การเริ! ม อ่ า นโน้ต เพลง
ไทย เพราะสามารถครอบคลุมรู ปแบบการบันทึกโน้ตเพลงไทยได้ท งั หมด การศึกษาเพลงไทยนั น
ควรจะต้องทราบถึ งวิธีการอ่านโน้ตไทยขั นพื นฐานเสี ยก่อน จึงนําไปสู่ การศึกษาเพลงไทยในเชิ ง
ทฤษฎีให้เข้าใจอย่างถ่องแท้0000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000
9

****2.1.4**บันไดเสี ยงต่ างๆของดนตรี ไ ทย บันไดเสี ยงต่างๆของดนตรี ไทยเรานิ ยมเรี ยกกันว่า


“ทาง” มี 7 ทางด้วยกัน คือ00000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000
********** 2.1.4.1**ทางเพียงออล่าง หรื อทางในลด เป็ นทางที!ใช้ระดับเสี ยงตํ!าสุ ด เสี ยงขลุ่ยเพียงออ
(ล่าง)หรื อเสี ยงฆ้องใหญ่ลูกที! 1 จะเป็ นเสี ยงควบคุ ม การที!เรี ยกว่า “ทางเพียงออล่าง หรื อ ทางใน
ลด” ก็เพราะใช้ขลุ่ ยเพียงออซึ! ง เป่ าล่ างหรื อทางในลดเข้าประกอบ ทางนี มกั ใช้กบั การบรรเลงปี!
พาทย์ดึกดําบรรพ์ หรื อปี! พาทย์ไม้นวมประกอบการแสดงละครเป็ นพื น000000000000000000000000000000
********** 2.1.4.2**ทางใน เสี ย งควบคุ ม ทางนี อยู่สู ง กว่า ทางเพีย งออล่ า ง หรื อทางในลดขึ นมา 1
เสี ย งที!เ รี ย กว่า ทางใน ก็เพราะใช้ปี! ในเป็ นหลัก ของเสี ย ง ทางนี ม กั ใช้บ รรเลงประกอบกับ การ
แสดงโขนละคร0000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000
********** 2.1.4.3**ทางกลาง อยูส ่ ู งกว่าทางในขึ นมาอีกเสี ยงหนึ! ง มักใช้ประกอบกับการแสดงโขน
หรื อหนังใหญ่ ซึ! งเล่ นอยู่กลางแจ้ง ต้องการให้มีเสี ยงสู งดังจ้าขึ น ที!เรี ยกว่า ทางกลางก็เพราะใช้ปี!
กลางเป่ ากํา กับ เป็ นหลัก 000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000
********** 2.1.4.4**ทางเพีย งออบน หรื อทางนอกตํ!า เสี ย งควบคุ มอยู่สู งกว่า ทางกลางขึ นมาอี ก 1
เสี ย งใช้ก ับ การบรรเลง เครื! องสายและมโหรี ที! เรี ย กทางนี เพราะใช้ข ลุ่ ย เพีย งออ หรื อปี! นอกตํ!า
เป่ ากํ า กั บ เป็ นหลั ก ของเสี ยง 00000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000
********** 2.1.4.5**ทางกรวดหรื อทางนอก ทางนี อยู่สู ง กว่า ทางเพีย งออบนหรื อทางนอกตํ!า ขึ นมา
เสี ย งหนึ! งใช้ขลุ่ย กรวดหรื อปี! นอก เป่ ากํา กับเป็ นหลัก มักใช้บรรเลงประกอบเสภา ซึ! งบางท่า น
เรี ยกว่าทางเสภา0000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000
********** 2.1.4.6**ทางกลางแหบ อยูส ่ ู งกว่าทางกรวดหรื อทางนอก ขึ นมาอีกเสี ยงหนึ! ง ใช้ปี!กลาง
เป่ ากํากับเป็ นหลักของเสี ยง แต่เป่ าเป็ นทางแหบ ไม่เป่ าเป็ นทางตรง ทางนี ไม่มีผนู ้ ิ ยมบรรเลงมากนัก
********** 2.1.4.7**ทางชวา เสี ยงเอกของทางนี อยูส ่ ู งกว่าทางแหบขึ นมาอีกหนึ! งเสี ยง ใช้ปี!ชวากํากับ
เป็ นหลัก ของเสี ย ง บางครั งนัก ดนตรี อ าจไม่ บ รรเลงเพลงทางนี ไปบรรเลงทางเพี ย งออบน
หรื อทางตํ!าก็มี เช่นบรรเลงปี! พาทย์ในชุดนางหงส์0000000000000000000000000000000000000000000

2.2 ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ( Android OS )


Android**คื อ **ระบบปฏิ บ ัติ ก าร (Operating System) หรื อแพลตฟอร์ ม สํ า หรั บ
โทรศัพท์เคลื!อนที!ที!จะใช้ควบคุมการทํางานของวงจรอิเล็กทรอนิ กส์ ภายในอุปกรณ์พกพา (Mobile
Device)โดยที! Android ใช้องค์ประกอบที!เป็ นโอเพ่นซอร์ ส (Open Source) หลายอย่างเช่น Linux
เป็ นต้นและมีไลบรารี (Libraries) ของ Android มาเพิ!มเติม โดยจะมีสถาปั ตยกรรมของดังภาพที! 2-1
****
10

****
ภาพที 2-1 สถาปั ตยกรรม Android (ที!มา:http://developer.android.com/index.html.)

****จากโครงสร้างของระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์ จะสังเกตได้วา่ มีการแบ่งออกมาเป็ นส่ วนๆ ที!


มีความเกี! ยวเนื! องกัน โดยส่ วนบนสุ ดจะเป็ นส่ วนที!ผูใ้ ช้งานทําการติดต่อโดยตรงซึ! งก็คือส่ วนของ
(Applications) จากนั นก็จะลําดับลงมาเป็ นองค์ประกอบอื!นๆตามลําดับ และสุ ดท้ายจะเป็ นส่ วนที!
ติดต่อกับอุปกรณ์โดยผ่านทาง Linux Kernel โครงสร้างของแอนดรอยด์สามารถอธิ บายเป็ นส่ วนๆ
ได้ดงั นี (ณัฐนัยและคณะ, 2553)

ภาพที 2-2 สัญลักษณ์ของแอนดรอยด์


ที!มา : http://zenandoid2000.blogspot.com/2010/11/10-android.html
11

****2.2.1**แอพพลิ เคชันหรื อส่ วนของโปรแกรมที! มี ม ากับ ระบบปฏิ บ ตั ิ ก าร หรื อเป็ นกลุ่ ม ของ
โปรแกรมที!ผูใ้ ช้งานได้ทาํ การติดตั งไว้ โดยผูใ้ ช้งานสามารถเรี ยกใช้โปรแกรมต่างๆได้โดยตรง ซึ! ง
การทํา งานของแต่ ล ะโปรแกรมจะเป็ นไปตามที! ผูพ้ ฒ ั นาโปรแกรมได้ออกแบบและเขี ย นโค้ด
โปรแกรมเอาไว้
****2.2.2**Application Framework เป็ นส่ วนที!มีการพัฒนาขึ นเพื!อให้นักพัฒนาสามารถพัฒนา
โปรแกรมได้สะดวก และมีประสิ ทธิ ภาพมากยิ!งขึ น โดยนักพัฒนาไม่จาํ เป็ นต้องพัฒนาในส่ วนที!มี
ความยุง่ ยากมากๆ เพียงทําการศึกษาถึงวิธีการเรี ยกใช้แอพพลิเคชันเฟรมเวิร์คงานในส่ วนที!ตอ้ งการ
ใช้งาน แล้วนํามาใช้งาน ซึ! งมีหลายกลุ่มด้วยกัน ตัวอย่างเช่น
**********2.2.2.1**Activities Manager เป็ นกลุ่มของชุ ดคําสั!งที!จดั การเกี! ยวกับวงจรการทํางาน
ของหน้าต่างโปรแกรมแอ็คทิวติ ี
**********2.2.2.2**Content Providers เป็ นกลุ่ มของชุ ดคําสั!ง ที! ใช้ในการเข้าถึ งข้อมูลของ
โปรแกรมอื!น และสามารถแบ่งปั นข้อมูลให้โปรแกรมอื!นเข้าถึงได้
**********2.2.2.3**View System เป็ นกลุ่มของชุ ดคําสั!งที!เกี! ยวกับการจัดการโครงสร้ างของ
หน้าจอที!แสดงผลในส่ วนที!ติดต่อกับผูใ้ ช้งาน
**********2.2.2.4**Telephony Manager เป็ นกลุ่ มของชุ ดคํา สั!ง ที! ใ ช้ใ นการเข้า ถึ ง ข้อมู ล ด้า น
โทรศัพท์ เช่นหมายเลขโทรศัพท์ เป็ นต้น
**********2.2.2.5**Resource Manager เป็ นกลุ่มของชุ ดคําสั!งในการเข้าถึงข้อมูลที!เป็ น ข้อความ
รู ปภาพ
**********2.2.2.6**Location Manager เป็ นกลุ่มของชุ ดคําสั!งที!เกี!ยวกับตําแหน่งทางภูมิศาสตร์ ที!
ระบบปฏิบตั ิการได้รับค่าจากอุปกรณ์
**********2.2.2.7**Notification Manager เป็ นกลุ่ มของชุ ดคําสั!งที!จะถู กเรี ยกใช้เมื! อโปรแกรม
ต้องการแสดงผลให้กบั ผูใ้ ช้งานผ่านทางแถบสถานะ (Status Bar) ของหน้าจอ

ภาพที 2-3 Android Application Framework


12

****2.2.3**Libraries เป็ นส่ วนของชุ ดคําสั!งที!พฒั นาด้วย C/C++ โดยแบ่งชุ ดคําสั!งออกเป็ นกลุ่ม
ตามวัตถุประสงค์ของการใช้งานโดยจะมีไลบรารี! สาํ คัญดังนี
**********2.2.3.1**System C library เป็ นกลุ่มของไลบรารี มาตรฐานที!อยูบ่ นพื นฐานของภาษาC
สําหรับembedded system ที!มีพ ืนฐานมาจากลีนุกซ์
**********2.2.3.2**Media Libraries เป็ นกลุ่มการทํางานมัลติ มีเดี ย เช่ น MPEG4 H.264 MP3
AAC AMR JPGและ PNG
**********2.2.3.3**Surface Manager เป็ นกลุ่มการจัดการรู ปแบบหน้าจอ การวาดหน้าจอ
**********2.2.3.4**2D/3D library เป็ นกลุ่มของกราฟิ กแบบ 2 มิติ หรื อ SGL (Scalable Graphics
Library) และแบบ 3 มิติ หรื อ OpenGL
**********2.2.3.5**FreeType เป็ นกลุ่มของบิตแมป (Bitmap)และเวคเตอร์ (Vector) สําหรับการ
เรนเดอร์ (Render) ภาพ
**********2.2.3.6**SQLite เป็ นกลุ่มของฐานข้อมูล โดยนักพัฒนาสามารถใช้ฐานข้อมูลนี เก็บ
ข้อมูลแอพพลิเคชันต่างๆได้
**********2.2.3.7**Browser Engine เป็ นกลุ่ มของการแสดงผลบนเว็บเบราเซอร์ โดยอยู่บน
พื นฐานของ Webkit
****2.2.4**แอนดรอยด์รันไทม์ (Android Runtime) จะมี (Darvik Virtual Machine) ที!ถูกออกแบบ
มา เพื!อให้ทาํ งานบนอุ ปกรณ์ ที!มีหน่ วยความจํา (Memory) หน่ วยประมวลผลกลาง (CPU) และ
พลังงาน(Battery) ที! จาํ กัดซึ! งการทํางานของ (Darvik Virtual Machine) จะทําการแปลงไฟล์ที!
ต้องการทํางาน ไปเป็ นไฟล์ .DEXก่อนการทํางาน เหตุผลก็เพื!อให้มีประสิ ทธิ ภาพเพิ!มขึ นเมื!อใช้งาน
กับหน่ วยประมวลผลกลางที!มีความเร็ วไม่มาก ส่ วนต่อมาคือ คอร์ ไลบรารี! (Core Libraries) ที!เป็ น
ส่ วนรวบรวมคําสั!งและชุดคําสั!งสําคัญโดยถูกเขียนด้วยภาษาจาวา (Java Language)

ภาพที 2-4 Android Runtime


13

****2.2.5**ลีนุกซ์เคอร์ เนล (Linux Kernel) เป็ นส่ วนที!ทาํ หน้าที!หัวใจสําคัญในจัดการกับบริ การ


หลักของระบบปฏิบตั ิการ เช่น เรื! องหน่วยความจํา พลังงาน ติดต่อกับอุปกรณ์ต่างๆ ความปลอดภัย
เครื อข่ายโดยแอนดรอยด์ได้นาํ เอาส่ วนนี มาจากระบบปฏิบตั ิการลินุกซ์ รุ่ น 2.6 (Linux 26. Kernel)
ซึ! งได้มีการออกแบบมาเป็ นอย่างดี (กิตติมาและคณะ, 2554)

ภาพที 2-5 Linux Kernel


****2.2.6**จุดเด่นของแอนดรอยด์
****เนื!องจากระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์มีการเจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็ ว และมีส่วนแบ่งตลาดของ
อุ ปกรณ์ ด้า นนี ขึ นทุ ก ขณะ ทําให้กลุ่ มผูใ้ ช้งาน และกลุ่ มนักพัฒนาโปรแกรม ให้ความสําคัญกับ
ระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์เพิ!มมากขึ น
****เมื! อมองในด้า นของกลุ่ ม ผลิ ตภัณ ฑ์ บริ ษ ทั ที! มีก ารพัฒนาผลิ ตภัณฑ์รุ่นใหม่ ได้มี ก ารนํา เอา
ระบบปฏิ บ ั ติ ก ารแอนดรอยด์ ไ ปใช้ ใ นสิ นค้ า ของตนเอง พร้ อ มทั งยัง มี ก ารปรั บ แต่ ง ให้
ระบบปฏิ บตั ิการมีความสามารถ การจัดวาง โปรแกรม และลูกเล่นใหม่ๆ ที!แตกต่างจากคู่แข่งใน
ท้องตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ!ง กลุ่มสิ นค้าที!เป็ น มือถือรุ่ นใหม่ (SmartPhone) และอุปกรณ์จอสัมผัส
(Touch Screen) โดยมีคุณลักษณะแตกต่างกันไป เช่นขนาดหน้าจอ ระบบโทรศัพท์ ความเร็ วของ
หน่วยประมวลผล ปริ มาณหน่วยความจํา แม้กระทัง! อุปกรณ์ตรวจจับต่างๆ(Sensor)
****หากมองในด้า นของการพัฒ นาโปรแกรม ทางบริ ษ ัท กู เ กิ ล ได้มี ก ารพัฒ นา Application
Framework ไว้สําหรับนักพัฒนาใช้งาน ได้อย่างสะดวก และไม่เกิ ดปั ญหาเมื!อนําชุ ดโปรแกรมที!
พัฒนาขึ นมา ไปใช้กบั อุปกรณ์ ที!มีคุณลักษณะต่างกัน เช่นขนาดจออุปกรณ์ ไม่เท่ากัน ก็ยงั สามารถ
ใช้งานโปรแกรมได้เหมือนกัน เป็ นต้น
****2.2.7**โปรแกรมพัฒนาแอพพลิเคชันบนแอนดรอยด์ (Android SDK)
****Android SDK ย่อมาจาก Android Software Development Kit คือชุ ดคําสั!งในการพัฒนา
Applications บนระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์ (Android) พัฒนาเพื!อให้นกั พัฒนาโปรแกรมหรื อ
ผูส้ นใจทัว! ไปดาวน์โหลดไปใช้ในการสร้ างโปรแกรมบนระบบปฏิ บตั ิการแอนดรอยด์ (Android)
ซึ! งในชุด SDK นั นจะมีโปรแกรมและคลังโปรแกรม (Program Library) ต่างๆที!จาํ เป็ นต่อการพัฒนา
14

แอพพลิเคชันบนแอนดรอยด์ เช่ น Emulator ซึ! งทําให้ผใู ้ ช้สามารถสร้ างแอพพลิ เคชันและนํามา


ทดลองทํางานบน Emulator ก่อนโดยมีสภาวะแวดล้อมเหมือนมือถือที!ทาํ งานบนระบบปฏิบตั ิการ
แอนดรอยด์จริ งๆ

2.3 งานวิจัยทีเ กียวข้ อง


**** กิตติมา และคณะ (2554) ทําการวิจยั เรื! องแอพพลิเคชันดนตรี ไทยวงเครื! องสายเป็ นแอพพลิ เคชัน
ที!ได้ผสานวัฒนธรรมการเล่นดนตรี ของไทยมาไว้บนโทรศัพท์เคลื! อนที! ซึ! งเพิ!มช่ องทางการเล่ น
ดนตรี ไทยได้ไม่จาํ กัดสถานที! เวลาและขนาดของเครื! องดนตรี อีกทั งผูเ้ ล่นยังสามารถเรี ยนรู ้ประวัติ
วิธีการเล่ นและทําแบบฝึ กหัดของเครื! องดนตรี ในแอพพลิ เคชันโดยเครื! องดนตรี ที!อยู่ภายในแอพ
พลิ เคชันนั นเป็ นของวงเครื! องสาย ข้อดี ของงานวิจยั คื อ แอพพลิ เคชันให้มีฟังก์ชนั ที!หลากหลาย
สามารถเล่นได้ไม่จาํ กัดปุ่ มของเครื! องดนตรี มีการใช้งานให้ง่ายยิ!งขึ นข้อ จํากัดของงานวิจยั คือ ไม่
ตรงกับความต้องการของผูใ้ ช้ในบางจุด ทําให้ตอ้ งแก้ไขในส่ วนนั นการเชื! อมต่อกับผูใ้ ช้งาน ในบาง
เครื! องดนตรี ในแอพพลิเคชันไม่สามารถจําลองเครื! องดนตรี ได้เหมือนของจริ ง
****ณั ฐ นั ย และปริ วัฒ น์ (2553) ได้ ท ํ า การวิ จ ั ย เรื! องการเขี ย นโปรแกรมเพื! อ นั ก กี ต าร์ บ น
โทรศัพท์มือถือมีอวัตถุ ประสงค์เพื!อความสะดวกสบายต่อการค้นหาคอร์ ดและตั งสายของนักกีตาร์
เป็ นการศึกษาแอพพลิเคชันบนมือถือระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์ มีหลักการทํางานสามารถค้นหา
คอร์ ดกีตาร์ กบั เครื! องดนตรี อูคูเลเล่และสามารถฟังเสี ยงคอร์ ดได้ทุกคอร์ ด ข้อดีของงานวิจยั สามารถ
ฟั งเสี ยง ค้นหาคอร์ ดกีตาร์ ฟังเสี ยงคอร์ ดกีตาร์ กบั เครื! องดนตรี อูคูเลเล่ได้อย่างเป็ นไปตามที!กาํ หนด
วัตถุประสงค์ เพื!อให้ผทู ้ ี!สนใจในด้านดนตรี ได้ความสะดวกสบายต่อการค้นหาและได้รู้ถึงเสี ยงของ
คอร์ ดแต่ละคอร์ ดอย่างถูกต้อง ข้อด้อยของงานวิจยั กราฟฟิ กที! ใช้ยงั ไม่ค่อยมี ความสวยงามแอพ
พลิเคชันปุ่ มกดมีขนาดเล็กทําให้ยากต่อการเล่น
**** Trajkovski (2554) ได้ท าํ แอพพลิ เคชัน เกี! ย วกับ เปี ยโนชื! อว่า แอพพลิ เคชัน My Piano บน
ระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์ความสามารถของแอพพลิเคชันแสดงเครื! องดนตรี ที!จาํ ลองจากของจริ ง
มาอยูใ่ นรู ปของแอพพลิเคชันเสี ยงที!ได้มีความสมจริ ง สามารถชมดนตรี สาธิ ตได้ มีเมนูสําหรับการ
สอนการเล่นเปี ยโน และเปลี!ยนสี ของเครื! องดนตรี ได้ ข้อดีของแอพพลิเคชันมีความรวดเร็ วในการ
ทํางาน สามารถฝึ กเล่นดนตรี ได้โดยที!ไม่ตอ้ งใช้เครื! องดนตรี จริ ง และเปลี!ยนสี ของเครื! องดนตรี ได้
ข้อจํา กัด ปุ่ มมี นาดเล็ ก ไม่ ส ามารถกดได้เต็ม นิ ว สํา หรั บ คนที! มี ข นาดนิ วมื อใหญ่ อุป กรณ์ ที! มี ก าร
ประมวลผลตํ!า อาจมีบางครั งที!กดแล้วเสี ยงไม่ตอบสนองตามความต้องการ
15

**** 2.3.1**แอพพลิเคชันที!เกี! ยวข้อง


********** 2.3.1.1**แอพพลิเคชัน Piano Free with Songs บนระบบปฏิบตั ิการ iOS

ภาพที 2- 6 หน้าจอของแอพพลิเคชัน Piano Free with Songs บนระบบปฏิบตั ิการ iOS


(ที!มา :http://itunes.apple.com/us/app/piano-free-with-songs/id408878018?mt=8)

****จากภาพที! 2-6 แอพพลิเคชัน Piano Free with Songs บนระบบปฏิบตั ิการ iOS ความสามารถ
ของแอพพลิ เคชันแสดงเครื! องดนตรี ที!จาํ ลองจากของจริ งมาอยู่ในรู ปของแอพพลิ เคชันมีเกมเพื!อ
ทดสอบความสามารถมีคียต์ ่างๆ ครบถ้วน และสามารถเลื!อนแถบเพื!อไปเล่นยังคียต์ ่างๆ ข้อดีของ
แอพพลิ เคชัน คื อ แอพพลิ เคชันมีความรวดเร็ วในการทํางานสู งมี คียใ์ ห้เล่นครบถ้วน เหมื อนกับ
เปี ยโนของจริ ง และเมนูเกมทําให้ไม่เบื!อง่ายข้อจํากัดปุ่ มมีนาดเล็กไม่สามารถกดได้เต็มนิ วสําหรับ
คนที!มีขนาดนิ วมือใหญ่
16

**********2.3.1.2**แอพพลิเคชัน Omniano-Piano Concert บนระบบปฏิบตั ิการ Windows Phone

ภาพที 2-7**หน้าจอแอพพลิเคชัน Omniano-Piano Concert บนระบบปฏิบตั ิการ Windows Phone


(ที!มา http://marketplace.windowsphone.com/details.aspx?appId=62eab332-4a38-
47a6a63edfe84b30e49f&retURL=/categories.aspx%3FcategoryId%3D50072#)

****จากภาพที! 2-7 แอพพลิเคชัน Omniano-Piano Concert บนระบบปฏิบตั ิการ Windows Phone


ความสามารถของโปรแกรม คือ แสดงเปี ยโนได้และสามารถเล่นแล้วมีเสี ยงได้สมจริ งมีโน้ตทําให้
สามารถเล่นได้ง่ายขึ น และสามารถปรับ volume ได้ ข้อดีของโปรแกรมเปี ยโนเป็ นกราฟิ กสมจริ ง
ทํา ให้เล่ นได้ง่ า ยเล่ นได้ใ นสถานที! ต่า งๆ ได้ส ะดวกสบายสามารถพกพาได้ง่ า ย เนื! องจากอยู่ใ น
โทรศัพท์มือถือข้อจํากัดของโปรแกรม ปุ่ มมีขนาดเล็กไม่สามารถกดได้เต็มนิ วสําหรับคนที!มีขนาด
นิ วมือใหญ่
17

บทที 3
วิธีการดําเนินงาน

**** วิธีการดําเนิ นงาน การพัฒนาโปรแกรมเล่นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์


เพื%อให้ตรงตามวัตถุประสงค์ของผูว้ จิ ยั ได้แบ่งวิธีการดําเนินงานออกเป็ น 5 ขั2นตอน ดังนี2
**** 3.1**การศึกษาข้อมูลและวิเคราะห์ระบบ
**** 3.2**การออกแบบระบบ
**** 3.3**การพัฒนาระบบ
**** 3.4**การประเมินผลของระบบ
**** 3.5**สถิติที%ใช้ในการวิจยั

3.1 การศึกษาข้ อมูลและวิเคราะห์ ระบบ


**** ในการศึ ก ษาข้อ มู ล และเอกสารที% เ กี% ย วข้อ งเพื% อ พัฒ นาโปรแกรมเล่ น ดนตรี ไ ทยบนแท็ บ เล็ ต
ระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์ ผูจ้ ดั ทําปั ญหาพิเศษได้แบ่งหัวข้อการศึกษาข้อมูลดังนี2
**** 3.1.1**ศึกษาเครื% องมือที%ใช้ในการพัฒนาระบบ โดยวิธีการต่างๆที%จะนําไปใช้ในการพัฒนาระบบ
นั2น ผูจ้ ดั ทําปั ญหาพิเศษโปรแกรม Eclipse และ Android SDK โดยภาษาที%ใช้ในการเขียนโปรแกรมคือ
ภาษาจาวา
**** 3.1.2**ศึกษาเกี%ยวกับการเล่นดนตรี ไทยรวมถึงหลักการในการเล่นเครื% องดนตรี แต่ละชนิด
**** 3.1.3**ศึกษาถึงรุ่ นของระบบปฏิ บตั ิการแอนดรอยด์ที%จะใช้ให้เหมาะสมกับการพัฒนาระบบและ
อุปกรณ์ฮาร์ ดแวร์ ที%ใช้
**** 3.1.4**ศึกษาถึงการตัดต่อเสี ยงประกอบดนตรี และเสี ยงของเครื% องดนตรี กบั โปรแกรมที%ใช้

3.2 การออกแบบระบบ
**** จากการศึกษาข้อมูลในจากแหล่งข้อมูลต่าง เพื%อทําการออกแบบการพัฒนาโปรแกรมเล่นดนตรี
ไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์ โดยจําลองโครงสร้ างและพัฒนาระบบโดยรวมว่าเป็ น
อย่างไร และมีการวางรู ปแบบของระบบให้ง่ายต่อการพัฒนา โดยขั2นตอนมีดงั นี2
**** 3.2.1**เครื% องมือในการพัฒนาระบบ
18

3.2.1.1**เครื% องคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยเครื% องที%ทาํ หน้าที%เป็ นการพัฒนาระบบโดยมีหน้าที%ไว้สาํ หรับ


เขียนโปรแกรม
**********3.2.1.2**แท็ บ เล็ ต สามารถใช้ เ ชื% อ มต่ อ Internet และรองรั บ การทํา งานในรู ป แบบ
Applications ได้
**********3.2.1.3**ซอฟต์แวร์ ในการพัฒนาปั ญหาพิเศษนี2ใช้ซอฟต์แวร์ ประกอบด้วยระบบปฏิบตั ิ
การ Windows XP โปรแกรมที%ใช้ในการพัฒนา Eclipse IDE for Java Developer และ Android
SDK Tool ภาษาที%ใช้ Java
**** 3.2.2**ขั2นตอนการวิเคราะห์ และออกแบบความสัมพันธ์ของระบบจากการศึ กษาและวิเ คราะห์
ข้อมูลต่าง ๆ ที%มีส่วนเกี%ยวข้องกับระบบได้แก่ บุคคลที%เกี%ยวข้องกับระบบและข้อมูลที%เข้ามาภายในระบบ
สามารถแสดงออกมาได้โดยการใช้แผนภาพยูเอ็มแอล (Unified Modeling Language: UML) ซึ% งจะ
แสดงให้เ ห็ นถึ งขั2นตอนการทํางานของระบบและได้ทาํ การสร้ างไดอะแกรมจากการวิเคราะห์ ระบบ
สามารถอธิบายได้ 2 ส่ วน ดังนี2
**********3.2.3.1**ยูสเคสไดอะแกรม (Use Case Diagram)
**********จากการวิเคราะห์และออกแบบความสัมพันธ์ของระบบพบว่าระบบมีข2 นั ตอนการทํางานซึ% ง
สามารถอธิบายและออกแบบเป็ นยูสเคสไดอะแกรมได้ แสดงดังภาพที% 3-1

ภาพที 3-1 ยูสเคสไดอะแกรมของโปรแกรมเล่นดนตรี ไทยบนแทบเล็ต


19

**********3.2.3.2**คําอธิบายยูสเคส (Use Case Description) จากยูสเคสไดอะแกรมที%ได้จาก


************** ก) ฟั งก์ชนั% การเลือกเครื% องดนตรี ระนาดเอกเป็ นส่ วนที%ผใู ้ ช้สามารถเล่นเครื% อง
ดนตรี ที%จะเล่นได้ คือ ระนาดเอก แสดงดังตารางที% 3-1

ตารางที 3-1 คําอธิบายฟั งก์ชนั% การเลือกเครื% องระนาดเอก


Use Case Name: เลือกเครื% องดนตรี ระนาดเอก
Actor: ผูเ้ ล่น
Description: ผูเ้ ล่นเลือกเครื% องดนตรี ระนาดผ่านทาง Application
Normal Course: เมื%อผูเ้ ล่นเข้าสู่ Application และจะปรากฏเครื% องดนตรี ระนาดเอกให้
เลือก จากนั2นผูเ้ ล่นสามารถเล่นเครื% องดนตรี แล้ว Application จะ
ปรากฏเมนู ของเครื% องดนตรี ข2 ึนมา
Alternate Course: -
Precondition: Application
Post-condition: หน้าจอเข้าสู่ เมนูเครื% องดนตรี ระนาดเอก

**************ข) ฟั ง ก์ชั%นการเลือกเครื% องดนตรี ระนาดทุ ้มเป็ นส่ วนที% ผูใ้ ช้ส ามารถเล่ นเครื% อง
ดนตรี ที%จะเล่นได้ คือ ระนาดเอก แสดงดังตารางที% 3-2

ตารางที 3-2 คําอธิบายฟังก์ชนั% การเลือกเครื% องระนาดทุม้


Use Case Name: เลือกเครื% องดนตรี ระนาดทุม้
Actor: ผูเ้ ล่น
Description: ผูเ้ ล่นเลือกเครื% องดนตรี ระนาดผ่านทาง Application
Normal Course: เมื%อผูเ้ ล่นเข้าสู่ Application และจะปรากฏเครื% องดนตรี ระนาดทุ ม้ ให้
เลื อก จากนั2นผูเ้ ล่นสามารถเล่ นเครื% องดนตรี แล้ว Application จะ
ปรากฏเมนูของเครื% องดนตรี ข2 นึ มา
Alternate Course: -
Precondition: Application
Post-condition: หน้าจอเข้าสู่ เมนูเครื% องดนตรี ระนาดทุม้
20

ค) ฟั ง ก์ชั%นการเลื อกเครื% องดนตรี ระนาดเอกเป็ นส่ วนที% ผูใ้ ช้ส ามารถเล่ นเครื% อง
ดนตรี ที%จะเล่นได้ คือ ระนาดเอก แสดงดังตารางที% 3-3

ตารางที 3-3 คําอธิบายฟังก์ชนั% การเลือกเครื% องฆ้องวงใหญ่


Use Case Name: เลือกเครื% องดนตรี ฆอ้ งวงใหญ่
Actor: ผูเ้ ล่น
Description: ผูเ้ ล่นเลือกเครื% องดนตรี ระนาดผ่านทาง Application
Normal Course: เมื%อผูเ้ ล่นเข้าสู่ Application และจะปรากฏเครื% องดนตรี ฆอ้ งวงใหญ่ให้
เลื อก จากนั2นผูเ้ ล่นสามารถเล่ นเครื% องดนตรี แล้ว Application จะ
ปรากฏเมนูของเครื% องดนตรี ข2 นึ มา
Alternate Course: -
Precondition: Application
Post-condition: หน้าจอเข้าสู่ เมนูเครื% องดนตรี ฆอ้ งวงใหญ่

ง) ฟั งก์ชนั% การแสดงโน้ตดนตรี ไทยเป็ นส่ วนที%ผูใ้ ช้สามารถค้นหาโน้ตดนตรี ไทย


ในฐานข้อมูลที%ผจู ้ ดั ทําได้จดั เก็บรวบรวมไว้ แสดงดังตารางที% 3-4

ตารางที 3-4 คําอธิบายฟั งก์ชนั% การเลือกดูแสดงโน้ตดนตรี ไทย


Use Case Name: โน้ตดนตรี ไทย
Actor: ผูเ้ ล่น
Description: ผูเ้ ล่นสามารถเลือกดูโน้ตดนตรี ไทยผ่านทาง Application
Normal Course: เมื% อ ผูเ้ ล่ น เข้า สู่ Application และเลื อ กเมนู โ น้ ต ดนตรี จ ากนั2น ผูเ้ ล่ น
เลือกดูโน้ตดนตรี
Alternate Course: -
Precondition: ข้อมูลโน้ตดนตรี ไทย, Application
Post-condition: กราฟิ กในหน้าจอแสดงผล
21

จ) ฟั งก์ชนั% ประวัติดนตรี ไทยเป็ นส่ วนที% ผูใ้ ช้สามารถเลื อกชมประวัติของเครื% อง


ดนตรี ไทยแต่ละชนิดได้ แสดงดังตารางที% 3-5

ตารางที 3-5 คําอธิบายฟั งก์ชนั% การชมประวัติดนตรี ไทย


Use Case Name: ประวัติดนตรี ไทย
Actor: ผูเ้ ล่น
Description: ผูเ้ ล่นชมประวัติผา่ น Application
Normal Course: เมื% อผูเ้ ล่นเข้าสู่ Application และเลือกเครื% องดนตรี เรี ยบร้ อยแล้ว จะ
ปรากฏเมนู จากนั2นผูเ้ ล่นเลือกเมนู ชมประวัติ Application จะปรากฏ
หน้าจอประวัติของเครื% องดนตรี แต่ละชนิ ด
Alternate Course: -
Precondition: ข้อมูลประวัติ, Application
Post-condition: กราฟิ กในหน้าจอแสดงผล

**********3.2.3.1**แบบจําลองลําดับเหตุการณ์ของระบบ (System Sequence Diagram)


************** ก) แบบจําลองลําดับเหตุการณ์ที% 1 ผูใ้ ช้งานเลือกเครื% องดนตรี ระนาดเอก
โปรแกรมจะแสดงหน้าเครื% องดนตรี ระนาดเอกให้ผใู ้ ช้งาน สามารถเล่นเหมือนเครื% องจริ งโดยแต่ละ
ปุ่ มจะให้เสี ยงของตัวโน้ต แสดงดังภาพที% 3-2

ภาพที 3-2 Sequence Diagram เลือกเครื% องดนตรี ระนาดเอก


22

************** ข) แบบจําลองลําดับเหตุการณ์ที% 2 ผูใ้ ช้งานเลือกเครื% องดนตรี ระนาดทุม้


โปรแกรมจะแสดงหน้าเครื% องดนตรี ระนาดทุม้ ให้ผใู ้ ช้งาน สามารถเล่นเหมือนเครื% องจริ งโดยแต่ละ
ปุ่ มจะให้เสี ยงของตัวโน้ต แสดงดังภาพที% 3-3

ภาพที 3-3 Sequence Diagram เลือกเครื% องดนตรี ระนาดทุม้

************** ค) แบบจําลองลําดับเหตุการณ์ที% 3 ผูใ้ ช้งานเลือกเครื% องดนตรี ฆอ้ งวงใหญ่


โปรแกรมจะแสดงหน้าเครื% องดนตรี ฆอ้ งวงใหญ่ให้ผใู ้ ช้งาน สามารถเล่นเหมือนเครื% องจริ งโดยแต่
ละปุ่ มจะให้เสี ยงของตัวโน้ต แสดงดังภาพที% 3-4

ภาพที 3-4 Sequence Diagram เลือกเครื% องดนตรี ฆอ้ งวงใหญ่


23

************** ง) แบบจําลองลําดับเหตุการณ์ที% 4 ผูใ้ ช้งานเลือกเมนูโน้ตเพลง จากนั2น


หน้าจอจะแสดงตารางโน้ตพร้อมเสี ยงของเพลงของโน้ตเพลงตามเพลงที%เลือก แสดงดังภาพที% 3-5

Actor :Form :Intruments System

เลือกเมนูโน้ ตเพลง
เรียกดูข้อมูลโน้ ตเพลง
ค้ นหาโน้ ตเพลง
แสดงโน้ ตเพลง

ภาพที 3-5 Sequence Diagram โน้ตเพลงดนตรี ไทย

************** จ) แบบจําลองลําดับเหตุการณ์ที% 5 ผูใ้ ช้งานเลือกเมนูดูประวัติเครื% องดนตรี แต่


ละชนิด หน้าจอจะแสดงผลตามที%ผใู ้ ช้งานเลือกประเภทของเครื% องดนตรี แสดงดังภาพที% 3-6

ภาพที 3-6 Sequence Diagram ประวัติดนตรี ไทย


24

3.3**การออกแบบหน้ าจอผู้ใช้ งาน


**** 3.3.1**ส่ วนของหน้าหลัก ทุกครั2งที%เข้าสู่ระบบจะพบหน้าเมนู ดังแสดงไว้ในภาพที% 3-7

Siam

ภาพที 3-7 หน้าจอเมนูหลักของระบบ

**** 3.3.2**ส่ วนของหน้าจอเล่นระนาดเอกสามารถคลิกแล้วมีเสี ยงดนตรี ดังแสดงไว้ในภาพที% 3-8

Menu

ภาพที 3-8 หน้าจอเล่นเครื% องดนตรี ระนาดเอก


25

**** 3.3.3**ส่ วนของหน้าจอเล่นระนาดทุม้ สามารถคลิกแล้วมีเสี ยงดนตรี ดังแสดงไว้ในภาพที% 3-9

Menu

ภาพที 3-9 หน้าจอเล่นเครื% องดนตรี ระนาดทุม้

**** 3.3.4**ส่ วนของหน้าจอเล่นฆ้องวงใหญ่สามารถคลิกแล้วมีเสี ยงดนตรี ดังแสดงไว้ในภาพที%


3-10

Menu

ภาพที 3-10 หน้าจอเล่นเครื% องดนตรี ฆอ้ งวงใหญ่


26

**** 3.3.5**ส่ วนของหน้าจอชมประวัติดนตรี ไทย ดังแสดงไว้ในภาพที% 3-11

ประวัติดนตรี ไทย
ประวัติระนาดเอก

ประวัติระนาดทุม้

ประวัติฆอ้ งวงใหญ่

ภาพที 3-11 หน้าจอชมประวัติดนตรี ไทย

**** 3.3.6**ส่ วนของหน้าจอประวัติระนาดเอก ดังแสดงไว้ในภาพที% 3-12

ภาพที 3-12 หน้าจอประวัติระนาดเอก


27

**** 3.3.7**ส่ วนของหน้าจอประวัติระนาดทุม้ ดังแสดงไว้ในภาพที% 3-13

ภาพที 3-12 หน้าจอประวัติระนาดทุม้

**** 3.3.8**ส่ วนของหน้าจอประวัติฆอ้ งวงใหญ่ ดังแสดงไว้ในภาพที% 3-14

ประวัติฆ้องวงใหญ่

รายละเอียด

ภาพที 3-14 หน้าจอประวัติฆอ้ งวงใหญ่


28

**** 3.3.9**ส่ วนของหน้าจอชมโน้ตดนตรี ไทย ดังแสดงไว้ในภาพที% 3-15

ภาพที 3-15 หน้าจอชมโน้ตดนตรี ไทย

**** 3.3.10**ส่ วนของหน้าจอโน้ตเพลง ดังแสดงไว้ในภาพที% 3-16

ภาพที 3-16 หน้าจอแสดงโน้ตเพลง


29

3.4**การพัฒนาระบบ
**** การพัฒนาโปรแกรมเล่ นดนตรี ไทยบนแท็บ เล็ตบนระบบปฏิ บัติการแอนดรอยด์ได้พ ัฒนา
ระบบโดยใช้โปรแกรม Eclipse IDE for Java Developer และ Android SDK เป็ นเครื% องมือใน
พัฒนาในส่ วนของแท็บเล็ต ได้เชื%อมต่อกับฐานข้อมูลโดยภาษาที%ใช้คือ Java และใช้ SQLite เป็ น
ฐานข้อมูล
**** ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ โดยการพัฒนาโปรแกรมจะเน้นถึงความสวยงามของระบบและ
การใช้งานที%ง่ายของระบบ โดยรายละเอียดการวิเคราะห์และออกแบบระบบที%ได้ออกแบบไว้น2 ันมา
พัฒนาให้ได้ระบบที%สมบูรณ์

3.5**การประเมินผลของระบบ
**** การทดสอบระบบที% พฒั นาขึ2นนั2น เพื%อความความพึงพอใจของผูใ้ ช้งานโปรแกรมเล่นดนตรี
ไทยบนแท็บเล็ตบนระบบปฏิ บตั ิการแอนดรอยด์ โดยการทดสอบระบบได้แบ่ งเป็ น 2 ขั2นตอน
ดังนี2
**** 3.5.1**การทดลอบระบบในขั2นแอลฟา (Alpha Stage) เพื%อทดสอบหาข้อบกพร่ องของระบบ
โดยผูจ้ ดั ทํา หลังจากนั2นทําการแก้ไขปรับปรุ งระบบให้ดีข2 นึ
**** 3.5.2**การทดลอบระบบในขั2นเบต้า (Beta Stage) เพื%อทดสอบคุณภาพของระบบ ผูจ้ ดั ทําจะ
ติดตั2งระบบลงในเครื อข่ายคอมพิ วเตอร์ และให้กลุ่มตัวอย่างทดลองใช้ระบบ พร้ อมทั2งตอบแบบ
ประเมินคุณภาพของระบบ หลังจากนั2นทําการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากแบบประเมินที%ได้รับ
**** 3.5.3**การประเมินผลความพึงพอใจ แบบประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้ที%มีต่อโปรแกรม
เล่นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ตบนระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์ ได้ทาํ การแบบสอบถามและประเมินผล
ความพึงพอใจของโปรแกรมแบ่งออกเป็ นรู ปแบบ 4 ด้าน ดังนี2
**********3.5.3.1**Unit test เป็ นการทดสอบในระดับ function call เพื%อเป็ นการยืนยันการ
ทํางานระดับย่อยที%สุดว่าทํางานได้ถกู ต้อง เป็ นการทดสอบโดยโปรแกรมเมอร์ผเู ้ ขียนโค้ด
**********3.5.3.2**Integration test เป็ นการทดสอบการเชื%อมต่อส่ วนย่อยๆ(Component หรื อ
Module)ที%นาํ มาประกอบกัน ให้ได้ซอฟต์แวร์ ที%สมบูรณ์
**********3.5.3.3**System test เป็ นการทดสอบการเชื% อมต่อหรื อติ ดต่อสื% อสารกันระหว่า ง
ซอฟต์แวร์ หรื อระบบอื%นๆ
**********3.5.3.4**Acceptant test เป็ นการทดสอบโดยผูใ้ ช้ (End user) หรื อโดยลูกค้า เพื%อดูว่า
ซอฟต์แวร์ ทาํ งานถูกต้องตามต้องการหรื อไม่
30

**********3.5.3.5**เกณฑ์การให้คะแนนของแบบประเมินคุณภาพของและแบบประเมิ นหาผล
ความพึงพอใจกําหนดเกณฑ์ตามวิธีของไลเกิร์ต (Likert) โดยประกอบด้วยมาตรอันดับเชิงคุณภาพ
(Rating Scale) 5 ระดับ และมาตรอันดับเชิงปริ มาณ 5 ระดับด้วยกัน โดยจะให้คะแนนในแต่ละ
หัวข้อตามความเหมาะสม ซึ% งมีลาํ ดับตามความหมายของคะแนนทั2ง 5 ระดับ ดังตารางที% 3-6 และ
3-7

ตารางที 3-6 เกณฑ์การให้คะแนนของแบบประเมินผลความพึงพอใจ


ระดับเกณฑ์การให้คะแนน
ความหมายคะแนนของแบบประเมิน
เชิงคุณภาพ เชิงปริ มาณ
ดีมาก 5 ระบบที%พฒั นามีความพึงพอใจในระดับดีมาก
ดี 4 ระบบที%พฒั นามีความพึงพอใจในระดับดี
ปานกลาง 3 ระบบที%พฒั นามีความพึงพอใจในระดับปานกลาง
พอใช้ 2 ระบบที%พฒั นามีความพึงพอใจในระดับพอใช้
ปรับปรุ ง 1 ระบบที%พฒั นามีความพึงพอใจในระดับปรับปรุ ง

ตารางที 3-7 เกณฑ์การแปลผลของแบบประเมินผลความพึงพอใจ


ระดับเกณฑ์แปลผล
ความหมาย
เชิงคุณภาพ เชิงปริ มาณ
ดีมาก 4.50 – 5.00 ระบบที%พฒั นามีความพึงพอใจในระดับดีมาก
ดี 3.50 – 4.49 ระบบที%พฒั นามีความพึงพอใจในระดับดี
ปานกลาง 2.50 – 3.49 ระบบที%พฒั นามีความพึงพอใจในระดับปานกลาง
น้อย 1.50 – 2.49 ระบบที%พฒั นามีความพึงพอใจในระดับน้อย
น้อยที%สุด 1.00 - 1.49 ระบบที%พฒั นามีความพึงพอใจในระดับน้อยที%สุด

3.6**สถิติทีใช้ ในการวิจยั
**** สถิติที%ใช้ในการประเมินความพึงพอใจต่อโปรแกรมเล่นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ต คือ
**** 3.6.1**ค่าเฉลี%ย (Mean) หรื อ เรี ยกว่าค่ากลางเลขคณิ ต ค่าเฉลี%ย ค่ามัชฌิมเลขคณิ ต เป็ นต้น

X = ∑x
n
31

เมื%อ X แทน ค่าเฉลี%ย


ΣX แทน ผลรวมของคะแนนทั2งหมดของกลุ่ม
n แทน จํานวนของคะแนนในกลุ่ม
**** 3.6.2**ส่ วนเบี%ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เป็ นการวัดการกระจายที%นิยมใช้กนั มาก
เขียนแทนด้วย S.D. หรื อ S

S.D. = Σ(X - X)2


n–1

เมื%อ S.D. แทน ค่าส่ วนเบี%ยงเบนมาตรฐาน


X แทน ค่าคะแนน
n แทน จํานวนคะแนนในแต่ละกลุ่ม
Σ แทน ผลรวม
32

บทที 4
ผลการดําเนินงาน

**** จากการออกแบบและพัฒนา โปรแกรมเล่นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์


ผูพ้ ฒั นาได้แบ่งผลการดําเนิ นการเป็ น 4 ส่ วน ดังนี)
**** 4.1**ผลการพัฒนาระบบ
**** 4.2**ผลประเมินความพึงพอใจระบบ

4.1**ผลการพัฒนาระบบ
**** การใช้งานของโปรแกรมเล่นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์ โดยหน้าจอหลัก
มีเมนูท) งั หมด 5 เมนู โดยผูใ้ ช้งานงานสามารถเลือกเมนูที5ตอ้ งใช้ได้ตามต้องการ ดังภาพที5
4-1

ภาพที 4-1 หน้าจอหน้าแรกของโปรแกรม


33

**** 4.1.1**เมนู ของการเล่ นระนาดเอก โดยเมนู น) ี จะแสดงเครื5 อ งดนตรี เ ป็ นระนาดเอก ผูใ้ ช้ง าน
สามารถเล่นระนาดเอกเหมือนเครื5 องดนตรี จริ ง สามารถกดพร้ อมกันโดยมี เสี ยงออกมาพร้ อมกัน 2
เสี ยง โดยการกดจะกดเป็ นคู่ 8 และสามารถเลือกให้มีเสี ยงประกอบจังหวะเป็ นฉิ5 ง ดังภาพที5 4-2 และ
4-3

ภาพที 4-2 หน้าจอระนาดเอก

ภาพที 4-3 หน้าจอระนาดเอกและดนตรี ประกอบแบบชั)นเดียว


34

**** 4.1.2**เมนู ของการเล่ น ระนาดทุ ้ม โดยเมนู น) ี จะแสดงเครื5 อ งดนตรี เ ป็ นระนาดทุ ้ม ผูใ้ ช้ง าน
สามารถเล่นระนาดทุม้ เหมือนเครื5 องดนตรี จริ ง สามารถกดพร้อมกันโดยมีเสี ยงออกมาพร้อมกัน 2 เสี ยง
โดยการกดจะกดเป็ นคู่ 8 กดเป็ นคู่ 4 หรื อว่ากดให้เป็ นเสี ยงเดียวก็สามารถทําได้ และสามารถเลือกให้
มีเสี ยงประกอบจังหวะเป็ นฉิ5 ง ดังภาพที5 4-4 และ 4-5

ภาพที 4-4 หน้าจอระนาดทุม้

ภาพที 4-5 หน้าจอระนาดทุม้ และดนตรี ประกอบแบบสองชั)น


35

**** 4.1.3**เมนู ของการเล่นฆ้องวงใหญ่ โดยเมนู น) ี จะแสดงเครื5 องดนตรี เ ป็ นฆ้องวงใหญ่ ผูใ้ ช้งาน


สามารถเล่นระนาดฆ้องวงใหญ่เหมือนเครื5 องดนตรี จริ ง สามารถกดพร้อมกันโดยมีเสี ยงออกมาพร้ อม
กัน 2 เสี ยง โดยการกดจะกดเป็ นคู่ 8 กดเป็ นคู่ 4 หรื อว่ากดให้เป็ นเสี ยงเดียวก็สามารถทําได้ และ
สามารถเลือกให้มีเสี ยงประกอบจังหวะเป็ นฉิ5 ง ดังภาพที5 4-6 และ 4-7

ภาพที 4-6 หน้าจอฆ้องวงใหญ่

ภาพที 4-7 หน้าจอฆ้องวงใหญ่และดนตรี ประกอบแบบสามชั)น


36

**** 4.1.4**เมนูเลือกดูโน้ตดนตรี ไทย โดยเมนูน) ี จะประกอบด้วยโน้ตของดนตรี ไทย ที5มีการแบ่งโน้ต


เป็ นห้องตามจังหวะของแต่ละเพลง หรื อถ้าหากผูใ้ ช้งานต้องการฟั งว่าเพลงนี) เล่นอย่างไรก็สามารถกด
ปุ่ มฟังเพลงนี) ก่อนได้ ดังภาพที5 4-8 และ 4-9

ภาพที 4-8 หน้าจอรายการโน้ตดนตรี ไทย

ภาพที 4-9 หน้าจอแสดงโน้ตดนตรี ไทยและฟังเสี ยงดนตรี


37

**** 4.1.5**เมนูเลือกชมประวัติดนตรี ไทย โดยเมนู น) ี จะประกอบด้วยประวัติของเครื5 องดนตรี ระนาด


เอก ระนาดทุม้ ฆ้องวงใหญ่ ดังภาพที5 4-10 และ 4-11

ภาพที 4-10 หน้าจอประวัติดนตรี ไทย

ภาพที 4-11 หน้าจอแสดงประวัติของระนาดทุม้


38

4.2**ผลประเมินความพึงพอใจระบบ
**** การประเมินความพึงพอใจของโปรแกรมเล่นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์
มีวตั ถุประสงค์เพื5อวัดผลการใช้โปรแกรมที5ได้พฒั นาขึ)น ทั)งนี)ผพู้ ฒั นาระบบได้จดั ทําแบบประเมินความ
พึงพอใจของโปรแกรมออกเป็ น 4 ด้าน คือ ด้านความสามารถระบบตรงตามความต้องการ ด้าน
ความถูกต้องในการทํางาน ด้านการใช้งานของระบบ ด้านการออกแบบหน้าจอ
**** 4.2.1**การประเมินผลโดยผูเ้ ชี5 ยวชาญ ผลการประเมิ นความพึ งพอใจของระบบจากผูเ้ ชี5 ยวชาญ
จํานวน 3 คน ดังนี)
**********4.2.1.1**การประเมินความพึงพอใจด้านความสามารถระบบตรงตามความต้องการของ
ผูใ้ ช้จากผูเ้ ชี5ยวชาญ แสดงดังตารางที5 4-1

ตารางที 4-1xxความพึงพอใจด้านความสามารถระบบตรงตามความต้องการของผูเ้ ชี5ยวชาญ

ความพึงพอใจ
รายการประเมิน
S.D. การแปลผล
1. 0ความสามารถในการใช้งานเปรี ยบเสมือนเครื5 อง 3.67 0.58 ดี
ดนตรี จริ ง
2.0ความสามารถใช้งานพร้อมกับเสี ยงเครื5 องดนตรี 4.33 0.58 ดี
ประกอบจังหวะ
สรุ ปผลการประเมิน 4.00 0 ดี

*******จากตารางที5 4-1 ผลสรุ ปมีค่าเฉลี5 ยโดยรวมในด้านนี) เ ท่ ากับ 4.00 ส่ วนเบี5 ยงเบนมาตรฐาน


เท่ ากับ 0 แสดงว่าผูเ้ ชี5 ยวชาญ มีความพึงพอใจ ในด้านความสามารถระบบตรงตามความต้องการของ
ผูใ้ ช้ อยูใ่ นระดับดี
39

**********4.2.1.2xxการประเมินความพึงพอใจด้านความถูกต้องในการทํางานของผูใ้ ช้จากผูเ้ ชี5ยวชาญ


แสดงดังตารางที5 4-2

ตารางที 4-2xxความพึงพอใจด้านความถูกต้องในการทํางานของผูเ้ ชี5ยวชาญ


ความพึงพอใจ
รายการประเมิน
S.D. การแปลผล
1. เสี ยงของเครื5 องดนตรี ถูกต้องตรงตามเสี ยงโน้ต 4.00 0 ดี
ดนตรี
2. ความถูกต้องของโน้ตเพลง 4.00 0 ดี
3. ความถูกต้องของการแสดงผลบนหน้าจอ 3.67 0.58 ดี
สรุ ปผลการประเมิน 3.89 0.33 ดี

**** จากตารางที5 4-2 ผลสรุ ปมีค่าเฉลี5ยโดยรวมในด้านนี)เท่ากับ 3.89 ส่ วนเบี5ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ


0.33 แสดงว่าผูเ้ ชี5ยวชาญ มีความพึงพอใจ ในด้านความถูกต้องในการทํางานของผูใ้ ช้ อยูใ่ นระดับดี
**********4.2.1.3xxการประเมิ น ความพึ ง พอใจด้า นการใช้ง านของระบบของผูใ้ ช้จากผูเ้ ชี5 ยวชาญ
แสดงดังตารางที5 4-3

ตารางที 4-3xxความพึงพอใจด้านการใช้งานของระบบของผูเ้ ชี5ยวชาญ


ความพึงพอใจ
รายการประเมิน
S.D. การแปลผล
1. ความเร็ วในการทํางานของโปรแกรมในภาพรวม 3.67 0.58 ดี
2. ขั)นตอนในการใช้โปรแกรมเข้าใจง่าย 3.67 0.58 ดี
3. โปรแกรมมีการใช้งานตรงตามความต้องการ 3.67 0.58 ดี
สรุ ปผลการประเมิน 3.67 0 ดี

**** จากตารางที5 4-3 ผลสรุ ปมีค่าเฉลี5ยโดยรวมในด้านนี) เท่ากับ 3.67 ส่ วนเบี5ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ


0 แสดงว่าผูเ้ ชี5ยวชาญ มีความพึงพอใจ ในด้านการใช้งานของระบบของผูใ้ ช้ อยูใ่ นระดับดี
40

**********4.2.1.4**การประเมิ นความพึ ง พอใจด้า นการออกแบบหน้า จอของผูใ้ ช้จากผูเ้ ชี5 ยวชาญ


แสดงดังตารางที5 4-4
ตารางที 4-4xxความพึงพอใจการออกแบบหน้าจอของผูเ้ ชี5ยวชาญ
ความพึงพอใจ
รายการประเมิน
S.D. การแปลผล
1. ความสะดวกในการใช้งาน 4.00 0 ดี
2. ความถูกต้องของผลลัพธ์ 4.33 0.58 ดี
3. ความเหมาะสมในการออกแบบหน้าจอ 4.67 0.58 ดีมาก
4. ความชัดเจนของข้อความที5แสดงบนจอภาพ 4.67 0.58 ดีมาก
5. ความเหมาะสมของรู ปแบบตัวอักษรที5เลือกใช้ 4.33 0.58 ดี
6. ความเหมาะสมของการใช้สีโดยภาพรวม 4.67 0.58 ดีมาก
7. ความเหมาะสมของรู ปภาพที5นาํ เสนอ 4.33 0.58 ดี
8. มีความน่ าสนใจในการใช้งานโปรแกรม 4.33 0.58 ดี
สรุ ปผลการประเมิน 4.42 0.15 ดี

**** จากตารางที5 4-4 ผลสรุ ปมีค่าเฉลี5ยโดยรวมในด้านนี)เท่ากับ 4.42 ส่ วนเบี5ยงเบนมาตรฐาน


เท่ากับ 0.15 แสดงว่าผูเ้ ชี5ยวชาญ มีความพึงพอใจในด้านการออกแบบหน้าจอของผูใ้ ช้ อยูใ่ นระดับดี

**** 4.2.2**การประเมินผลโดยผูใ้ ช้งาน ผลการประเมินความพึงพอใจของระบบจากผูใ้ ช้งานจํานวน


30 คน ดังนี)
**********4.2.2.1**การประเมินความพึงพอใจด้านความสามารถระบบตรงตามความต้องการของ
ผูใ้ ช้จากผูใ้ ช้งานแสดงดังตารางที5 4-5
41

ตารางที 4-5xxความพึงพอใจด้านความสามารถระบบตรงตามความต้องการของผูใ้ ช้งาน


ความพึงพอใจ
รายการประเมิน
S.D. การแปลผล
1. ความสามารถในการใช้งานเปรี ยบเสมือนเครื5 อง 4 0.64 ดี
ดนตรี จริ ง
2. ความสามารถใช้งานพร้อมกับเสี ยงเครื5 องดนตรี 3.97 0.49 ดี
ประกอบจังหวะ
สรุ ปผลการประเมิน 3.98 0.11 ดี

*******จากตารางที5 4-5 ผลสรุ ปมีค่าเฉลี5 ยโดยรวมในด้านนี) เ ท่ ากับ 3.98 ส่ วนเบี5 ยงเบนมาตรฐาน


เท่ ากับ 0.11 แสดงว่าผูใ้ ช้งาน มีความพึงพอใจ ในด้านความสามารถระบบตรงตามความต้องการของ
ผูใ้ ช้ อยูใ่ นระดับดี

**********4.2.2.2**การประเมินความพึงพอใจด้านความถูกต้องในการทํางานของผูใ้ ช้จากผูใ้ ช้งาน


แสดงดังตารางที5 4-6

ตารางที 4-6xxความพึงพอใจด้านความถูกต้องในการทํางานของผูใ้ ช้งาน


ความพึงพอใจ
รายการประเมิน
S.D. การแปลผล
1. เสี ยงของเครื5 องดนตรี ถูกต้องตรงตามเสี ยงโน้ต 4.10 0.40 ดี
ดนตรี
2. ความถูกต้องของโน้ตเพลง 4.27 0.64 ดี
3. ความถูกต้องของการแสดงผลบนหน้าจอ 4.10 0.55 ดี
สรุ ปผลการประเมิน 4.16 0.12 ดี

*******จากตารางที5 4-6 ผลสรุ ปมีค่าเฉลี5 ยโดยรวมในด้านนี) เ ท่ ากับ 4.16 ส่ วนเบี5 ยงเบนมาตรฐาน


เท่ากับ 0.12 แสดงว่าผูใ้ ช้งานมีความพึงพอใจ ในด้านความถูกต้องในการทํางานของผูใ้ ช้ อยูใ่ นระดับ
ดี
42

**********4.2.2.3xxการประเมินความพึงพอใจด้านการใช้งานของระบบของผูใ้ ช้จากผูใ้ ช้งาน แสดง


ดังตารางที5 4-7

ตารางที 4-7xxความพึงพอใจด้านการใช้งานของระบบของผูใ้ ช้งาน


ความพึงพอใจ
รายการประเมิน
S.D. การแปลผล
1. ความเร็ วในการทํางานของโปรแกรมในภาพรวม 4.13 0.51 ดี
2. ขั)นตอนในการใช้โปรแกรมเข้าใจง่าย 4.17 0.59 ดี
3. โปรแกรมมีการใช้งานตรงตามความต้องการ 4.10 0.48 ดี
สรุ ปผลการประเมิน 4.13 0.06 ดี

*******จากตารางที5 4-7 ผลสรุ ปมีค่าเฉลี5ยโดยรวมในด้านนี) เท่ากับ 4.13 ส่ วนเบี5ยงเบนมาตรฐาน


เท่ากับ 0.06 แสดงว่าผูใ้ ช้งาน มีความพึงพอใจ ในด้านการใช้งานของระบบของผูใ้ ช้ อยูใ่ นระดับดี
**********4.2.2.4**การประเมินความพึงพอใจด้านการออกแบบหน้าจอของผูใ้ ช้จากผูใ้ ช้งาน แสดง
ดังตารางที5 4-8

ตารางที 4-8xxความพึงพอใจการออกแบบหน้าจอของผูใ้ ช้งาน


ความพึงพอใจ
รายการประเมิน
S.D. การแปลผล
1. ความสะดวกในการใช้งาน 4.43 0 ดี
2. ความถูกต้องของผลลัพธ์ 4.47 0.58 ดี
3. ความเหมาะสมในการออกแบบหน้าจอ 4.50 0.58 ดีมาก
4. ความชัดเจนของข้อความที5แสดงบนจอภาพ 4.60 0.58 ดีมาก
5. ความเหมาะสมของรู ปแบบตัวอักษรที5เลือกใช้ 4.53 0.58 ดีมาก
6. ความเหมาะสมของการใช้สีโดยภาพรวม 4.50 0.58 ดีมาก
7. ความเหมาะสมของรู ปภาพที5นาํ เสนอ 4.53 0.58 ดีมาก
8. มีความน่ าสนใจในการใช้งานโปรแกรม 4.50 0.58 ดีมาก
สรุ ปผลการประเมิน 4.51 0.00 ดีมาก
43

*******จากตารางที5 4-8 ผลสรุ ปมีค่าเฉลี5ยโดยรวมในด้านนี) เท่ากับ 4.51 ส่ วนเบี5ยงเบนมาตรฐาน


เท่ากับ 0.00 แสดงว่าผูใ้ ช้งาน มีความพึงพอใจในด้านการออกแบบหน้าจอของผูใ้ ช้ อยูใ่ นระดับดีมาก
บทที 5
สรุ ปผลและข้ อเสนอแนะ

**** จากการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมเล่นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์


ผูพ้ ฒั นาได้สามารถสรุ ปผลการดําเนินงานและข้อเสนอแนะต่างๆ ดังนี)
**** 5.1**สรุ ปผลการดําเนินงาน
**** 5.2**สรุ ปผลการประเมินความพึงพอใจระบบ
**** 5.3**ข้อเสนอแนะ

5.1 สรุ ปผลการดําเนินงาน


**** การออกแบบและพัฒนาโปรแกรมเล่ นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิ บตั ิ การแอนดรอยด์
พัฒนาขึ)นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื4อการสะดวกสบายในการเล่นดนตรี ไทยผ่านแท็บเล็ตเพื4อง่ายต่อการ
พกพาและผูท้ ี4ตอ้ งการเริ4 มเล่นดนตรี ไทย
**** โดยโปรแกรมเล่นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิ บตั ิการแอนดรอยด์ เหมาะสําหรั บผูท้ ี4 มี
พื)นฐานด้านดนตรี ไทยและความรู ้ เกี4 ยวกับโน้ตดนตรี และเสี ยงประกอบจังหวะ ซึ4 งผลดําเนิ นงาน
สรุ ปความสามารถของระบบได้ ดังนี)
**** 5.1.1**ระบบสามารถเล่นเครื4 องดนตรี ไทยได้ 3 ชิ)น คือ ระนาดเอก ระนาดทุม้ ฆ้องวงใหญ่
**** 5.1.2**ระบบสามารถเล่นเครื4 องดนตรี พร้อมกับเสี ยงประกอบจังหวะ
**** 5.1.3**ระบบสามารถดูโน้ตดนตรี ไทย
**** 5.1.4**ระบบสามารถดูโน้ตดนตรี ไทยพร้อมกับฟังเสี ยงเพลงของโน้ตเพลงนั)นได้
**** 5.1.5**ระบบสามารถดูประวัติของเครื4 องดนตรี ท) งั 3 ชั)น

5.2 สรุ ปผลการประเมินความพึงพอใจระบบ


**** 5.2.1**สรุ ปผลการประเมินความพึงพอใจต่อระบบในด้านต่างๆ ของผูเ้ ชี4ยวชาญ
**********5.2.1.1**ผลการประเมินด้านความสามารถระบบตรงตามความต้องการของผูใ้ ช้ พบว่า
ค่าเฉลี4ยโดยรวมเท่ากับ 4.00 แสดงให้เห็ นว่าระบบที4พฒั นาขึ)นผูเ้ ชี4 ยวชาญมีความพึงพอใจอยูใ่ น
ระดับดี
**********5.2.1.2**ผลการประเมิ น ด้า นความถู ก ต้อ งในการทํา งานของผูใ้ ช้ พบว่า ค่ า เฉลี4 ย
โดยรวมเท่ากับ 3.89 แสดงให้เห็นว่าระบบที4พฒั นาขึ)นผูเ้ ชี4ยวชาญมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับดี
51

**********5.2.1.3**ผลการประเมินด้านการใช้งานของระบบของผูใ้ ช้ พบว่าค่าเฉลี4 ยโดยรวม


เท่ากับ 3.67 แสดงให้เห็นว่าระบบที4พฒั นาขึ)นผูเ้ ชี4ยวชาญมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับดี
**********5.2.1.4**ผลการประเมินด้านการออกแบบหน้าจอของผูใ้ ช้ พบว่าค่าเฉลี4 ยโดยรวม
เท่ากับ 4.42 แสดงให้เห็นว่าระบบที4พฒั นาขึ)นผูเ้ ชี4ยวชาญมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับดี
**** 5.2.2 สรุ ปผลการประเมินความพึงพอใจต่อระบบในด้านต่างๆ ของผูใ้ ช้งาน
**********5.2.2.1**ผลการประเมินด้านความสามารถระบบตรงตามความต้องการของผูใ้ ช้ พบว่า
ค่าเฉลี4ยโดยรวมเท่ากับ 3.98 แสดงให้เห็นว่าระบบที4พฒั นาขึ)นผูใ้ ช้งานมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับ
ดี
**********5.2.2.2**ผลการประเมิ น ด้า นความถู ก ต้อ งในการทํา งานของผูใ้ ช้ พบว่า ค่ า เฉลี4 ย
โดยรวมเท่ากับ 4.16 แสดงให้เห็นว่าระบบที4พฒั นาขึ)นผูใ้ ช้งานมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับดี
**********5.2.2.3**ผลการประเมินด้านการใช้งานของระบบของผูใ้ ช้ พบว่าค่าเฉลี4 ยโดยรวม
เท่ากับ 4.13 แสดงให้เห็นว่าระบบที4พฒั นาขึ)นผูใ้ ช้งานมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับดี
**********5.2.2.4**ผลการประเมินด้านการออกแบบหน้าจอของผูใ้ ช้ พบว่าค่าเฉลี4 ยโดยรวม
เท่ากับ 4.51 แสดงให้เห็นว่าระบบที4พฒั นาขึ)นผูใ้ ช้งานมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับดีมาก

5.3**ข้ อเสนอแนะ
**** 5.3.1**ในส่ วนของโน้ตเพลงที4ใช้ในการเล่นดนตรี ควรเพิ4มความหลากหลายของเพลง และ
จังหวะของดนตรี เพื4อความน่าสนใจ
**** 5.3.2**ความสามารถในการใช้งาน ควรเพิ4มในส่ วนของฟั งก์ชนั4 การสอนเล่นดนตรี ไทยเป็ น
ไฟล์วดี ีโอเพื4อง่ายต่อผูท้ ี4กาํ ลังจะศึกษาเกี4ยวกับดนตรี ไทย
**** 5.3.3**รู ปแบบของภาพที4แสดงบนหน้าจออาจมีการนําเทคโนโลยีรูปภาพแบบ 3 มิติ เพื4อเข้า
มาช่วยทําให้โปรแกรมดูมีความน่าสนใจยิง4 ขึ)น
เอกสารอ้ างอิง

ภาษาไทย
กรกฎ วงศ์สุวรรณ. การศึกษากระบวนการถ่ายทอดดนตรี ไทยของปราชญ์ชาวบ้าน. วิทยานิพนธ์
*******ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา ภาควิชาพื-นฐานทางการศึกษา
*******มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2549.
กิดานันท์ มลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. กรุ งเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
******* 2543.
กิตติมา หนองหารพิทกั ษ์, คฑา โพธิ สาร และธี ระวัฒน์ นิมมาศุภวงศ์รัฐ. ดนตรี ไทยวง
เครื= องสายบนโทรศัพท์มือถือ. ปริ ญญานิพนธ์วทิ ยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวิทยาการ
คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2554.
จิรกานต์ สิ ริกวินกอบกุล.โลกดนตรี ไทย.[ออนไลน์]. Available from : http://pirun.ku.ac.th/
~b521110058/ Templates/ongprakob.html
เจ้าพระยามหิ นทรศักดิZธาํ รง (เพ็ง เพ็ญกุล). ตําราดนตรี วทิ ยา. กรุ งเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
2450.
ชิ-น ศิลปบรรเลง, คุณหญิง และลิขิต จินดาวัฒน์ . ดนตรี ไทยศึกษา . กรุ งเทพฯ : อักษรเจริ ญทัศน์,
2521
ณัฐนัย แก่นสิ งห์ และปริ วฒั น์ พลูจวง. โปรแกรมเพื=อนักกีตาร์ บนโทรศัพท์มือถือ. [ออนไลน์].
Available from : http://www.technicchan.ac.th/?name=article&page=6
ระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์. [ออนไลน์]. Available from : http://www.th. wikipedia wiki/
*******แอนดรอยด์_(ระบบปฏิบตั ิการ) [2554,มกราคม 22].

ภาษาอังกฤษ
Android developers. [ออนไลน์]. Available from: http://developer.android.com/index.html.
Gartner,Inc.(NYSE:IT). Gartner Identifies the Top 10 Consumer Mobile Application for
2012.[ออนไลน์]. Available form: http://gartner.com/it/page.jsp?id=12300413
[2011,January 20]
Borce Trajkovski. My Piano. [homepage on the Internet]. [cited 2012 May 12]. Available from:
https://market.android.com/details?id=com.bti.myPiano&feature=search_result/

OMNIANO-PIANO. [homepage on the Internet]. [cited 2009 January 31]. Available from:
47

*******http://marketplace.windowsphone.com/details.aspx?appId=62eab332-4a38-47a6-
a63edfe84b30e49f&retURL=/categories.aspx%3FcategoryId%3D50072
Piano Free with Songs. [homepage on the Internet]. [cited 2012 January 11]. Available from:
*******http://itunes.apple.com/us/app/piano-free-with-songs/id408878018?mt=8
48

ภาคผนวก ก

หนังสื อแต่งตังผูเ้ ชียวชาญประเมินระบบ


49
50
51
52

ภาคผนวก ข

รายนามผูเ้ ชียวชาญประเมินความพึงพอใจระบบ
53

รายนามผู้เชี ยวชาญ

1. ชือ-นามสกุล นายนิมิตร ยาจันทร์


ตําแหน่ง อาจารย์สอนดนตรี ไทย
สถานทีทาํ งาน โรงเรี ยนวัดชุกพี4 หมู่ที 1 ตําบลม่วงชุม อําเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี

2. ชือ-นามสกุล นางสาววรรณา หลวงเทพ


ตําแหน่ง อาจารย์สอนดนตรี ไทย
สถานทีทาํ งาน โรงเรี ยนวัดวังขนายทายิการาม หมู่ที 2 ถนนแสงชู โต บ้านวังขนาย
ตําบลวังขนาย อําเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี

3. ชือ-นามสกุล นางศิริรักษ์ ใคร่ ครวณ


ตําแหน่ง อาจารย์สอนดนตรี ไทย
สถานทีทาํ งาน โรงเรี ยนวัดขุนไทยธาราราม หมู่ที 1 บ้านลําขุนไทย ตําบลรางสาลี
อําเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
54

ภาคผนวก ค

แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจระบบ
55

แบบประเมินความพึงพอใจ
โปรแกรมเล่ นดนตรีไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิบัตกิ ารแอนดรอยด์
The Development of Thai Musical on Tablet for Android Application
(สํ าหรับผู้เชี@ ยวชาญ)
คําชีCแจง
แบบประเมินนี มีวตั ถุ ประสงค์เพื"อประเมินหาความพึงพอใจในการทํางานของโปรแกรม
เล่นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์ โดยแบบประเมินนี มีจาํ นวนทังสิ น 3 หน้า
แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ
ตอนที*@ 1**แบบประเมินด้ านความพึงพอใจของระบบ
ส่ วนที"*1**1. ความสามารถระบบตรงตามความต้องการ
ส่ วนที"*1**2. ความถูกต้องในการทํางาน
ส่ วนที"*1**3. การใช้งานของระบบ
ส่ วนที"*1**4. การออกแบบหน้าจอ
ตอนที*@ 2**ข้ อคิดเห็น และข้ อเสนอแนะ

ตอนที*@ 1**แบบประเมินด้ านความพึงพอใจของระบบ


การประเมินความพึงพอใจการทํางานของระบบ ประกอบด้วยส่ วนคําถามที"อยูด่ า้ นซ้ายมือ
และมาตราส่ วนประมาณค่าที"อยูด่ า้ นขวามือโดยให้ทาํ เครื" องหมายถูก (√) ลงในช่องด้านขวามือให้
ตรงกับ ระดับประมาณค่ าความพึง พอใจของโปรแกรม ซึ" งกําหนดเกณฑ์การให้ค ะแนนในเชิ ง
ปริ มาณของแบบประเมินเป็ น 5 ระดับ
56

ระดับความพึงพอใจ
รายการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรับปรุ ง
5 4 3 2 1
ส่ วนที@ 1 ความสามารถระบบตรงตามความต้ องการ
1. ความสามารถในการใช้งาน
เปรี ยบเสมือนเครื" องดนตรี จริ ง
2. ความสามารถใช้งานพร้ อม
กับเสี ยงเครื" องดนตรี ประกอบ
จังหวะ
ส่ วนที@ 2 ความถูกต้ องในการทํางาน
1. เสี ย งของเครื" องดนตรี
ถู ก ต้ อ งตรงตามเสี ยงโน้ ต
ดนตรี
2. ความถูกต้องของโน้ตเพลง
3. ความถู ก ต้ อ งของการ
แสดงผลบนหน้าจอ
ส่ วนที@ 3 การใช้ งานของระบบ
1. ความเร็ วในการทํางานของ
โปรแกรมในภาพรวม
2. ขันตอนในการใช้โปรแกรม
เข้าใจง่าย
3. โปรแกรมมีการใช้งานตรง
ตามความต้องการ
ส่ วนที@ 4 การออกแบบหน้ าจอ
1. ความสะดวกในการใช้งาน
2. ความถูกต้องของผลลัพธ์
3. ความเหมาะสมในการ
ออกแบบหน้าจอ
4. ความชัดเจนของข้อความที"
แสดงบนจอภาพ
57

5. ความเหมาะสมของรู ปแบบ
ตัวอักษรที"เลือกใช้
6. ความเหมาะสมของการใช้สี
โดยภาพรวม
7. ความเหมาะสมของรู ปภาพ
ที"
นําเสนอ
8. มีความน่าสนใจในการใช้
งานโปรแกรม

ตอนที*@ 2**ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..

ขอขอบพระคุณทุกท่านที"สละเวลาทําแบบประเมิน
58

แบบประเมินความพึงพอใจ
โปรแกรมเล่ นดนตรีไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิบัตกิ ารแอนดรอยด์
The Development of Thai Musical on Tablet for Android Application
(สํ าหรับผู้ใช้ งาน)
คําชีCแจง
แบบประเมินนี มีวตั ถุ ประสงค์เพื"อประเมินหาความพึงพอใจในการทํางานของโปรแกรม
เล่นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิบตั ิการแอนดรอยด์ โดยแบบประเมินนี มีจาํ นวนทังสิ น 3 หน้า
แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ
ตอนที*@ 1**แบบประเมินด้ านความพึงพอใจของระบบ
ส่ วนที"*1**1. ความสามารถระบบตรงตามความต้องการ
ส่ วนที"*1**2. ความถูกต้องในการทํางาน
ส่ วนที"*1**3. การใช้งานของระบบ
ส่ วนที"*1**4. การออกแบบหน้าจอ
ตอนที*@ 2**ข้ อคิดเห็น และข้ อเสนอแนะ

ตอนที*@ 1**แบบประเมินด้ านความพึงพอใจของระบบ


การประเมินความพึงพอใจการทํางานของระบบ ประกอบด้วยส่ วนคําถามที"อยูด่ า้ นซ้ายมือ
และมาตราส่ วนประมาณค่าที"อยูด่ า้ นขวามือโดยให้ทาํ เครื" องหมายถูก (√) ลงในช่องด้านขวามือให้
ตรงกับ ระดับประมาณค่ าความพึง พอใจของโปรแกรม ซึ" งกําหนดเกณฑ์การให้ค ะแนนในเชิ ง
ปริ มาณของแบบประเมินเป็ น 5 ระดับ
59

ระดับความพึงพอใจ
รายการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรับปรุ ง
5 4 3 2 1
ส่ วนที@ 1 ความสามารถระบบตรงตามความต้ องการ
1. ความสามารถในการใช้งาน
เปรี ยบเสมือนเครื" องดนตรี จริ ง
2. ความสามารถใช้งานพร้ อม
กับเสี ยงเครื" องดนตรี ประกอบ
จังหวะ
ส่ วนที@ 2 ความถูกต้ องในการทํางาน
1. เสี ย งของเครื" องดนตรี
ถู ก ต้ อ งตรงตามเสี ยงโน้ ต
ดนตรี
2. ความถูกต้องของโน้ตเพลง
3. ความถู ก ต้ อ งของการ
แสดงผลบนหน้าจอ
ส่ วนที@ 3 การใช้ งานของระบบ
1. ความเร็ วในการทํางานของ
โปรแกรมในภาพรวม
2. ขันตอนในการใช้โปรแกรม
เข้าใจง่าย
3. โปรแกรมมีการใช้งานตรง
ตามความต้องการ
ส่ วนที@ 4 การออกแบบหน้ าจอ
1. ความสะดวกในการใช้งาน
2. ความถูกต้องของผลลัพธ์
3. ความเหมาะสมในการ
ออกแบบหน้าจอ
4. ความชัดเจนของข้อความที"
แสดงบนจอภาพ
60

5. ความเหมาะสมของรู ปแบบ
ตัวอักษรที"เลือกใช้
6. ความเหมาะสมของการใช้สี
โดยภาพรวม
7. ความเหมาะสมของรู ปภาพ
ที"
นําเสนอ
8. มีความน่าสนใจในการใช้
งานโปรแกรม

ตอนที*@ 2**ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………..

ขอขอบพระคุณทุกท่านที"สละเวลาทําแบบประเมิน
61

ภาคผนวก ง

คู่มือการใช้งาน
62

1. วิธีการเข้าสู่ ระบบ คลิกไอคอนชื!อ SAIM Musical ที!หมายเลข 1 เพื!อเข้าใช้งานแอพพลิเคชัน! ดัง


แสดงในภาพที! ง-1

ภาพที ง-1 หน้าจอแสดงไอคอนของระบบ

2. เมื!อเข้าสู่ ระบบจะปรากฏหน้าจอให้เลือกเมนู ดังแสดงในภาพที! ง-2 ผูใ้ ช้ระบบสามารถคลิกเลือก


เข้าเมนูได้ดงั คําอธิ บายต่อไปนี:
2.1 คลิกที!ปุ่ม เล่นระนาดเอก ที!หมายเลข 1 เพื!อเล่นเครื! องดนตรี ระนาดเอก
2.2 คลิกที!ปุ่ม เล่นระนาดทุม้ ที!หมายเลข 2 เพื!อเล่นเครื! องดนตรี ระนาดทุม้
2.3 คลิกที!ปุ่ม เล่นฆ้องวงใหญ่ ที!หมายเลข 3 เพื!อเล่นเครื! องดนตรี ฆอ้ งวงใหญ่
2.4 คลิกที!ปุ่ม เลือกชมประวัติดนตรี ไทย ที!หมายเลข 4 เพื!อเลือกชมประวัติดนตรี ไทย
2.5 คลิกที!ปุ่ม เลือกชมโน้ตดนตรี ไทย ที!หมายเลข 5 เพื!อเลือกชมโน้ตเพลงดนตรี ไทย
63

ภาพที ง-2 ผูใ้ ช้ระบบเข้าเมนูหลัก

3. เมื!อคลิกที!ปุ่ม เล่นระนาดเอก แล้วจะปรากฏหน้าจอแสดงเครื! องดนตรี ระนาดเอก ดังแสดง


ภาพที! ง-3 ผูใ้ ช้ระบบสามารถคลิกปุ่ มต่างๆ ดังคําอธิ บายต่อไปนี:
3.1 คลิกที!ปุ่ม MANU ที!หมายเลข 1 เพื!อผูใ้ ช้ระบบกลับไปยังหน้าหลัก
3.2 คลิกที!ปุ่ม ฉิ! งชั:นเดียว ที!หมายเลข 2 เพื!อเลือกดนตรี ประกอบจังหวะหนึ!งชั:น
3.3 คลิกที!ปุ่ม ฉิ! งสองชั:น ที!หมายเลข 3 เพื!อเลือกดนตรี ประกอบจังหวะสองชั:น
3.4 คลิกที!ปุ่ม ฉิ! งสามชั:น ที!หมายเลข 4 เพื!อเลือกดนตรี ประกอบจังหวะสามชั:น
3.5 คลิกที!ปุ่ม โน้ตดนตรี ระนาดเอก ที!หมายเลข 5 เพื!อเลือกเล่นโน้ตต่างๆของระนาดเอก
64

ภาพที ง-3 เล่นระนาดเอก


4. เมื!อคลิกที!ปุ่ม เล่นระนาดทุม้ แล้วจะปรากฏหน้าจอแสดงเครื! องดนตรี ระนาดทุม้ ดังแสดงในภาพ
ที! ง-4 ผูใ้ ช้ระบบสามารถคลิกปุ่ มต่างๆ ดังคําอธิ บายต่อไปนี:
4.1 คลิกที!ปุ่ม MANU ที!หมายเลข 1 เพื!อผูใ้ ช้ระบบกลับไปยังหน้าหลัก
4.2 คลิกที!ปุ่ม ฉิ! งชั:นเดียว ที!หมายเลข 2 เพื!อเลือกดนตรี ประกอบจังหวะหนึ!งชั:น
4.3 คลิกที!ปุ่ม ฉิ! งสองชั:น ที!หมายเลข 3 เพื!อเลือกดนตรี ประกอบจังหวะสองชั:น
4.4 คลิกที!ปุ่ม ฉิ! งสามชั:น ที!หมายเลข 4 เพื!อเลือกดนตรี ประกอบจังหวะสามชั:น
4.5 คลิกที!ปุ่ม โน้ตดนตรี ระนาดทุม้ ที!หมายเลข 5 เพื!อเลือกเล่นโน้ตต่างๆของระนาดทุม้

ภาพที ง-4 เล่นระนาดทุม้


65

5. เมื!อคลิกที!ปุ่ม เล่นฆ้องวงใหญ่ แล้วจะปรากฏหน้าจอแสดงเครื! องดนตรี ฆอ้ งวงใหญ่ ดังแสดงใน


ภาพที! ง-5 ผูใ้ ช้ระบบสามารถคลิกปุ่ มต่างๆ ดังคําอธิ บายต่อไปนี:
5.1 คลิกที!ปุ่ม MANU ที!หมายเลข 1 เพื!อผูใ้ ช้ระบบกลับไปยังหน้าหลัก
5.2 คลิกที!ปุ่ม ฉิ! งชั:นเดียว ที!หมายเลข 2 เพื!อเลือกดนตรี ประกอบจังหวะหนึ!งชั:น
5.3 คลิกที!ปุ่ม ฉิ! งสองชั:น ที!หมายเลข 3 เพื!อเลือกดนตรี ประกอบจังหวะสองชั:น
5.4 คลิกที!ปุ่ม ฉิ! งสามชั:น ที!หมายเลข 4 เพื!อเลือกดนตรี ประกอบจังหวะสามชั:น
5.5 คลิกที!ปุ่ม โน้ตดนตรี ฆอ้ งวงใหญ่ที!หมายเลข 5 เพื!อเลือกเล่นโน้ตต่างๆของฆ้องวงใหญ่

ภาพที ง-5 เล่นฆ้องวงใหญ่

6. เมื!อคลิกที!ปุ่ม เลือกชมประวัติดนตรี ไทย ดังแสดงในภาพที! ง-6 ผูใ้ ช้ระบบดังคําอธิ บาย


ต่อไปนี:
6.1 คลิกที!ปุ่ม รายชื!อเพลง ที!หมายเลข 1 เพื!อสามารถเลือกดูประวัติเครื! องดนตรี ไทย
66

ภาพที ง-6 เลือกชมประวัติดนตรี ไทย

7. เมื!อคลิกที!ปุ่ม เลือกประวัติดนตรี ไทย ดังแสดงในภาพที! ง-7 ผูใ้ ช้ระบบดังคําอธิ บายต่อไปนี:


7.1 แสดงประวัติดนตรี ไทย ที!หมายเลข 1 เพื!อสามารถแสดงรายละเอียดประวัติดนตรี
ไทย

ภาพที ง-7 แสดงรายละเอียดประวัติดนตรี ไทย


67

8. เมื!อคลิกที!ปุ่ม เลือกชมโน้ตดนตรี ไทย ดังแสดงในภาพที! ง-8 ผูใ้ ช้ระบบดังคําอธิ บายต่อไปนี:


8.1 คลิกที!ปุ่ม รายชื!อเพลง ที!หมายเลข 1 เพื!อสามารถเลือกดูโน้ตในเพลงต่างๆ

ภาพที ง-8 เลือกชมโน้ตดนตรี ไทย


9. เมื!อคลิกที!ปุ่ม เลือกจังหวะดนตรี ประกอบเครื! องดนตรี ดังแสดงในภาพที! ง-8 ผูใ้ ช้ระบบดัง
คําอธิ บายต่อไปนี:
9.1 คลิกที!ปุ่ม ดนตรี ประกอบจังหวะ ที!หมายเลข 1 สามารถเลือกคลิกเลือกดนตรี ที!จะใช้
ประกอบในการเล่น
9.2 คลิกที!ปุ่ม หยุดเล่น ที!หมายเลข 2 สามารถหยุดเล่นดนตรี ประกอบจังหวะ

ภาพที ง-9 เลือกจังหวะดนตรี ประกอบเครื! องดนตรี


68

ประวัติผ้ ูจัดทําปัญหาพิเศษ

ชื อ : นางสาวกรณิ การ์ ชูตระกูลธรรม


ชื อปัญหาพิเศษ : การพัฒนาโปรแกรมเล่นดนตรี ไทยบนแท็บเล็ตระบบปฏิบตั ิการ
แอนดรอยด์
สาขาวิชา : เทคโนโลยีสารสนเทศ

ประวัติ
ประวัติส่วนตัว เกิดเมื*อวันที* 24 มกราคม 2531 ที*อยูป่ ั จจุบนั 214/4 ซอยงามวงค์วาน 27
แยก 1 ถ.งามวงค์วาน ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 ประวัติการศึกษา สําเร็ จการศึกษา
ระดับ มัธ ยมศึ ก ษา จากโรงเรี ย นกาญจนานุ เคราะห์ ปี การศึ ก ษา 2549 สํา เร็ จการศึ ก ษาระดับ
ปริ ญญาตรี สาขาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ - คอมพิ วเตอร์ ธุ รกิ จ คณะบริ หารธุ รกิ จ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปี การศึกษา 2553

สถานที*ติดต่อ : 214/4 ซ.งามวงค์วาน 27 แยก 1 ถ.งามวงค์วาน ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี


เบอร์ โทรศัพท์ : 089-7966611
อีเมลล์ : kornnika-_-ch@hotmail.com

You might also like