You are on page 1of 10

โครงงาน Good weather

จัดทำโดย
นายนันทวิทย์ อุบล เลขที่ 12
นายปณพล โพธิ์หวี เลขที่ 13
นายวริทธิ์นันท์ เรืองศรี เลขที่ 22
นายโสภณ นิลทับ เลขที่ 26
นายอรงกรณ์ เตียเพชร์ เลขที่ 28
นายอินถราทิตย์ บวรโชติปกรณ์ เลขที่ 29

อาราจย์ที่ปรึกษา
นางสาวจรินญา ประสิทธิ์ชัย
นางสาววราลักษณ์ บุษยานนท์
นายธีรภัทร เอี่ยมจร

ที่มาและความสำคัญของโครงาน
ต้องการตรวจสอบอุณหภูมิภายในบริเวณที่ต้องการ เช่น ในบริเวณนั้นร้อนเกินไปอาจะส่งผล
เสียต่าสุขภาพ และต้องการให้มีระบบแจ้งเตือนเพื่อความสบายใจ
วัตถุประสงค์
ต้องการทราบอุณหภูมิอย่างเรียลไทม์
แจ้งเตือนเมื่อมีเหตุไฟไหม้หรืออุณหภูมิสูงเกินไป
สมมติฐาน
ถ้าอยากทราบข้อมูลอุณหภูมิจะสร้างได้อย่างไรเมื่อเกิดไฟไหม้จะแจ้งเตือนอย่างไร
ขอบเขตของการทำโครงงาน
ติดตั้งเซนเซอร์วัดอุณหภูมิในจุดต่างๆของบ้าน,โรงเรียน,รถยนต์
และกำหนดค่าให้แจ้งเตือนเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 50 องศา
วิธีการดำเนินการ
1.ติดตั้งสถานีวัดค่าแบบเรียลไทม์

2.รู้ทันทีเมื่อเกิดเหตุการณ์ไฟไหม้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ทราบอุณหภูมิอย่างเรียลไทม์

2 รู้ทันเมื่อเกิดเหตุการณ์ไฟไหม้

แผนการกำหนดเวลาปฎิบัติงาน
เอกสารอ้างอิง
https://libdoc.dpu.ac.th/thesis/Waravut.Pat.pdf

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

การศึกษาในครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งเนื้อหาของ


เอกสารออกเป็ นหัวข้อต่างๆดังนี้
2.1 สถานีอุตุน้อย
ในช่วงปี 2560 - 2561 ทางศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
สวทช. ได้รับงบประมาณในการผลิตและกระจายบอร์ด KidBright200,000 บอร์ด ไปยังโรง
เรียกว่า 2,200 แห่งทั่วประเทศ เนื่องจากบอร์ด KidBright มีศักยภาพในการเก็บข้อมูลจาก
เซนเซอร์และส่งข้อมูลที่เก็บได้ขึ้นคลาวน์เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์จากบอร์ด KidBright
ที่กระจายอยู่ในโรงเรียนได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และกระตุ้นให้นักเรียนเข้าใจกระบวนการ
เก็บข้อมูลและน าข้อมูลเหล่านี้มาใช้ประโยชน์-องค์ประกอบสถานีอุตุน้อยมีส่วนประมวลผล
หลักเป็ นบอร์ด KidBright ที่รับข้อมูลจากเซนเซอร์ที่เชื่อมต่อกับบอร์ดเพื่อใช้วัดข้อมูล
อุตุนิยมวิทยาเบื้องต้น ได้แก่ ความชื้น อุณหภูมิ ความเข้มแสง ความเร็วลม ทิศทางลม ปริมาณ
น้ำฝน

2.2 ส่วนประกอบอุปกรณ์อุตุน้อย

1. วัดทิศทางลม

2. วัดความเร็วลม

3. วัดปริมาณฝนสะสม

4. วัดความชื้นสัมพัทธ์และอุณหภูมิ

5. บอร์ดคิดไบรท์และบอร์ดต่อขยายพอร์ต
2.3 ขั้นตอนในประกอบอุปกรณ์อุตุน้อย

1. ประกอบตัววัดทิศทางลมและตัววัดความเร็วลมเข้ากับก้านยึด

2. ในการประกอบให้สังเกตดูตัวล็อคพร้อมกับขันสกร

3. ประกอบก้านยึดเข้ากับเสาดังรูป พร้อมกับขันสกร

4. นำสายสัญญาณจากตัววัดความเร็วลมต่อเข้ากับช่องต่อตัววัดทิศทางลม

5. ประกอบตัววัดปริมาณฝนสะสมเข้ากับเสายึดด้วยสกรู

6. ประกอบตัววัดความชื้นสัมพัทธ์เข้ากับกล่องกันน้ำ

7. ประกอบบอร์ดคิดไบรท์และบอร์ดต่อขยายพอร์ตเข้าด้วยกัน

8.ต่อสายสัญญาณตัววัดปริมาณฝนสะสมและตัววัดทิศทางลม ดังรูป จากนั้นท าการเชื่อมต่อ


สาย Micro USB จาก Kidbright กับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อเขียนโปรแกรม
9. หลังจากเขียนโปรแกรมเสร็จ เก็บสายในกล่องกันน้ำให้เรียบร้อย พร้อมกับนำไปติดตั้งใช้งาน

ผลงานการวิจัย
เราสามารถเข้าดูข้อมูลจากสถานีได้ทั้งหมด 5 ตัวแปร ประกอบด้วย 1) ค่าอุณหภูมิ 2) ค่า
สภาพแสง(เป็ น %)
3) ค่าความเร็วลม 4) ความชื้นในอากาศ 5) ปริมาณน้ำฝน โดยมีการเก็บข้อมูลจากสถานีขึ้น
ไปยังระบบทุกๆ 20 นาที
เพื่อความสะดวกในการเข้าเว็บไซต์ เราสามารถเพิ่มเว็บ UtuNoi WATCH บนมือถือ โดยเปิ ด
การเข้าถึงตำแหน่งบนโทรศัพท์มือถือตามและสร้าง icon แอพอุตุน้อยบนหน้าจอ
วิธีดำเนินการศึกษา
ในการศึกษานี้ผู้ ศึกษาได้ศึกษา เรื่องสถานีวัดสภาพอากาศอุตุน้อย
ระเบียบวิธีที่ใช้ในการศึกษา
การสำรวจ สืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตหนังสือ และการสัมภาษณ์
ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา 1 ภาคเรียน

วิธีดำเนินการศึกษา
1.สมาชิกในกลุ่มต้องการใช้ประโยชน์จากบอร์ด KidBright ของโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย

2.สมาชิกในกลุ่มพบว่าสามารถใช้ บอร์ด KidBright วัดอุณหภูมิ ความชื้น


ความเข้มแสง ความเร็วลม ทิศทางลม และปริมาณน้ำฝน จึงเหมาะสมที่จะทำเครื่องมือวัดทาง
อุตุนิยมวิทยา
3.เลือกหัวข้อสถานีวัดสภาพอากาศอุตุน้อย

4.สมาชิกในกลุ่มขอคำแนะนำจากครูที่ปรึกษา

5.สมาชิกในกลุ่มช่วยกันหาข้อมูลเกี่ยวกับ วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ และโปรแกรมที่เกี่ยวข้อง


6.สมาชิกในกลุ่มสร้างเครื่องมือวัดสภาพอากาศอุตุน้อย

7.ทดลองใช้จริงและปรับปรุงแก้ไขส่วนที่มีปัญหา

8. สรุปการศึกษา

เครื่องมือ/อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา
1. บอร์ด KidBright พร้อมสาย micro USB จำนวน 1 บอร์ด

2. บอร์ดขยายความสามารถ Weather station extension จำนวน 1 บอร์ด

3. เซนเซอร์วัดน้ำฝน RAIN METER Model: WH-SP-RG จำนวน 1 ตัว

4. MOUNTING ARM FOR RAIN METER Model: WH-SP-MR01-1 จำนวน 1 เสา


5. MOUNTING ARM FOR WIND SPEED SENSOR WIND DIRECTION SENSOR
Model:

WH-SP-MR02-1 จำนวน 1 เสา

6. เซนเซอร์วัดความเร็วลม WIND SPEED SENSOR Model: WH-SP-WS จำนวน 1 ตัว

7. เซนเซอร์วัดทิศทางลม WIND DIRECTION SENSOR Model: WH-SP-WD จำนวน 1 ตัว

8. เซนเซอร์วัดความชื้น Sensor SHT31 พร้อม case จำนวน 1 ตัว

9. กล่องเบรคเกอร์พลาสติก คุณภาพสูง H A4 ช่องแบบกันน้ำ IP65 จำนวน 1 กล่อง


10. สายไฟ AWG 22 ยาว 10 CM จำนวน 1 เส้น

11. เสาเหล็ก ชุบกัลวาไนซ์ ขนาด ½ นิ้ว ยาว 1.5 เมตรโดยประมาณ จำนวน 1 เสา

12. ตัวยึดท่อขนาด ½ นิ้ว พร้อมสกรู จำนวน 2 ชิ้น

13. ฐานรองไนล่อน spacer M3 x 18 mm. จำนวน 4 ชิ้น พร้อมสกรู M3 x 5 จ านวน 8 ชิ้น

14. ตัวยึดแผงวงจร PCB ขนาด 4.2x1x1.8 ซม. สำหรับติดตั้งราง DIN จำนวน 2 ชิ้น พร้อมสก
รู 4 ตัว
15. Female header 7 pins จำนวน 1 ชิ้น

16. Female header 8 pins จำนวน 1 ชิ้น

ผลการศึกษา
การศึกษาข้อมูลเรื่อง เครื่องวัดสภาพอากาศ ได้ผลดังนี้

จัดทำตารางตามแบบสอบถามที่สร้าง
ตอนที่ 1 สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ดังแสดงในตารางที่ 4.1
ตารางที่ 4.1 สถานภาพของนักเรียนที่ผู้ตอบแบบสอบถาม

ข้อมูลทั่วไป
1. เพศ

1.1 ชาย 78.40

1.2 หญิง 21.60

รวม 100
จัดทำตารางตามแบบสอบถามที่สร้าง
จากตารางที่ 4.1 พบว่าผู้นักเรียนที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 37 คน
แยกเป็ นเพศชาย จำนวน 29 คน คิดเป็ นร้อยละ 78.40 เป็ นเพศหญิง จำนวน 8
คน คิดเป็ นร้อยละ 21.60

(เขียนอธิบายตามประเด็นที่มีในตาราง)

สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ


จากการศึกษาครั้งนี้เพื่อการประดิษฐ์ซึ่งสามารถสรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะได้ดังนี้
1. วัตถุประสงค์ของการศึกษา

1.1 เพื่อศึกษาข้อมูลของอุปกรณ์ต่างๆที่จะประกอบเป็ นเครื่องเครื่องวัดสภาพอากาศ

1.2 เพื่อประดิษฐ์เครื่องวัดสภาพอากาศที่ช่วยในการทำนายอากาศที่สามารถใชง้านได้จริง

1.3 เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้เครื่องวัดสภาพอากาศ

2. สมมติฐานของการศึกษา

3. ขอบเขตของการศึกษา

ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคร้ังนี้เป็ นนักเเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/10 ณ โรงเรียนพระปฐม


วิทยาลัย จำนวน 37 คน
4. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา

ใช้แบบสอบถามในการใช้เป็ นเครื่องมือ
5. วิเคราะห์ข้อมูล

ได้ศึกษาการทำเครื่องวัดสภาพอากาศได้รู้จักอุปกรณ์ในการประกอบเครื่องการใช้
บอร์ด KidBright และได้ความรู้ข้อมูลที่เกี่ยวกับการทำเครื่องวัดสภาพอากาศ
6. สรุปผลการศึกษา
ประโยชน์สำหรับทำนายสภาพอากาศ: เครื่องวัดสภาพอากาศช่วยในการเก็บข้อมูลที่เป็ น
ประโยชน์สำหรับการทำนายสภาพอากาศในอนาคต ซึ่งมีประโยชน์ในการเตรียมความพร้อม
และการวางแผนกิจกรรมต่าง ๆ เช่นการทำฟาร์ม, การบิน, และกิจกรรมกีฬาที่ได้รับผลกระทบ
จากสภาพอากาศจากการศึกษาเรื่องที่ศึกษา พบว่า (ความพึงพอใจหรือ ทัศนคติ ) อยู่ในระดับ
ปานกลาง
7. ข้อเสนอแนะ

1. สามารถนำไปใช้ในการทำสวนได้ เพื่อให้การทำนาหรือทำสวนมีการประหยัดค่าน้ำมากขึ้น
2. สามารถนำไปเช็คว่าวันนี้ควรจะพกร่มไปไหนมาไหนไหม

3. ควรมีเวลาศึกษามากขึ้น

บรรณานุกรม
กฤษณา พรจันทร์ . 2551. การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนกับ
องค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง โดยวิธีวิเครำะห์อภิมำน. วิทยานิพนธ์หลักสูตรครุศาสตรมหบัณฑิต
สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี,.
กัลยา วานิชย์บัญชา. 2556. การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM) ด้วย AMOS. กรุงเทพฯ
ห้างหุ้นส่วน
จำกัดสามลดา,
กุลธิดา กุลประฑีปัญญา และเรืองอุไร อมรไชย. 2555. การสังเคราะห์งานวิจัยด้วย MASEM.
วารสารวิชาการสาธารณสุข. ปี ที่ 21 ฉบับที่ 5 กันยายน – ตุลาคม :1041 – 1048,.
กุลนรี ถนอมสุข. 2551. การวิเคราะห์อิทธิพลทางตรงและทางอ้อมของภาวะผู้นำการ
เปลี่ยนแปลงของครู
ที่มีต่อคุณภาพนักเรียน. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยการศึกษา ภาค
วิชาวิจัยและ
จิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักงาน. 2554. การประเมินคุณภาพภายในตาม
มาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา
พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด,
2554. แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อ

การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สานักงานพระพุทธ


ศาสนาแห่งชาติ,
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สำนักงาน. 2555. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 11. สานักนายกรัฐมนตรี ,
จริยา ชื่นศิริมงคล. 2553. การสังเคราะห์งานวิจัยที่ศึกษาปัจจัยด้านเด็กและครอบครัวที่มี
อิทธิพลต่อ
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของเด็กด้วยเอ็มเอเอสอีเอ็ม. ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา
วิธีวิทยา
การวิจัยการศึกษา ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย,
จีรศักดิ์ ยาโน. 2553. การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับวิธีจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อการคิด
วิเคราะห์ของ
นักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : การวิเคราะห์อภิมาน. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญา
การศึกษา
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

You might also like