You are on page 1of 16

สมุดบันทึก

กิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอยางตอเนื่อง
(CPD Logbook)
1 2

ขอมูลสวนบุคคล ขอแนะนํา
ชื่อ ____________________________ นามสกุล _________________________ การพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมตอเนื่อง (Continuing Professional Development for Engineers)
รหัสสมาชิก _______________________________ วันหมดอายุ_________________ CPD หรือ การพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมตอเนื่อง (Continuing Professional Development: CPD) คือ กระบวนการใด ๆ หรือกิจกรรม
อยางมีแบบแผน ที่ชวยเพิ่มความสามารถและคุณภาพของบุคคลที่จําเปนตอการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
เลขทะเบียนใบอนุญาต__________________________ วันหมดอายุ_________________ การพัฒนาวิชาชีพตอเนื่องเปนเครื่องมือที่เอื้อประโยชนตอผูประกอบวิชาชีพ ลูกคา นายจาง สมาคมวิชาชีพ และสังคม โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมี
เลขที่บัตรประจําตัวประชาชน_______________________ วันหมดอายุ_________________ การเปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยีอยางรวดเร็ว

เลขที่ใบอนุญาตขับรถ___________________________ วันหมดอายุ_________________ ทําไมตองมี CPD


เลขที่หนังสือเดินทาง___________________________ วันหมดอายุ_________________ วิศวกรทีส่ ําเร็จการศึกษาออกมาทํางานจําเปนตองไดรับการพัฒนาวิชาชีพเพื่อใหมีความรูค วามสามารถ และการพัฒนาดังกลาวตองเปนไปโดย
ตอเนื่อง ปจจุบันไดมีโครงการพัฒนาวิชาชีพตอเนื่องของวิศวกรในประเทศกลุมสมาชิกวิศวกรเอเปคและอาเซียน และถือเปนขอตกลงรวมกันดวย
รหัสสมาชิก _______________________________ วันหมดอายุ_________________ การพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรรมตอเนื่องเปนวิธีหนึ่งที่จะชวยใหวิศวกรรักษาคุณภาพในการประกอบวิชาชีพและสภาวิศวกรไดออกระเบียบสภา
วิศวกรวาดวย การพัฒนาวิชาชีพตอเนื่อง พ. ศ. 2551 และออกประกาศสภาวิศวกรทีเ่ กี่ยวของ ประกอบดวย
1) ประกาศสภาวิศวกร เรื่อง กําหนดหลักเกณฑและวิธีการนําหนวยความรูมาใชประกอบการเลื่อนระดับเปนสามัญวิศวกร
ที่อยูปจจุบัน _______________________________________________________
2) ประกาศสภาวิศวกร เรื่อง กําหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ และวิธีการยื่นขอจัดหลักสูตรหรือกิจกรรมมาตรฐานของนิติบุคคล
_______________________________________________________ 3) ประกาศสภาวิศวกร เรื่อง หลักเกณฑ และวิธีการกําหนดหนวยความรูของหลักสูตรหรือกิจกรรมกําหนดเอง
_______________________________________________________
วัตถุประสงค
โทรศัพท _______________________________ โทรสาร___________________ 1. เพื่อใหวิศวกรมีการปรับปรุงทั้งคุณภาพ และประสิทธิภาพในการทํางานใหอยูในระดับสูง
2. เพื่อรักษามาตรฐานในการประกอบวิชาชีพ
โทรศัพทมือถือ _____________________________ E-mail : __________________
3. เพื่อใหเปนที่ยอมรับในสากลและการแขงขันของตลาดแรงงานในอนาคต
ที่อยูที่ทํางาน _______________________________________________________
ประโยชนของ CPD
______________________________________________________
กลไกเพื่อยกระดับหรือเพิ่มคุณภาพวิศวกรมีดวยกันหลายอยาง แตกลไกที่เปนที่ยอมรับและทํากันในหลายประเทศ คือ การพัฒนาวิชาชีพ
______________________________________________________ ตอเนื่อง หรือ CPD ซึ่งไดแก การทํากิจกรรมตาง ๆ โดยคิดจํานวนชั่งโมงของการปฏิบัติกิจกรรมตองมีความตอเนื่องกันตลอดเวลาทีป่ ระกอบวิชาชีพ
โทรศัพท _______________________________ โทรสาร___________________ วิศวกรรม เมื่อวิศวกรทํากิจกรรม CPD ทําใหองคกรไดประโยชนจากการพัฒนาดังกลาว สังคมและประเทศชาติไดประโยชนจากวิศวกรและองคกรที่มี
คุณภาพและเกิดความปลอดภัย
โทรศัพทมือถือ _____________________________ E-mail : __________________
อื่น ๆ __________________________________________________________ กิจกรรมอะไรบางที่นบั ชั่วโมง CPD ได
• การศึกษาแบบทางการ ไดแก การเรียน การสอน การอบรม สัมมนา การเรียนแบบทางไกล เปนตน
__________________________________________________________ • การศึกษาแบบไมทางการ หมายถึงการเรียนรูแบบอื่น นอกเหนือจากการศึกษาแบบทางการ
__________________________________________________________ • การเขามีสว นรวมในองคกรหรือสมาคมวิชาชีพ เชน การเปนคณะกรรมการ/อนุกรรมการ หรือสมาชิกในองคกรที่เกี่ยวของกับวิศวกรรม
__________________________________________________________ • การเผยแพรความรู เชน การสอน การทําวิจัย การนําเสนอผลงาน การเขียนบทความ
ลักษณะของกิจกรรม CPD
กิจกรรมที่นับเปน CPD ตองมีลักษณะเกี่ยวของกับอาชีพวิศวกรรมซึ่งอาจเปนกิจกรรมทางดานเทคนิค หรือกิจกรรมอื่น ๆ

ดานเทคนิค วิศวกรรมในสาขาตนเอง หรือสาขาอืน่


ดานอื่น ๆ กฎหมาย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน คอมพิวเตอรกราฟฟค บุคลิกภาพ
การพัฒนางานที่ปฏิบัติอยูอยางมีนัยสําคัญ (ตองไมใชงานประจําที่ทําทุกวัน) และตองสามารถตรวจสอบและยอมรับไดโดยสภาวิศวกร
3 4

การนําหนวยความรูเพื่อเลื่อนระดับเปนสามัญวิศวกร เกณฑการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรอยางตอเนื่อง
เพื่อใหสมาชิกสภาวิศวกรทีไ่ ดสะสมหนวยความรู (Professional Development Unit: PDU) นําหนวยความรูท ี่สะสมภายในระยะเวลา 3 ป
มาประกอบการเลือ่ นระดับเปนตัวคูณคะแนนในกลุมวิชาบังคับหรือในกลุมวิชาเลือก กลุมใดกลุมหนึ่ง ในการสอบขอเขียน ดังตอไปนี้ เกณฑการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอยางตอเนื่อง
สภาวิศวกรไดกําหนดเกณฑการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอยางตอเนื่องของวิศวกร ไวดังนี้
หนวยความรู อัตราคาตัวคูณ • กําหนดใหวิศวกรปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอยางตอเนื่อง ใหได 150 จํานวนหนวยพัฒนา ( Professional
200 ขึ้นไป 1.20 Development Unit – PDU) ตลอดระยะเวลา 3 ปใด ๆ โดยเปนกิจกรรมเทคนิควิศวกรรมอยางต่ํารอยละ 60 และดานอื่น ๆ อีกไม
175 –199 1.15 เกินรอยละ 40
151 –174 1.10 • ในแตละป วิศวกรตองปฏิบตั ิกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอยางตอเนื่อง และสามารถนําจํานวน PDU มาขึ้นทะเบียนไดไมเกิน
นอยกวา 150 1.00 เกณฑสูงสุดที่กําหนดไวในตารางการแบงประเภทกิจกรรมการพัมนาวิชาชีพวิศวกรรมอยางตอเนื่อง
• สภาวิศวกรไดกําหนดประเภทกิจกรรม เกณฑการนับจํานวนชัว่ โมงปฏิบัติ และการใหน้ําหนักกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอยาง
ตรวจสอบรายชื่อองคกรแมขายที่ไดรับการรับรองไดที่ http:/www.coe.or.th/CPD/ ตอเนื่อง ไวในตารางการแบงประเภทกิจกรรม (ดูรายละเอียดหนา

แนวคิดของการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอยางตอเนือ่ ง (หมายเหตุ จํานวนหนวยพัฒนา (PDU) หมายถึง ผลคูณของจํานวนชั่งโมงปฏิบัติกิจกรรมนั้น ๆ กับน้ําหนักของกิจกรรมที่ระบุในตารางการแบงประเภท


กิจกรรม CPD (หนาที่ 13 และ 14 )

ทิศทางการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอยางตอเนื่อง
ทิศทางของกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอยางตอเนื่อง (CPD) จําเปนตองพิจารณาสองทิศทาง คือ ทิศทางการทํากิจกรรม CPD ของ
ประเทศ และทิศทางการทํากิจกรรมของวิศวกรแตละคน
ทิศทางการทํากิจกรรม CPD ของประเทศโดยรวม คือทิศทางของการทํากิจกรรมเพื่อปรับปรุงหรือเพิ่มคุณภาพในสิ่งทีว่ ิศวกรโดยรวมทั้ง
ประเทศที่มีจุดออน และทิศทางดังกลาวอาจตองมีการกําหนดเปนระยะเวลา และเปลี่ยนแปลงได เชน ถา วิศวกรในประเทศโดยเฉลี่ยมีปญหาเรื่องภาษา
ก็ตองกําหนดใหภาษาเปนหนึ่งในทิศทางที่ตองสนับสนุนใหมีหรือใหทํากิจกรรม CPD เปนตน
สภาวิศวกรไดประเมินทิศทางของกิจกรรมที่ควรสนับสนุนโดยกําหนดใหมีระยะเวลา 3 ป โดยในชวงแรกเริ่มป พ. ศ. 2549 -2551 ทั้งหมด 5
รายการ ดังนี้
1. ความรูพื้นฐานดานวิศวกรรม
2. ภาษา
3. คอมพิวเตอร
คุณภาพของนักศึกษาที่จบมาหรือทีเ่ รียกวาวิศวกรใหม ถาระดับความรูระหวาวิศวกรที่มีความรูมากกับวิศวกรที่มี่ความรูนอย มีความแตกตาง
4. ความปลอดภัย
กันมาก ยิ่งทําใหวศิ วกรทีท่ ํางานไปนานมีระดับความรูแตกตางกันมากขึ้น
5. มาตรฐานวิศวกรรม
ถาคุณภาพของนักศึกษาไดมีการควบคุมคุณภาพเปนอยางดี จะไดวิศวกรใหมที่มีคุณภาพดี มีการกระจายความรู ดังกราฟที่มีคาเฉลี่ย A คือ
สําหรับทิศทางการทํากิจกรรม CPD ของวิศวกรแตละคนนั้น ขึ้นอยูกับผลของการสํารวจตนเอง (Review) ซึ่งเปนขั้นตอนหนึ่งใน
ระดับความรูของวิศวกรที่มีความรูมากและวิศวกรที่มคี วามรูนอย ไมแตกตางกันมาก
กระบวนการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอยางตอเนื่อง
กราฟที่มีคาเฉลี่ย B แสดงถึงสภาพทีว่ ิศวกรทํางานไปนาน ๆ และไมไดรับการพัฒนาการกระจายของระดับความรูกวางมากขึน้ นั่นคือ วิศวกร
ที่มีความรูมากกับวิศวกรที่มีความรูนอยมีความแตกตางกันมาก ดังนั้น ถามีกลไกชวยเพิ่มคุณภาพวิศวกร ไดแกโครงการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอยาง
ตอเนื่อง จะทําใหวศิ วกรที่มีความรูมากกับที่มีความรูนอ ย ไมแตกตางกันมาก ดังกราฟที่มีคาเฉลี่ย C
แผนงานประจําป 2553

เดือน / วัน อา จ อัง พ พฤ. ศ ส อา จ อัง. พ. พฤ ศ ส อา จ อัง. พ พฤ ศ ส อา จ อัง. พ พฤ ศ ส อา จ อัง. พ พฤ ศ ส อา จ


มกราคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

กุมภาพันธ 1 2 3 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28

มีนาคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

เมษายน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

พฤษภาคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

มิถุนายน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

กรกฎาคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

สิงหาคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

กันยายน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

ตุลาคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

พฤศจิกายน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

ธันวาคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31
แผนงานประจําป 2554

เดือน / วัน อา จ อัง พ พฤ. ศ ส อา จ อัง. พ. พฤ ศ ส อา จ อัง. พ พฤ ศ ส อา จ อัง. พ พฤ ศ ส อา จ อัง. พ พฤ ศ ส อา จ


มกราคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

กุมภาพันธ 1 2 3 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28

มีนาคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

เมษายน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

พฤษภาคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

มิถุนายน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

กรกฎาคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

สิงหาคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

กันยายน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

ตุลาคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

พฤศจิกายน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

ธันวาคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31
แผนงานประจําป 2555

เดือน / วัน อา จ อัง พ พฤ. ศ ส อา จ อัง. พ. พฤ ศ ส อา จ อัง. พ พฤ ศ ส อา จ อัง. พ พฤ ศ ส อา จ อัง. พ พฤ ศ ส อา จ


มกราคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

กุมภาพันธ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

มีนาคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

เมษายน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

พฤษภาคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

มิถุนายน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

กรกฎาคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

สิงหาคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

กันยายน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

ตุลาคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

พฤศจิกายน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30

ธันวาคม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31
การแบงประเภทกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอยางตอเนือ่ ง กิจกรรม หลักเกณฑการนับจํานวน การให
ประเภทกิจกรรม กิจกรรม
กิจกรรม หลักเกณฑการนับจํานวน การให ที่ ชั่วโมง น้ําหนัก
ประเภทกิจกรรม กิจกรรม
ที่ ชั่วโมง น้ําหนัก 5 กิจกรรมบริการวิชาชีพ 501 การพิจารณาการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย นับตามจํานวนชั่วโมงที่รวม 2.0
1 การศึกษาแบบเปนทางการ 101 หลักสูตรที่เรียนในวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยี หรือ นับตามจํานวนชั่วโมงที่เรียน 2.0 สูงสุด 40 PDU (กรรมการตางๆ โดยเนนทางวิชาการในมหาวิทยาลัย) พิจารณา
สูงสุด 40 PDU มหาวิทยาลัย (ที่สูงกวาระดับปริญญาตรี) 502 การเปนสมาชิกหรือกรรมการของหลักสูตรการพัฒนา นับ 10 ชั่วโมงตอ หนึ่งหลักสูตร 2.0
ตองเขาศึกษา/อบรม ไมต่ํากวารอยละ 80 ของระยะเวลา 102 หลักสูตรการอบรมที่จัดโดยองคกรที่สภาวิศวกรใหการ กรณีสอบผาน 2.0 วิชาชีพที่ตงั้ ขึ้น
ทั้งหมด รับรองที่มีการสอบ นับตามจํานวนชั่วโมงที่เรียน 503 การมีสวนรวมในการกําหนดและตรวจสอบหลักสูตร นับตามจํานวนชั่วโมงที่กําหนด 2.0
(ผูที่เปนอาจารยและวิทยากร กรณีสอบไมผาน 1.5 การพัฒนาวิชาชีพตอเนื่อง และตรวจสอบหลักสูตร
ไมจําเปนตองไดชั่วโมงต่ําสุดจากกิจกรรมนี้) นับตามจํานวนชั่วโมงที่เรียน 504 การพิจารณากฎเกณฑทางเทคนิคในงานตางๆ เชน การ นับตามจํานวนชั่วโมงที่พิจารณา 2.0
103 หลักสูตรการอบรมที่จัดโดยองคกรที่สภาวิศวกรใหการ นับตามจํานวนชั่วโมงที่เรียน 1.5 พิจารณาและแกไขกฎกระทรวง มาตรฐาน
รับรองที่ไมมีการสอบ ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม เปนตน
104 หลักสูตรการอบรมในองคกรของตนเองที่สภาวิศวกร นับตามจํานวนชั่วโมงที่เรียน 1.0 505 เปนกรรมการสอบโครงงานวิจัย นักศึกษา ปริญญาตรี นับตามโครงงาน (ปริญญาตรี 1.0
ใหการรับรอง ปริญญาโท และ ปริญญาเอก ในกรณีตางมหาวิทยาลัย ให 5 ชั่วโมงตอโครงงาน
105 หลักสูตรอบรมที่จัดโดยหนวยงานอื่นที่ไดรับการรับรอง นับจํานวนชั่วโมงที่เรียน 1.0 เทานั้น ปริญญาโท/เอก ให 10 ชั่วโมง
จากหนวยงานของรัฐ(ที่ไมใชทางดานวิศวกรรม) ตอ โครงงาน)
6 การมีสวนรวมในวงการอุตสาหกรรม 601 การใหคําปรึกษาใหกับวงการอุตสาหกรรม 10 ชั่วโมงตอ 1 งาน 1.0
2 การศึกษาแบบไมเปนทางการ 201 การเรียนรูดวยตนเอง (ในงานใหมที่ใชเทคโนโลยีขนั้ นับ 2 ชั่วโมงตอหนาของ 1.0 สูงสุด 40 PDU 602 การทําวิจัยใหกับวงการอุตสาหกรรม 10 ชั่วโมงตอ 1 งาน 2.0
สูงสุด 20 PDU สูง) โดยมีการจดบันทึกสรุปดวยการทําเปนรายงาน รายงานหรือคูมือการทํางาน
7 การสรางสรรคความรู 701 การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงาน 5 ชั่วโมงตอหนาของผูทําและ 2 1.0
หรือคูมือการทํางานแสดงเปนผลงาน
สูงสุด 40 PDU (code of practice) ชั่วโมงตอหนาของผูต รวจ
202 การศึกษาดูงาน นับตามจํานวนชั่วโมงที่ศึกษาดู 0.5
702 การทําวิจัย การนําเสนอ และการเขียนบทความของ 5 ชั่วโมงตอหนาของบทความ 1.0
งาน โดยไมนับเวลาเดินทาง
งานวิจัยลงในวารสารแบบที่ตอ งมีการตรวจทาน การ 40 ชั่วโมงตอเลมของหนังสือ
3 การเขารวมสัมมนาและการประชุมทางวิชาการหรือวิชาชีพ 301 การเขาฟงการสัมมนาและการประชุมทางวิชาการหรือ นับตามจํานวนชั่วโมงที่เขา 1.0
เขียนหนังสือหรือเอกสารทางวิชาการ ภายในประเทศ
สูงสุด 30 PDU วิชาชีพ ภายในประเทศ สัมมนาหรือประชุม
703 การทําวิจัย การนําเสนอ และการเขียนบทความของ 5 ชั่วโมงตอหนาของบทความ 1.5
302 การเขาประชุมในคณะกรรมการหรืออนุกรรมการที่ นับตามจํานวนชั่วโมงที่เขา 1.0
งานวิจัยลงในวารสารแบบที่ตอ งมีการตรวจทาน การ 40 ชั่วโมงตอเลมของหนังสือ
เกี่ยวกับวิชาการหรือวิชาชีพ ภายในประเทศ ประชุม
เขียนหนังสือหรือเอกสารทางวิชาการ ตางประเทศ
303 การเขาฟงการสัมมนาและการประชุมทางวิชาการหรือ นับตามจํานวนชั่วโมงที่เขา 1.5
704 การทําวิจัย การนําเสนอ และการเขียนบทความของ 5 ชั่วโมงตอหนา 0.5
วิชาชีพ ระหวางประเทศ สัมมนาหรือประชุม
งานวิจัยลงในวารสารแบบที่ไมตองมีการตรวจทาน
304 การเขาประชุมในคณะกรรมการหรืออนุกรรมการที่ นับตามจํานวนชั่วโมงที่เขา 1.5 705 การตรวจและปรับแกบทความของผูอ ื่น ในประเทศ 5 ชั่วโมงตอหนา 1.0
เกี่ยวกับวิชาการหรือวิชาชีพ ระหวางประเทศ ประชุม
706 การตรวจและปรับแกบทความของผูอ ื่น ตางประเทศ 5 ชั่วโมงตอหนา 1.5
4 การเขามีสวนรวมในกิจกรรมวิชาชีพ 401 การเปนสมาชิกในสมาคมทางวิชาการหรือวิชาชีพที่สภา นับ 10 ชั่วโมงตอ 1 สมาคม 1.0
707 การเปนวิทยากรในการ อบรมที่มีการสอบ นับตามจํานวนชั่วโมงที่ใหการ 2.0
สูงสุด 30 PDU วิศวกรใหการรับรอง
อบรม
402 การเปนกรรมการในสมาคมทางวิชาการหรือวิชาชีพที่ นับ 10 ชั่วโมงตอ 1สมาคม 2.0
708 การเปนวิทยากรในการอบรมที่ไมมีการสอบ นับตามจํานวนชั่วโมงที่ใหการ 1.5
สภาวิศวกรใหการรับรอง (ตองเขารวมประชุมอยาง
อบรม
นอยรอยละ 50 ของเวลาทั้งหมด)
709 การเปนวิทยากรในการสัมมนาและการประชุมทาง นับตามจํานวนชั่วโมงที่ใหการ 1.0
403 การเปนอนุกรรมการหรือคณะทํางานในสมาคมทาง นับ 10 ชั่วโมงตอ 1สมาคม 1.5
วิชาการ สัมมนา
วิชาการหรือวิชาชีพที่สภาวิศวกรใหการรับรอง(ตองเขา
8 การจดสิทธิบัตรที่เกีย่ วของกับงานวิศวกรรม 801 การจดสิทธิบัตรที่เกีย่ วของกับงานวิศวกรรม 40 ชั่วโมงตอสิทธิบตั ร 1.0
รวมประชุมอยางนอยรอยละ 50 ของเวลาทั้งหมด)
สูงสุด 50 PDU
หมายเหตุ สูงสุด หมายถึง จํานวนหนวยพัฒนา (PDU) สูงสุดที่วิศวกรสามารถนํามาขึ้นทะเบียนไดในแตละป
คําแนะนําในการบันทึกรหัสกิจกรรม 11 หมายถึง สาขาวิศวกรรมพลังงาน
12 หมายถึง มาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
เนื่องจากการพัฒนาวิชาชีพตอเนื่องเปนการกระบวนการที่ตองปฏิบัติติดตอกันตลอดเวลา ดังนั้นเพื่อใหสามารถตรวจสอบตนเองวาไดปฏิบัติตามเปาหมาย สวนที่ 3 เปนรหัสองคกรแมขาย
หรือไม วิศวกรที่วางแผนและดําเนินการพัฒนาวิชาชีพตอเนื่องตองบันทึกกิจกรรมตางๆ ไว ซึ่งอาจใชสมุดบันทึกของสภาวิศวกร (CPD Logbook) หรือรูปแบบอื่นๆ ที่
เหมาะสม พรอมทั้งเก็บรวบรวมเอกสารหลักฐานยืนยันการเขารวมกิจกรรมตางๆ ไวเพื่อการตรวจสอบตอไป ประกอบดวยตัวเลข 4 หลัก ซึ่งหมายถึงรหัสประจําองคกรแมขายที่ไดขึ้นทะเบียนตอสภาวิศวกร
ขอมูลการปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพตอเนื่อง จะถูกจัดเก็บเปนฐานขอมูลดวยระบบคอมพิวเตอร ซึ่งอาจบันทึกโดยสถาบันที่จัดกิจกรรม และวิศวกรที่เขา รหัสตัวที่ 1 แสดงกลุม องคกรแมขาย ดังนี้
รวมกิจกรรมเอง ขึ้นอยูกับประเภทของกิจกรรม
1 หมายถึง สภาวิศวกร

การกําหนดรหัสกิจกรรม 2 หมายถึง สมาคม


3 หมายถึง คณะวิศวกรรมศาสตรในมหาวิทยาลัยของรัฐบาล
สวนที่ 1 23 4 / 5 6
4 หมายถึง คณะวิศวกรรมศาสตรในมหาวิทยาลัยของเอกชน
รหัส กิจกรรม สาขาวิชา องคกรแมขาย ลูกขาย / ป เดือน ลําดับกิจกรรม
5 หมายถึง หนวยงานราชการ
††† - †† - †††† - †† / ††††- †††
6 หมายถึง หนวยงานรัฐวิสาหกิจ
สวนที่ 1 เปนรหัสกิจกรรม
7 หมายถึง บริษัทเอกชน
ประกอบดวยตัวเลข 3 หลัก ตามตารางกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพตอเนื่อง เชน
รหัสหลักที่ 2 ถึง 4 เปนรหัสประจําองคกรแมขายที่ไดขนึ้ ทะเบียนตอสภาวิศวกร ตัวอยาง
101 หมายถึง หลักสูตรที่เรียนในวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยี หรือมหาวิทยาลัย (ที่สูงกวาระดับปริญญาตรี)
1000 หมายถึง สภาวิศวกร
102 หมายถึง หลักสูตรการอบรมที่จัดโดยองคกรที่สภาวิศวกรใหการรับรองที่มีการสอบ
201 หมายถึง การเรียนรูดวยตนเอง (ในงานใหมที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูง) โดยมีการจดบันทึกสรุปดวยการทําเปนรายงานหรือคูมือการ 2001 หมายถึง สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ
ทํางานแสดงเปนผลงาน 3001 หมายถึง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
301 หมายถึง การเขาฟงการสัมมนาและการประชุมทางวิชาการหรือวิชาชีพ ภายในประเทศ สวนที่ 4 เปนรหัสองคกรลูกขาย
สวนที่ 2 เปนรหัสสาขาวิชา ประกอบดวยตัวเลข 2 ตัว ซึ่งหมายถึงรหัสประจําองคกรลูกขาย ที่ไดขึ้นทะเบียนตอองคกรแมขาย
ประกอบดวยตัวเลข 2 หลัก ซึ่งเปนรหัสสาขาวิชา ดังนี้ หากเปนกิจกรรมที่จัดโดยองคกรแมขาย ใหลงตัวเลขเปน 00
00 หมายถึง สาขาอื่นๆ ที่ไมใชงานวิศวกรรม สวนที่ 5 เปนรหัสเวลาที่เกิดกิจกรรม
01 หมายถึง สาขาวิศวกรรมโยธา ประกอบดวยตัวเลข 4 หลัก ซึ่งหมายถึง ปและเดือนที่ดําเนินกิจกรรมนั้น
02 หมายถึง สาขาวิศวกรรมเครื่องกล รหัส 2 หลักแรก หมายถึง ป พ.ศ. เชน
03 หมายถึง สาขาวิศวกรรมไฟฟา 52 หมายถึง ป พ.ศ. 2552
04 หมายถึง สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ 53 หมายถึง ป พ.ศ. 2553
05 หมายถึง สาขาวิศวกรรมเหมืองแร 54 หมายถึง ป พ.ศ. 2554
06 หมายถึง สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม รหัส 2 ตัวหลัง หมายถึง เดือน เชน
07 หมายถึง สาขาวิศวกรรมเคมี 01 หมายถึง เดือนมกราคม
08 หมายถึง สาขาวิศวกรรมปองกันอัคคีภัย 02 หมายถึง เดือนกุมภาพันธ
09 หมายถึง สาขาวิศวกรรมความปลอดภัย สวนที่ 6 เปนรหัสลําดับกิจกรรม
10 หมายถึง สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร ประกอบดวยตัวเลข 3 หลัก ซึ่งหมายถึง ลําดับกิจกรรมเพื่อรองรับการเปดกิจกรรมไดมากกวาหนึ่งกิจกรรมในแตละเดือน
ตารางบันทึกกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอยางตอเนื่อง (CPD) ชื่อ- นามสกุล นายชายชาญ โพธิสาร เลขทะเบียนใบอนุญาต ภฟก. 10308
ว/ด/ป จํานวน ผูรับรอง
ที่ ทํา รหัสกิจกรรม ชื่อกิจกรรม สถานที่จัด / จังหวัด ชื่อผูจัด ชั่วโมง น้ํา หนวย
พัฒนา ลายมือชื่อ สังกัด เลข โทรศัพท
กิจกรรม ปฏิบัติ หนัก
(PDU) (ชื่อ-นามสกุล) ทะเบียน
ใบอนุญาต
01/12/47 708-0331000-00/4711-001 หลักสูตรพื้นฐานไฟฟากําลัง โรงแรมเรดิสัน /กรุงเทพ
“มาตรฐานบริภัณฑ”(วิทยากร) สภาวิศวกร/ 3 1.5 4.5 อุปนายก
MECT (นายวิวัฒน กุลวงศวิทย) MECT วฟก.514

28/05/48 103-03-2003-00/4809-001 อบรมการออกแบบระบบไฟฟา- โรงแรมเจบี หาดใหญ / สงขลา


สื่อสาร MECT 18 1.5 27 (รศ.ศุลี บรรจงจิตร) วิทยากร วฟก.423

01/08/48 202-02-3006-00/4809-001 ดูงานระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สจล. คณะ


/กรุงเทพ วิศวกรรมศาสตร 6 0.5 3
(รศ.ดร.มงคล มงคลวงศโรจน) สจล. วก.663
สจล.
01/10/48 105-00-3006-00/4810-002 อบรมคอมพิวเตอรสายใยงาน อาคารฟอรจูนทาวเวอร/กรุงเทพ
วิศวกรรม บจก. อีอีซี เอ็นจิ 12 1.0 12 (นายเกชา ธีระโกเมน) EEC
วก.500
เนียริ่ง เน็ทเวิรค
02/01/49 401-03-2003-00/4901-001 สมาชิกสมาคมวิศวกรออกแบบและ MECT
ปรึกษาเครื่องกลและไฟฟาไทย - 10 1.0 10 (นางสาววรรณะ วรรณเสน) MECT 02-3184121
ผูจัดการสมาคม
10/11/49 201-03-0000-00/4911-001 อานหนังสือเรื่อง การตอลงดินของ - -
ระบบโทรคมนาคม และทํารายงาน
10 1 10 (นายวิวัฒน กุลวงศวิทย) MECT วฟก. 514
สรุป 5 หนา

หมายเหตุ จํานวนหนวยพัฒนา (PDU) หมายถึง ผลคูณของจํานวนชั่วโมงปฏิบัติกับน้ําหนัก


รหัสกิจกรรม ออกโดยผูจดั กิจกรรมซึ่งไดรับการรับรองจากสภาวิศวกร
ตารางบันทึกกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอยางตอเนื่อง (CPD) ชื่อ- นามสกุล .............................................................เลขทะเบียนใบอนุญาต ....................
ว/ด/ป จํานวน ผูรับรอง
ที่ ทํา รหัสกิจกรรม ชื่อกิจกรรม สถานที่จัด / จังหวัด ชื่อผูจัด ชั่วโมง น้ํา หนวย
พัฒนา ลายมือชื่อ สังกัด เลข โทรศัพท
กิจกรรม ปฏิบัติ หนัก
(PDU) (ชื่อ-นามสกุล) ทะเบียน
ใบอนุญาต

หมายเหตุ จํานวนหนวยพัฒนา (PDU) หมายถึง ผลคูณของจํานวนชั่วโมงปฏิบัติกับน้าํ หนัก


รหัสกิจกรรม ออกโดยผูจัดกิจกรรมซึ่งไดรับการรับรองจากสภาวิศวกร
ภาคผนวก
รายชื่อองคกรแมขายการพัฒนาวิชาชีพอยางตอเนื่อง* 29 3008 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
ที่ รหัสองคกรแมขาย ชื่อ 30 3009 คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
1 1000 สภาวิศวกร 31 3010 สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
สมาคมวิชาชีพ 32 3011 คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
2 2001 สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ 33 3012 คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
3 2002 สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแหงประเทศไทย 34 3013 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
4 2003 สมาคมวิศวกรออกแบบและปรึกษาเครื่องกลและไฟฟาไทย 35 3014 คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
5 2004 สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย 36 3015 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี
6 2005 สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) 37 3016 สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
7 2006 สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทย 38 3017 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ
8 2007 สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย คณะวิศวกรรมศาสตรในมหาวิทยาลัยของเอกชน
9 2008 สมาคมสงเสริมคุณภาพแหงประเทศไทย 39 4001 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม
10 2009 สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแหงประเทศไทย 40 4002 มหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล
11 2010 สมาคมศิษยเกาคณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 41 4003 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
12 2011 สมาคมวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกตแหงประเทศไทย ** 42 4004 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
13 2012 สมาคมผูตรวจสอบและบริหารความปลอดภัยอาคาร ** 43 4005 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม **
14 2013 สมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสแหงประเทศไทย 44 4006 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยราชธานี
15 2014 สมาคมมาตรฐานและคุณภาพแหงประเทศไทย ** 45 4007 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย
16 2015 สมาคมวิศวกรรมยานยนตไทย 46 4009 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย
17 2016 สมาคมโทรคมนาคมแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ** 47 4010 สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุน
18 2017 สมาคมคอนกรีตไทย ประเภทสถาบัน ศูนย องคกร
19 2018 สมาคมชางเหมาไฟฟา และเครื่องกลไทย หนวยงานราชการ
20 2019 สมาคมเครื่องทําความเย็นไทย 48 5001 ศูนยเชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะดานเทคโนโลยีไฟฟากําลัง
21 2020 สมาคมเหมืองแรไทย คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
คณะวิศวกรรมศาสตรในมหาวิทยาลัยของรัฐบาล 49 5002 ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (MTEC)
22 3001 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 50 5003 มูลนิธิเพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี
23 3002 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 51 5004 สถาบันไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส **
24 3003 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 52 5005 สถาบันวิศวกรรมปองกันอัคคีภัย
25 3004 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 53 5006 สถาบันเหล็กและเหล็กกลาแหงประเทศไทย **
26 3005 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 54 5007 สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ
27 3006 คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 55 5008 คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
28 3007 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 56 5009 ศูนยบริการปรึกษาการออกแบบและวิศวกรรม (DECC)
หนวยงานรัฐวิสาหกิจ
57 6001 การไฟฟานครหลวง
58 6002 การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
บริษัทเอกชน
59 7002 NPC SAFETY AND ENVIRONMENTAL SERVICE CO.,LTD. **
60 7003 บ.อินโนเวทีฟ โนวฮาว จํากัด **
61 7004 สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
62 7005 บริษัท อีอีซี เอ็นจิเนียริ่ง เน็ทเวิรค จํากัด
63  7006 บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด (มหาชน)
64  7007 บริษัท โปรดักติวิตี้ แอสโซซิเอทส จํากัด 
65  7008 บริษัท เอเชีย เทรนนิ่ง โพรวายเดอร จํากัด 
66 7009 บริษัท โปรเซส อีควิปเมนท  เทคโนโลยี่ จํากัด
องคกรแมขาย ณ วันที่ 1 มกราคม 2554
หมายเหตุ * ใหตรวจสอบรายชื่อองคกรแมขายเพิ่มเติมจากเว็บไซตสภาวิศวกร 
** ตรวจสอบสถานะขององคกรแมขายจากเว็บไซดสภาวิศวกร

You might also like