You are on page 1of 44

ศัพทประกันสังคม

กองแผนงานและสารสนเทศ สํานักงานประกันสังคม
คํานํา

สํานักงานประกันสังคมมีภารกิจหลักคือการบริหารกองทุนประกันสังคมและกองทุน
เงินทดแทน ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 และพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537
โดยมีหนาที่ความรับผิดชอบในการใหความคุมครองและหลักประกันแกลูกจาง/ผูประกันตน ที่
ประสบอันตราย เจ็บปวย ทุพพลภาพ หรือตาย อันมิใชเนื่องจากการทํางาน รวมทั้งการคลอดบุตร
สงเคราะห บุ ต ร ชราภาพ และว า งงานตามกฎหมายประกั น สั ง คมและให ค วามคุ ม ครอง และ
หลักประกันแกลูกจางที่ประสบอันตราย เจ็บปวย ทุพพลภาพ หรือตาย เนื่องจากกฎหมายเงินทดแทน

การดําเนินงานของสํานักงานประกันสังคมมีความจําเปนตองอาศัยความรวมมือทาง
วิชาการจากองคกรตางประเทศ เชน องคการแรงงานระหวางประเทศ ธนาคารโลก กองทุนการเงิน
ระหวางประเทศ และตองคนควาหาขอมูลเพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพการขยายความคุมครองการ
ประกันสังคมในกรณีตางๆ เชน กรณีบํานาญ กรณีวางงาน เปนตน ผมจึงเล็งเห็นความจําเปนในการ
รวบรวมศัพทประกันสังคมเพื่อใชเปนคูมือของเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน นายจาง ลูกจาง/ผูประกันตน
พรอมทั้งเผยแพรใหกับนักวิชาการ และประชาชนทั่วไป จึงไดมอบหมายใหฝายวิเทศ
สัมพันธ กองแผนงานและสารสนเทศดําเนินการรวบรวม ซึ่งเปนที่มาของหนังสือศัพทประกันสังคม
เลมนี้

ผมหวั ง เป น อยา งยิ่ ง ว า หนั ง สือ เล ม นี้ จ ะเปน ประโยชน ต อนั ก วิ ช าการ เจ า หน า ที่ ข อง
สํานักงานประกันสังคม นายจาง ลูกจาง/ผูประกันตน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป

______________________________
คณะผูจัดทํา

1. นางฉันทนา บุญอาจ หัวหนาฝายวิเทศสัมพันธ ผูรวบรวม

2. นางสาวศศนันทน บุญยะวนิช เจาหนาที่ฝายวิเทศสัมพันธ ผูชวย

---------------------------------
สารบัญ
หนา
คํานํา
ศัพทประกันสังคม 1
ศัพทหมวดบํานาญ 11
ศัพทหมวดประกันสุขภาพ 17
แบบฟอรมประเภทตางๆของกองทุนประกันสังคม 20
ชื่อบัญชี สํานักงานประกันสังคม (ไทย-อังกฤษ) 22
หมวดศัพทกองทุนเงินทดแทน 23
ลักษณะของการประสบอันตราย 27
โรคเนื่องจากการทํางาน 29
แบบฟอรมประเภทตางๆของกองทุนเงินทดแทน 32
สายงานตางๆในสํานักงานประกันสังคม 33
หนวยงานในสํานักงานประกันสังคม และเขตพืน้ ที่ 1-10 36
ศัพทประกันสังคม

accident case กรณีอุบัติเหตุ


accumulated reserves เงินสํารองสะสม
actuarial คณิตศาสตรประกันภัย
actuarial projection การคาดการณทางคณิตศาสตรประกันภัย
actuarial valuation การประเมินทางคณิตศาสตรประกันภัย
actuary นักคณิตศาสตรประกันภัย
additional payment เงินเพิ่ม, คาปรับ
adjudicator เจาหนาที่วินิจฉัย
affordability ความสามารถในการรับผิดชอบคาใชจาย
agricultural worker ลูกจางในภาคการเกษตร
alien คนตางดาว
appeals อุทธรณ
Appeals Committee คณะกรรมการอุทธรณ
area-based scheme โครงการที่ใชเขตและพื้นที่เปนตัวกําหนด
atypical workers ลูกจางที่แตกตางจากแบบแผนทั่วไป
average wage คาจางเฉลี่ย
benefit ประโยชนทดแทน
benefits financed by general revenue ประโยชนทดแทนจายจากภาษีเงินได
branch office สํานักงานสาขา
budget allocation การจัดสรรงบประมาณ
burial societies สมาคมฌาปนกิจ
capitation payment การจายเงินเหมาจาย
capitation payment system ระบบเหมาจาย
cash benefit เงินทดแทนการขาดรายได
ceiling เพดานรายได
certificate of registration หนังสือสําคัญนายจางหรือหลักฐานการขึ้นทะเบียน
หนังสือรับรองการขึ้นทะเบียน
cessation of being an insured person การสิ้นสุดความเปนผูประกันตน
chronic disease โรคเรื้อรัง
city council สภาทองถิ่น
Civil Servants Health Fund (CSFH) กองทุนรักษาพยาบาลขาราชการ
Civil Servants Medical Benefits Scheme โครงการสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ
(CSMBS)
claim for benefit by insured person การขอรับประโยชนทดแทนของผูประกันตน
clearing house ศูนยเก็บขอมูล
compensation เงินทดแทน
compulsory แบบบังคับ
confinement การคลอดบุตร
consultants ที่ปรึกษา
contingency กรณี
contracted hospital โรงพยาบาลที่เปนคูสัญญา
contribution เงินสมทบ
contribution ceiling เพดานเงินสมทบ
contribution rate อัตราเงินสมทบ
contributory system ระบบที่ตองเรียกเก็บเงินสมทบ
cost-benefit analysis การวิเคราะหตนทุนและกําไร
cost of living index ดัชนีคาครองชีพ
cost rate อัตราตนทุน
coverage ขายคุมครอง
covered workers คนงานในความคุมครอง
current coverage ความคุมครองในปจจุบัน
dead capital ตนทุนที่อยูนิ่ง
decent work งานที่มีคุณคา
decent work indicators ตัวชี้วัดงานที่มีคุณคา
delivery การคลอดบุตร
distortion analysis การวิเคราะหความผิดพลาด, การวิเคราะห
ความเบี่ยงเบน
domestic workers คนงานที่ทํางานตามบาน
disguised wage workers ลูกจางแอบแฝง
ear-marked tax ภาษีที่เก็บเพื่อการใดการหนึ่งเปนพิเศษ
early retirement การออกจากงานกอนเกษียณอายุ
efficency gains ประสิทธิภาพที่ไดรับ
eligibility การเกิดสิทธิตามกฎหมาย
emergency case กรณีฉุกเฉิน
employability ความสามารถในการมีงานทํา
employee registration การขึ้นทะเบียนลูกจาง
employee registration form แบบขึ้นทะเบียนผูประกันตน
employee’s identification card บัตรประจําตัวประชาชนของลูกจาง
employer contributions เงินสมทบของนายจาง
employer indentification number หมายเลขบัญชีนายจาง
employer registration การขึ้นทะเบียนนายจาง
employer liability โครงการตามความรับผิดชอบของนายจาง
employer registration form แบบขึ้นทะเบียนนายจาง
employment in the informal sector การจางงานในภาคนอกระบบ
employment related system ระบบที่มีเงื่อนไขของการทํางาน
exemption การลดสวน, การยกเวน
expenditure คาใชจาย
experience rate อัตราเงินสมทบตามคาประสบการณหรือตาม
สถิติการเกิดอันตราย
extension of coverage การขยายขายความคุมครอง
family-friendly measure มาตรการที่เอื้อตอชีวิตครอบครัว
family workers ลูกจางที่ทํางานในครอบครัว
fee for service system ระบบจายตามใบเสร็จรับเงิน
financing การบริหารการเงิน, การจัดงบประมาณ
financing the transition การบริหารการเงินในชวงของการเปลี่ยนแปลง
fines คาปรับ
fiscal year ปงบประมาณ
fixed annuity เงินรายงวดที่กําหนดจํานวนเงินแนนอน ผูรับ
ประกันจะตองค้ําประกันสัญญาของผูถอื (ซึ่งคือ
ผูรับเงินรายงวด) ใหไดรับเงินรายงวด ผูรับประกัน
เปนผูรับภาระความเสี่ยงในตลาดทุน
flexibility การยืดหยุน
flexible specialization รูปแบบความเชี่ยวชาญเฉพาะทางที่ยืดหยุน
formality การอยูในระบบ
free of charge การไมเสียคาใชจายใดๆ
fully Funded ระบบบํานาญแบบสะสมทุนเต็มจํานวน เพื่อ
การจายบํานาญในอนาคต ดังนั้นเงินสมทบที่
จัดเก็บตองนําไปลงทุนหาผลประโยชนเพิ่มเติม
เพื่อใหเพียงพอสําหรับการจายบํานาญในอนาคต
funeral grant คาทําศพ
general practitioner แพทยเวชปฏิบัติทั่วไป
generational account การทําบัญชีคาใชจายของคนรุนตอไปที่จะตอง
รับผิดชอบในคาใชจายที่รัฐบาลปจจุบันไดสัญญาไว
governance หลักการบริหารจัดการ
government service system ระบบราชการ
grant money เงินสงเคราะห
gross earning รายไดรวม
growth from below การเติบโตทางเศรษฐกิจจากเบื้องลาง
headquarters สํานักงานใหญ
health care การรักษาพยาบาล
health care provider สถานพยาบาล
health insurance การประกันสุขภาพ
health promotion and prevention การสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค
hidden economy เศรษฐกิจซอนเรน
hidden pension debt หนี้สินบํานาญที่แฝงเรน
hospital in the social security scheme โรงพยาบาลในโครงการประกันสังคม
hospitalization การเขารับการรักษาในโรงพยาบาล
immediate annuity การจายประโยชนทดแทนเปนรายงวดโดยทันที
implementation การดําเนินงาน, การปฏิบัติงาน
implication ขอบงชี้, นัยสําคัญ
income maintenance program โครงการรักษาระดับรายได
indemnity คาทดแทน
incentive payment การจายเงินแบบจูงใจ
income replacement เงินทดแทนการขาดรายได
independent service provider ผูใหบริการอิสระ
individual choice of hospital ผูประกันตนมีสิทธิเลือกโรงพยาบาลเอง
individual account บัญชีเงินออมสวนบุคคล
individual retirement accounts ระบบบัญชีรายบุคคล
industrial classification ประเภทอุตสาหกรรม
industrial outworkers ผูรับเหมาชวงงานอุตสาหกรรมไปทําที่บาน
inflation rate อัตราเงินเฟอ
informal economy เศรษฐกิจนอกระบบ
informality การอยูนอกระบบ
informal job งานนอกระบบ
informal sector ภาคนอกระบบ
information system ระบบสารสนเทศ, ระบบขอมูลขาวสาร
in-patient คนไขใน
insured person ผูประกันตน
interdisciplinary สหวิทยาการ (มีความสามารถหลายอยาง
มาทํางานรวมกัน)
International Labour Office (ILO) สํานักงานองคการแรงงานระหวางประเทศ
invalidity benefit ประโยชนทดแทนกรณีทุพพลภาพ
investment policy นโยบายการลงทุน
involuntary unemployment การวางงานโดยไมสมัครใจ
labour court ศาลแรงงาน
labour force กําลังแรงงาน
labour force intensive การใชแรงงานเขมขน
life annuity เงินบํานาญรายงวดที่จายตลอดชีวิต
life-cycle crisis ความวิกฤตในวงจรชีวิต
liquidity สภาพคลอง
loss of organs การสูญเสียอวัยวะ
lump sum เงินกอน
magnetic media สื่อคอมพิวเตอร แถบแมเหล็ก
magnetic tape แถบแมเหล็ก
marital status สถานภาพการสมรส
maternity benefit ประโยชนทดแทนกรณีคลอดบุตร
means-tested วิธีตรวจสอบความจําเปนหรือตรวจสอบรายได
เพื่อประกอบการพิจารณาใหการสงเคราะหหรือจาย
ประโยชนทดแทน(นิยมใชในออสเตรเลีย
และนิวซีแลนด)
medical card บัตรรับรองสิทธิการรักษาพยาบาล
medical care การรักษาพยาบาล
Medical Committee คณะกรรมการการแพทย
medical expense คารักษาพยาบาล
medical records system ระบบเวชระเบียน
medical service บริการทางการแพทย
medical standard มาตรฐานการแพทย
medicament and pharmaceutical products ผลิตภัณฑที่ใชบําบัดโรคและยา
members of cooperatives สมาชิกสหกรณ
micro insurance การประกันระดับจุลภาค
minimum daily wage คาจางขั้นต่ํารายวัน
ministerial regulation กฎกระทรวง
monthly pension บํานาญรายเดือน
motor vehicle insurance law พระราชบัญญัติผูประสบภัยจากรถยนต
mutual fund กองทุนรวม
net earning รายไดสุทธิ
network hospital โรงพยาบาลเครือขาย
non contributory system ระบบที่ไมเรียกเก็บเงินสมทบ
normal retirement เกษียณอายุปกติ
old-age benefit ประโยชนทดแทนกรณีชราภาพ
out-patient คนไขนอก
outsourcing การจางเอกชนดําเนินการ
partially disability การสูญเสียสมรรถภาพในการทํางานของอวัยวะ
บางสวน
partially funded ระบบบํานาญแบบสะสมทุนบางสวน
pattern of benefit accrual รูปแบบการสะสมประโยชนทดแทน
pay-as-you-go ระบบการเงิ น ของการประกั น สั ง คมที่ จั ด สรร
ทรัพยากรตอป จากเงินสมทบหรือแหลงอื่นๆ เพื่อ
เปนคาใชจายปตอป ในทางปฏิบัติจะมีการสํารอง
เงินที่จําเปนตอการเปลี่ยนแปลงดานคาใชจายหรือ
การที่รายไดลดลง ซึ่งอาจเปนคาใชจายประโยชน
ทดแทนเฉลี่ ย 6 เดือ น สํ า หรั บ ประโยชน ท ดแทน
กรณี เ จ็ บ ป ว ย และ 12 เดื อ นสํ า หรั บ ประโยชน
ทดแทนกรณีวางงานมีความเปลี่ยนแปลงนั้นนาน
มากกว า อัต ราตน ทุ น PAYG เปน ผลจากการหาร
คาใชจายโครงการกับรายไดจากเงินสมทบโดยรวม
และจะสามารถระบุ อั ต ราเงิ น สมทบที่ จํ า เป น ต อ
คาใชจาย
payment order for benefit ใบสั่งจายประโยชนทดแทน
permanent disability ทุพพลภาพถาวร
personal retirement account บัญชีบํานาญสวนบุคคล
pilot project โครงการนํารอง
premium เบี้ยประกัน
present value มูลคาในปจจุบัน
primary health care สาธารณสุขมูลฐาน
private hospital สถานพยาบาลของเอกชน
provident fund กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ
Provincial Social Sucurity Office สํานักงานประกันสังคมจังหวัด
public carrier หนวยงานดําเนินงานของรัฐ
public hospital สถานพยาบาลของรัฐ
qualifying condition เงื่อนไขการเกิดสิทธิ
qualifying period ระยะเวลาการเกิดสิทธิ
re-engineering การสงเสริมประสิทธิภาพการทํางานดวยการปรับ
กระบวนการทํางาน หรือโครงสรางการบริหารงาน
record of employment สถิติการมีงานทําหรือการจางงาน
referral system ระบบสงตอ (คนไข)
register ขึ้นทะเบียน
rehabilitation expense คาฟนฟูสมรรถภาพ
rehabilitation service บริการฟนฟูสมรรถภาพ
reimburse เบิกคืน
reimbursement การเบิกเงินคืนภายหลัง
reserve ratio (สัดสวนเงินสํารอง) ตัวชี้วัดของระดับเงินสํารองใน
โครงการประกันสังคมเปรียบเทียบกับคาใชจาย
สัดสวนเงินสํารองกําหนดโดยหารเงินสํารอง ณ
จุดเริ่มตนของปกับคาใชจายของปนั้น สัดสวนเงิน
สํารองที่ตองการสําหรับการประกันสังคมสาขา
ตางๆ กําหนดนโยบายการประเมินทางคณิตศาสตร
ประกันภัย (โดยอาจจะกําหนดในกฎหมาย) และ
สามารถกํากับดูแลได ณ ชวงเวลาหนึ่ง
request for benefit คําขอรับประโยชนทดแทน
risk pooling การรวมความเสี่ยง
scenario สถานการณจําลอง
scheme โครงการ
self-employed ผูประกอบอาชีพอิสระ
serverance pay คาชดเชยกรณีเลิกจาง
service utilization การใชบริการ
short-term benefits ประโยชนทดแทนระยะสั้น เชน กรณีเจ็บปวย
และคลอดบุตร
sickness benefit ประโยชนทดแทนกรณีเจ็บปวย
social assistance การสงเคราะหหรือการชวยเหลือสังคม
social insurance การประกันสังคม
social protection การคุมครองทางสังคม
social safety net ขายความปลอดภัยทางสังคม
social security ความมั่นคงทางสังคมมีองคประกอบหลายประการ
ไดแก การประกันสังคม การสงเคราะหหรือการ
ชวยเหลือทางสังคม ประโยชนทดแทนจายจาก
ภาษีเงินไดประโยชนทดแทนสําหรับครอบครัว
กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ประโยชนทดแทนที่ไดรับ
จากนายจางและการบริการสังคม
Social Security Act พระราชบัญญัติประกันสังคม
social security card บัตรประกันสังคม
Social Security Committee คณะกรรมการประกันสังคม
Social Security Office สํานักงานประกันสังคม
social services การบริการสังคม
specialist care การรักษาโดยแพทยผูเชี่ยวชาญ
Special Occupational System ระบบที่คุมครองตามลักษณะวิชาชีพ เชน คนงาน
เหมืองแร และคนงานรถไฟ เปนตน
SSO Area Office สํานักงานประกันสังคมเขตพื้นที่
stake holder ผูเกี่ยวของ
subsidiary institution สถาบันในสังกัด
Sub-Committee of the Medical Committee อนุกรรมการการแพทย
subcontractor สถานพยาบาล (เครือขาย)
surplus สวนเกิน
survivors ผูอยูในอุปการะ
survivors’ pension บํานาญผูอยูในอุปการะหรือบํานาญตกทอด
temporary disability กรณีไรความสามารถในการทํางานชั่วคราว
transactions การทําธุรกรรม
transition period ชวงของการเปลี่ยนแปลงจากโครงการเดิมไปสู
โครงการใหม
tripartite contributions การเก็บเงินสมทบจากสามฝาย คือ ลูกจาง นายจาง
และรัฐบาล
triplet แฝดสาม
twin แฝดสอง
under-service การบริการไมเต็มที่
underground economy เศรษฐกิจใตดิน
uniform rate อัตราเดียวกัน
universal ระบบที่ใหความคุมครองแกประชาชนทุกคน
universal benefit schemes โครงการแบบครอบคลุมประชาชนทุกคน
university teaching hospitals โรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย
utilization based incentive payment การจายเงินเปนแรงจูงใจโดยพิจารณาจากการ
ใชบริการเปนหลัก
utilization rate อัตราการใชบริการ
value for money ความคุมทุน
variable annuity เงินรายงวดที่สามารถเปลี่ยนแปลงจํานวนเงินได
ผูถือสัญญาสามารถเลือกการลงทุนและรับภาระ
ความเสี่ยงในตลาดทุนดวยตนเอง
voluntary insurance การประกันโดยสมัครใจ
workforce กําลังแรงงาน
work related เนื่องจากการทํางาน
Workmen’s Compensation Act พระราชบัญญัติเงินทดแทน
Workmen’s Compensation Fund (WCF) กองทุนเงินทดแทน
Workmen’s Compensation Committee คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน
Workmen’s Compensation Medical Committee คณะกรรมการการแพทย กองทุนเงินทดแทน
ศัพทหมวดบํานาญ
accrued interest ดอกเบี้ยสะสม
actual earning รายไดที่แทจริง
actuarial assessment การประเมินทางคณิตศาสตรประกันภัย
annuity เบี้ยหวัด เงินป เงินบํานาญที่จายเปนรายงวด
average earning รายไดเฉลี่ย
basic pension บํานาญขั้นพื้นฐาน
benchmark บรรทัดฐาน
benefit formula สูตรการคํานวณประโยชนทดแทน
cash equivalent สินทรัพยที่สามารถตีคาเปนเงิน
ceiling on pensionable earnings เพดานรายไดที่นํามาคํานวณ
child-rearing supplement เงินชวยเหลือเพิ่มเติมการเลี้ยงดูบุตร
complementary plan แผนบํานาญเสริม
compulsory saving การออมโดยบังคับ
constant attendance allowance เงินชวยเหลือในการดูแลผูสูงอายุ
contribution ceilings อัตราเงินสมทบขั้นสูงสุด, เพดานเงินสมทบ
corporate governance การบริหารจัดการบรรษัท
cross-border provision ขอกําหนดในการโอนยาย
custodian ผูจัดการกองทุน
custody การดูแลรักษา
deferred pension การรับบํานาญลาชาออกไปจากอายุเกษียณ
defined benefit โครงการบํานาญแบบกําหนดประโยชน
ทดแทนผูสงเงินสมทบจะไดรับคํามั่นวา
เมื่อเกษียณอายุจะไดรับบํานาญตามสัดสวน
ของรายไดในระหวางทํางาน สัดสวน
(หรืออัตราเงินทดแทน-replacement rate)
มีการกําหนดไวลวงหนา แตก็มีความไม
แนนอนอยูบางในขณะทํางาน คือ การเก็บเงิน
สมทบอยางไรจึงจะเพียงพอตอการจาย
ประโยชนทดแทน และยังตองขึ้นอยูกับ
ประสิทธิภาพขององคการที่รับผิดชอบ
โครงการบํานาญในการรักษาสัญญาดังกลาวดวย
defined contribution โครงการบํานาญแบบกําหนดเงินสมทบ
คนงานและนายจางจายเงินสมทบในขณะ
ทํางาน และหนวยงานรับผิดชอบโครงการ
บํานาญนําไปลงทุน การลงทุนและรายไดจะมี
การสะสมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และเมื่อเกษียณอายุผู
สงเงินสมทบจะไดรับประโยชนเปนเงินกอน
(Lump-Sum) อัตราเงินสมทบจะมีการกําหนด
ไวลวงหนา แตเนื่องจากบํานาญที่จะไดรับจะ
ขึ้นอยูกับภาวะตลาดการเงิน ดังนั้นจึงอาจไมมี
ความแนนอนวาจะไดรับเงินบํานาญจํานวนเทาใด
depository การจัดเก็บเงินกองทุน
early retirement การเกษียณกอนอายุ
earning ceiling เพดานรายได
earnings-related pension บํานาญที่ใชฐานรายได (เชน นํารายไดกอน
เกษียณอายุมาเปนฐานในการคํานวณเงิน
บํานาญ อาจเปนรายไดปสุดทาย, รายไดเฉลี่ย
ในชวง 2-3ป กอนเกษียณอายุ รายไดเฉลี่ย
ในชวง 5 ป หรือ 10ป ที่ดีที่สุดหรือรายไดเฉลี่ย
ตลอดชีวิตการทํางาน) ปกติแลวจะเก็บเงิน
สมทบจากนายจาง/ลูกจาง
fix income หุนสามัญ
flat-rate pension บํานาญที่เปนอัตราเดียวกัน หรือกําหนดอัตรา
ไวแลว คิดตามระยะเวลาการทํางาน โดยไม
คํานึงถึงรายได
flat-rate universal pension บํานาญอัตราเดียวซึ่งขึ้นอยูกับการพํานักอาศัย
ในประเทศ แตไมไดเกี่ยวของกับรายได ปกติ
แลวจะใชจายจากเงินของรัฐบาล โดยไมเก็บ
เงินสมทบจากนายจางและลูกจาง
fringe benefit สวัสดิการตางๆ
fully-funded scheme โครงการระบบสะสมเงินเพื่อจายเต็มจํานวน
คือ การสะสมเงินสํารองซึง่ เพิ่มขึ้นอยาง
รวดเร็วตั้งแตเริ่มโครงการ มีขอดีเนื่องจากเปน
โครงการสงเสริมการออมของชาติ และ
สงเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต
อัตราเงินสมทบในระยะแรกๆตองกําหนดไว
ในอัตราสูงเพื่อสรางเงินสํารองไวมากๆ
gross earning รายไดรวม
increment เงินเพิ่ม
indexation การคิดคาดัชนีเงินบํานาญ (เปนการปรับคา
ดัชนีเพื่อรักษามูลคาที่แทจริงของเงินบํานาญ
ตามภาวะเงินเฟอในระบบเศรษฐกิจ)
individual account ระบบบัญชีรายบุคคล
individual retirement schemes โครงการบํานาญรายบุคคล ลูกจาง และในบาง
กรณีนายจางตองจายเงินสมทบเปนรอยละ
ของรายไดเขาบัญชีที่บริหารจัดการโดยรัฐบาล
หรือผูจัดการกองทุนเอกชนที่ลูกจางเลือกเอง
เงินทุนที่สะสมในบัญชีรายบุคคลจะนําไปซื้อ
เบี้ยหวัดเงินปหรืออาจจะจายเปนเงินกอน
information retrieval system ระบบรักษาขอมูล
invalidity pension บํานาญทุพพลภาพ
length-of-pension benefit ประโยชนทดแทนที่คิดตามระยะเวลาการทํางาน
lump sum เงินกอน
lump-sum payment การจายเงินเปนกอน
mandate ขอบังคับ
mandatory private insurance การประกันภัยเอกชนโดยบังคับ
maximum pension บํานาญขั้นสูง
means-tested pension บํานาญที่จายใหผูมีสิทธิ ซึง่ มีรายไดทรัพยสิน
หรือทั้งสองประการต่ํากวาระดับที่กําหนด
มักจะใชจายจากเงินของรัฐบาล โดยไมเก็บเงิน
สมทบจากนายจางและลูกจาง
minimum pension บํานาญขั้นต่ํา
multi-pillar (บํานาญ)ระบบหลายชั้น
normal retirement age อายุเกษียณปกติ
Notional Defined Contribution(NDC) โครงการบํานาญแบบกําหนดเงินสมทบซึ่งคิด
คาดัชนีเปนรายปเพื่อรักษามูลคาของเงินบํานาญ
แทนที่จะคิดดอกเบี้ย
occupational retirement schemes โครงการเกษียณอายุสําหรับลูกจาง โครงการ
แบบนี้กฎหมายจะกําหนดใหนายจางจัดทํา
โครงการเกษียณอายุเพื่อลูกจางโดยนายจาง
จาย และในบางกรณีลูกจางจายดวย ประโยชน
ทดแทนจายเปนเงินกอน เบี้ยหวัด เงินป หรือบํานาญ
old-age pension บํานาญชราภาพ
partial funding โครงการแบบสะสมเงินสํารอง
เปนโครงการสายกลางระหวาง Fully-Funded
Scheme กับ Unfunded Scheme (Pay-As-You-Go)
กลาวคือมีการสะสมเงินสํารองเรื่อยๆ แตไมจําเปน
ตองเก็บใหเพียงพอตอภาระการจายประโยชนทดแทน
อัตราเงินสมทบในระยะแรกๆจะต่ํากวาแบบ
Fully-Funded แตก็สูงกวาแบบ PAYGและจะเพิ่ม
เงินสมทบทีละนอยๆ
partial pension บํานาญบางสวน
pension company บริษัทบํานาญ
past earning รายไดที่ผานมา
pensionable earnings รายไดที่นํามาคํานวณบํานาญ
pension formula สูตรการคํานวณเงินบํานาญ
pension liability ภาระการจายบํานาญ
pension reform การปฏิรูปบํานาญ
pensioner ผูรับบํานาญ
pension system ระบบบํานาญ
portability การโอนยายกองทุน
portability features ลักษณะของการเคลื่อนยายเงินทุน (เชน ตอง
เก็บรักษาไว 2 ป จึงขอถอนได หรืออนุญาต
ใหโอนไปกองทุนบํานาญอื่นได เปนตน)
portfolio rebalancing การกําหนดรูปแบบการลงทุนที่เหมาะสม
provident funds กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เปนการเก็บเงินสมทบ
จากนายจางและลูกจางเพื่อลูกจาง โดยจัดทํา
เปนกองทุนพิเศษบริหารจัดการโดยรัฐ
ประโยชนทดแทนจายเปนเงินกอนบวกดอกเบี้ย
reduced pension บํานาญลดสวน (เชน ลดลงตามระยะเวลา
การจายเงินสมทบ)
regulatory compliance หลักเกณฑในการปฎิบัติตามกฎหมาย
remuneration ผลตอบแทน
required number of years of contributions จํานวนปที่ตองการสําหรับเงินสมทบเพื่อการ
เกิดสิทธิรับบํานาญ
retired worker คนงานที่ออกจากงาน
retirement age อายุเกษียณ
scenario สถานการณจําลอง
survivors pension บํานาญผูอยูในอุปการะ, บํานาญตกทอด
taxable income รายไดที่นํามาคํานวณภาษี
under funding เงินกองทุนที่ไมเพียงพอจายประโยชนทดแทน
unfunded scheme (pay-as-you-go) โครงการกําหนดเงินสมทบใหเพียงพอกับการ
จายประโยชนทดแทนของแตละป มักใชมาก
ในโครงการประกันสังคมของประเทศที่
พัฒนาแลว คือ เปนการจายประโยชนทดแทน
จากเงินสมทบของแตละป โดยไมจําเปนตอง
สะสมเงินสํารอง กลาวคือคนรุนหนุมสาวมี
พันธะจายเงินสมทบเพื่อจายประโยชน
ทดแทนตามความจําเปนแกคนที่เกษียณอายุ
ในปจจุบัน
vesting กฎเกณฑการเก็บเงินไวในกองทุน
vesting period ระยะเวลาที่เงินเก็บไวในกองทุน
ศัพทหมวดประกันสุขภาพ

accident and emergency care standard มาตรฐานบริการผูปวยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน


ambulance รถพยาบาล
anaesthesiology วิสัญญีวิทยา
anaesthesiology standard มาตรฐานบริการวิสัญญี
capitation payment การจายเงินเหมาจาย
capitation provider payment system (ระบบเหมาจาย) เปนระบบภายใตโครงการ
ประกันสุขภาพซึ่งจายเงินใหกับผูใหบริการ
รักษาพยาบาล (โรงพยาบาล คลินิก แพทยที่
ไดรับการรับรองและทําสัญญากับโครงการ)
โดยกําหนดงบประมาณตอหัวใหกับบุคคลที่
ขึ้นทะเบียนกับผูใหบริการตามประเภทของ
การรักษาที่ระบุในสัญญา เงินเหมาจายตามที่
ตกลงกันจะจายเปนรายงวดใหกับผูใหบริการ
ไมวา
ผูประกันตนจะมาใชบริการรักษาพยาบาล
หรือไม
chemotherapy การใชเคมีบําบัด
chronic diseases โรคเรื้อรัง
co-payment การออกคาใชจายรวมกัน
coronary bypass การผาตัดหัวใจในโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
cosmetic surgery การผาตัดเสริมความงาม
dental care บริการทันตกรรม
Diagnostic Related Group (DRG) การวินิจฉัยตามกลุมโรค
different capitation คาเหมาจายที่แตกตางกัน
drug resistance testing การทดสอบการดื้อยาในผูป วยโรคเอดส
emergency care การรักษาพยาบาลกรณีฉุกเฉิน
extraction การถอนฟน
false teeth ฟนปลอม
filling การอุดฟน
general medical standard มาตรฐานทั่วไป
general practitioner แพทยเวชปฏิบัติทั่วไป
health insurance scheme โครงการประกันสุขภาพ
health status สถานภาพดานสุขภาพ
hemodialysis การฟอกเลือดดวยเครื่องไตเทียม
Hospital Accreditation (HA) การรับรองมาตรฐานการรักษาพยาบาล
immediate life threatening conditions การเจ็บปวยที่ตองไดรับการวินิจฉัย
และการรักษาโดยทันที
implantation of prosthesis and การผาตัดใสอวัยวะเทียม หรืออุปกรณในการ
instrumentation บําบัดรักษาโรคภายในรางกาย
infertility condition ภาวะที่มีบุตรยาก
inpatient care standard มาตรฐานบริการผูปวยใน
intensive care standard มาตรฐานบริการผูปวยหนัก
kidney transplant การเปลี่ยนไต
laboratory services บริการตรวจทางหองปฏิบัติการ
long term hospitalization การรักษาในโรงพยาบาลระยะยาว
main contractor สถานพยาบาลหลัก
medical appliances อุปกรณการแพทย
medical record standard มาตรฐานเวชระเบียน
occupancy rate อัตราการครองเตียง (การเขารับการ
รักษาพยาบาล
แบบคนไขใน)
open heart surgery การผาตัดหัวใจแบบเปด
organ transplantation การผาตัดเปลี่ยนอวัยวะ
outpatient care standard มาตรฐานบริการผูปวยนอก
pathology standard มาตรฐานบริการพยาธิวิทยา
percutaneous balloon valvuloplasty การรักษาโรคลิ้นหัวใจโดยใชสายบอลลูน
ผานทางผิวหนัง
peritoneal dialysis การลางไตทางชองทอง
pharmaceutical practice standard มาตรฐานบริการเภสัชกรรม
physiotherapy กายภาพบําบัด

post-natal care การดูแลครรภหลังคลอด


pre-natal care การดูแลครรภกอนคลอด
prescription drug ยาตามใบสั่งของแพทย
quality assurance การควบคุมคุณภาพในโครงการบริการ
ทางการแพทยของประกันสังคม
radiology รังสีวิทยา
radiology standard มาตรฐานบริการรังสีวิทยา
recovering period care การบริการระหวางรักษาตัวแบบพักฟน
referral system ระบบสงตอผูปวยเพื่อการรักษาระหวาง
สถานพยาบาล
renal dialysis การลางไต
researching treatment การรักษาที่ยังอยูระหวางการคนควาทดลอง
scaling การขูดหินปูน
subcontractor สถานพยาบาลเครือขาย
supra contractor สถานพยาบาลระดับสูง
surgical care บริการศัลยกรรม
surgical care standard มาตรฐานบริการศัลยกรรม
transportation services บริการสงผูปวย
transsexual surgery การเปลี่ยนเพศ
รักษาพยาบาล
บําบัดรักษาโรคภายในรางกาย
แบบฟอรมประเภทตางๆ ของกองทุนประกันสังคม

1. แบบขึ้นทะเบียนนายจาง (สปส.1-01)
Form SSO 1-01 Employer Registration
2. หนังสือนําสงแบบขึ้นทะเบียนผูประกันตน (สปส.1-02)
Form SSO 1-02 Letter of submission for employee registration
3. แบบขึ้นทะเบียนผูประกันตน (สปส.1-03)
Form SSO 1-03 Employee Registration
4. แบบรายการแสดงการสงเงินสมทบ (สปส.1-10)
Form SSO 1-10 Details of employer and employee contributions
5. ใบสรุปรายการแสดงการสงเงินสมทบกรณียื่นรวม (สปส.1-10/1)
Summary of employer and employee contributions (in case including branch office)
6. แบบแสดงความจํานงขอเปนผูประกันตนตามมาตรา 39 สปส.1-20
Form SSO 1-20 Voluntary Insured Person Registration (article 39)
7. แบบคําขอรับเงินคืน (นายจางเปนผูยื่นคําขอ) สปส.1-23/1
Form SSO 1-23/1 Employer Requests Overpayment Refund
8. แบบคําขอรับเงินคืน (สําหรับผูประกันตนที่ทํางานกับนายจางหลายราย) สปส.1-23/2
Form SSO 1-23/2 Employee Requests Overpayment Refund
9. แบบคําขอรับเงินคืน (สําหรับผูประกันตนโดยสมัครใจ) สปส.1-23/3
Form SSO 1-23/3 Voluntary Insured Person Requests Overpayment Refund
10. แบบคําขอรับประโยชนทดแทนกองทุนประกันสังคม สปส.2-01
Form SSO 2-01 Request for Benefits
11. แบบคําขอรับประโยชนทดแทนกรณีวางงาน สปส. 2-01/7
Form SSO 2-01/7 Request for Unemployment Benefits
12. แบบคําขอรับประโยชนทดแทนกรณีทันตกรรม สปส. 2-16
Form SSO 2-16 Request for Dental Care
13. หนังสือรับรองของนายจาง
Notification of contribution deduction by employer
14. ทะเบียนผูประกันตน สปส.6-07
Form SSO 6-07 Record of insured persons
15. แบบขึ้นทะเบียนผูประกันตน สําหรับผูเคยยื่นแบบขึ้นทะเบียนผูประกันตน สปส.1-03 แลว
Registration for former insured person
16. แบบแจงการลาออกของผูประกันตน สปส. 6-09
Form SSO 6-09 Employee Quits Job
17. แบบแจงการเปลี่ยนแปลงขอเท็จจริงผูประกันตน สปส.6-10
Form SSO 6-10 Change Employee Information
18. แบบแจงการเปลี่ยนแปลงขอเท็จจริงของนายจาง สปส.6-15
Form SSO 6-15 Change Employer Information
19. คําขอรับแทนหนังสือสําคัญแสดงการขึ้นทะเบียนประกันสังคม สปส.6-16
Form SSO 6-16 Request for replacement of Registration Certification (in case of loss
of the original)
20. คําขอรับใบแทนบัตรประกันสังคม สปส.6-17
Form SSO 6-17 Request for replacement of social security card in case of loss
(foreigner only)
21. แบบเลือกสถานพยาบาลและแบบคําเปลี่ยนแปลงบัตรรับรองสิทธิการรักษาพยาบาล สปส.9-
02 Form SSO 9-02 Employee selects hospital and request for changing of medical cards
22. ขอตกลงและเงื่อนไขการสงขอมูลเพื่อทํารายการของสํานักงานประกันสังคมผานสื่อขอมูล
อิเล็กทรอนิกส
Agreement and term of condition for transaction through electronic media
23. ขอทํารายการผานระบบอินเตอรเน็ต สปส.1-05
Form SSO 1-05 Request for transaction through the Internet
ชื่อบัญชี สํานักงานประกันสังคม (ไทย-อังกฤษ)

1. เงินกองทุนเพื่อบริหารสํานักงานประกันสังคม
SSO Administration Fund

2. เงินกองทุนเพื่อบริหารสํานักงานประกันสังคมจังหวัด
Administration Fund for Provincial SSO

3. เงินเพื่อบริหารสํานักงานกองทุนเงินทดแทน
WCF Administration Fund

4. เงินคาใชจายในการฟนฟูและสงเสริมความปลอดภัย
Expenditures for rehabilitation and safety

5. เงินคาใชจายในการฟนฟูและสงเสริมความปลอดภัย ศูนยฟนฟูสมรรถภาพคนงาน
จังหวัด
Expenditures for rehabilitation and safety of Provincial IRC
หมวดศัพทกองทุนเงินทดแทน
Workmen’s Compensation Fund กองทุนเงินทดแทน
work injury การประสบอันตรายเนื่องจากการทํางาน
occupational injury การประสบอันตรายเนื่องจากการทํางาน
employment injury การประสบอันตรายเนื่องจากการทํางาน
injured worker คนงานที่ประสบอันตราย
work – related injury การประสบอันตรายเนื่องจากการทํางาน
tort liability system ระบบการรับผิดชอบตามกฎหมาย
no – fault program ระบบที่ไมเกี่ยวกับการกระทําผิด
(ในความหมายของกองทุนเงินทดแทน
หมายความวา ลูกจางที่ไดรับบาดเจ็บไมจําเปนตอง
พิสูจนความรับผิดชอบของนายจางในการรับเงิน
ทดแทน)
remedy การรักษา (สิทธิ)
commuting to and from work การเดินทางไป – กลับที่ทํางาน
pay – as – you – go – basis ในความหมายของกองทุนเงินทดแทนคือ
การกําหนดอัตราเงินสมทบในระดับที่เพียงพอ
กับการจายเงินทดแทนในระหวางป
work – related diseases โรคจากการทํางาน
occupational disease โรคจากการทํางาน
contributors ผูจายเงินสมทบ
disability benefit ประโยชนทดแทนกรณีพิการ
eligibility การเกิดสิทธิ
financial mechanism กลไกการบริหารการเงิน
rate setting การกําหนดอัตราเงินสมทบ

fully funded system ระบบสํารองเงินเต็มจํานวน ในความหมาย


ของกองทุนเงินทดแทนการประเมินเงินสมทบ
ที่จะเก็บจากนายจาง แตละปครอบคลุมคาใชจาย
จากการประสบอันตรายจากการทํางานในปนั้น
โดยที่คาใชจายนี้อาจตองจายตอเนื่องหลายป
กองทุนจึงตองสํารองเงินไวเพียงพอที่จะจาย
สําหรับการประสบอันตรายที่เกิดขึ้นแลว
balance sheet งบดุล
surplus position สถานะที่มีเงินสวนเกินเหลืออยู
funding policy นโยบายทางการเงิน
funding system ระบบการเงิน
amortisation of surplus or deficits การมีเงินสวนเกินหรือเงินสวนขาดเปนเทคนิค
ทางคณิตศาสตรประกันภัยเพื่อจัดการกับ
ความคลาดเคลื่อนระหวางการประมาณการ
และรายจายจริงที่เกิดขึ้น
surplus เงินสวนเกิน
deficits เงินสวนที่ขาด
present value มูลคาปจจุบัน
actuarial liability หนี้สินหรือภาระในเชิงคณิตศาสตรประกันภัย
adjudicate วินิจฉัย
asset สินทรัพย
actuarial principle หลักการทางคณิตศาสตรประกันภัย
actuarial analysis การวิเคราะหเชิงคณิตศาสตรประกันภัย
investment revenue รายไดจากการลงทุน
basis rates อัตราเงินสมทบหลัก
experience ratio อัตราเงินสมทบตามคาประสบการณ
insurable salary รายไดที่นํามาคํานวณเงินสมทบ
loss rates อัตราสวนการสูญเสีย

high – risk industries ประเภทกิจการที่มีความเสีย่ งสูง


relativity factor ปจจัยสัมพัทธของประเภทกิจการเปนตัวบงชี้
ความเสี่ยงของประเภทกิจการไดมาจากการคํานวณ
เงินทดแทนกับคาจางรวม
industry code รหัสกิจการ
industrial classification ประเภทกิจการ
experience rating system ระบบการกําหนดอัตราเงินสมทบ
ตามคาประสบการณ
calculation of loss ratio การกําหนดอัตราสวนการสูญเสียโดยสูตร
เงินทดแทน x 100
เงินสมทบ
law of large number กฎของเลขจํานวนมาก
full credibility ระดับความเชื่อถือได (เปนระดับความไววางใจใน
ขอมูลตามขนาดของกลุมขอมูลที่นํามาประมาณการ
simulation technique เทคนิคการจําลอง
coinsurance การประกันรวมกัน
balance factor ระดับความสมดุล
financial equilibrium ความสมดุลทางการเงิน
funded ratio อัตราสวนเงินกองทุน
over – funded situation กองทุนมีเงินสะสมอยูมากเกินไป
retrospective basis การคํานวณแบบยอนหลัง
prospective basis การคํานวณแบบมองไปขางหนาใชในการ
ประมาณจํานวนหนี้สิน
actuarial valuation การประเมินคาทางคณิตศาสตรประกันภัย
statistical report รายงานทางสถิติ
injury year ปที่ประสบอันตราย
year of payment ปที่จายจริง
temporary disability การไรความสามารถในการทํางานชั่วคราว
Average Cost Per Accident (ACPA) คาทดแทนเฉลี่ยตอการประสบอันตราย

benefit paid in the past loss เงินทดแทนสําหรับการประสบอันตราย


ที่เกิดขึ้นแลว
degree of loss ระดับความสูญเสีย
total disability พิการสิ้นเชิง
partial disability พิการบางสวน
claimant ผูขอรับคาทดแทน
compensation เงินทดแทน
full compensation เงินทดแทนแบบเต็มจํานวนที่มีทั้งคารักษาพยาบาล
การบริการฟนฟูสมรรถภาพ และการจายคาทดแทน
แกลูกจางและผูอยูในอุปการะ
replacement rate อัตราเงินทดแทนการขาดรายได
frequency of injuries ความถี่ของการประสบอันตราย
deceased workers ลูกจางที่เสียชีวิต
occupational health and safety ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

Reference : Report to the government on the Improvement of efficiency of the Workmen’s


Compensation Fund, A study sponsored by the World Bank and managed by
the Ministry of Labour and Social Welfare.
ลักษณะของการประสบอันตราย ( Nature of injuries)
affected by toxic substances or chemicals สัมผัสสิ่งมีพษิ สารเคมี
amputation ขาดหรือถูกตัดขาด( อวัยวะ)
animal attacks ถูกสัตวทําลาย
being pressed or pulled by object วัตถุหรือสิ่งของหนีบหรือดึง
bruise contusion ฟกช้ํา
burn ( chemical) การไหม( ทางเคมี )
burn and scald(heat) ไหมและพอง
burns from exposure to cold /freezing materials ผลจากความเย็นจัด/สัมผัสของเย็น
burns from exposure to hot objects/Materials ผลจากความรอนสูง/สัมผัสของรอน
car accident อุบัติเหตุจากยานพาหนะ
caught in under or between ติดอยูภายใตหรือระหวาง
cervical เกี่ยวกับคอหรือมดลูก
concussion การถูกกระทบกระเทือนอยางรุนแรง
contact with electrical current การสัมผัสกระแสไฟฟา
contact with radiation ,caustics,toxic การไดรับกัมมันตภาพรังสี, สารที่มีฤทธิ์
and noxious กัดกรอน, สารพิษ, สารที่มีภัยตอสุขภาพ
contact with temperature extremes การสัมผัสอุณหภูมิสูง
cranium region สวนของกะโหลกศีรษะ
crushing injury บาดเจ็บจากการถูกบดขยี้
cut, laceration,puncture,abrasion การบาด ถลอก แทง ขูดขีด
cut or wounded by sharp material วัตถุหรือสิ่งของตัด/บาด/ทิ่มแทง
dental injury อาการบาดเจ็บในฟน
electric shock ไฟฟาช็อต
fell from a height ตกจากที่สูง
fell over or slipped หกลม ลื่นลม
foreign material in eye-eye injury วัตถุหรือสิ่งของกระเด็นเขาตา
fracture กระดูกหัก
hard-metal dust ฝุนจากโลหะหนัก
heatstroke หนามืด (โดนแดดมาก)
hernia สวนหนึ่งของอวัยวะหรือเนือ้ เยือ่ ที่โผลออกมา
injured/burned by radiation อันตรายจากรังสี
injured/burned by exposure to light อันตรายจากแสง
injured by fallen building อาคารหรือสิง่ กอสรางพังทลาย
injured by falling object วัตถุหรือสิ่งของพังทลายหรือหลนทับ
injured by explosion วัตถุหรือสิ่งของระเบิด
injured by thrown object วัตถุหรือสิ่งของกระแทกหรือชน
injury/illness cause by working ประสบอันตรายจากทาทางการทํางาน
in the same position constantly
notification of accident ใบแจงการประสบอุบัติเหตุ
other physical injuries ถูกทํารายรางกาย
overexertion การออกแรงมากเกินไป
public transportation accident อุบัติเหตุจากการขนสงสาธารณะ
rubbed or abraded การเสียดสีหรือขูดขีด
sensitizing agent สารที่ทําใหเกิดการระคายเคือง
sunstroke โรคลมแดด
superficial wound บาดแผลภายนอก
trunk ลําตัว
upper limb แขนขาชวงบน
vertebra กระดูกสันหลัง
โรคเนื่องจากการทํางาน (Occupational Diseases)

ammonia poisoning โรคจากแอมโมเนีย


rrsenic or arsenic compounds poisoning โรคจากสารหนูหรือสารประกอบของสารหนู
benzene or benzene compounds toxicity โรคจากเบนซีนหรือสารประกอบของเบนซีน
beryllium or beryllium compounds poisoning โรคจากเบอริลเลี่ยมหรือสารประกอบเบอริลเลี่ยม
bronchopulmonary diseases โรคปอด
cadmium or cadmium compounds poisoning โรคจากแคดเมีย่ มหรือสารประกอบแคดเมี่ยม
carbon disulfide poisoning โรคจากคารบอนไดซัลไฟล
carbon monoxide poisoning โรคจากคารบอนมอนออกไซด
caustic สารกัดกรอน
chlorine or chlorine compounds poisoning โรคจากคลอรีนหรือสารประกอบคลอรีน
chromium or chromium compounds poisoning โรคจากโครเมีย่ มหรือสารประกอบของโครเมี่ยม
community accident อุบัติเหตุระหวางการเดินทางไปทํางาน
diseases caused by ionizing radiations โรคจากรังสีไอออน
diseases caused by nitroglycerin โรคจากสารไนโตรกลีเซอรีนหรือสารประกอบจาก
or other nitric acid esters กรดไนตริกชนิดอื่นๆ
diseases caused by toxic nitro- and โรคจากพิษของสารประกอบไนโตรเจน อนุพันธ
amino –derivatives of benzene or its homologues ของอะมิโนจากเบนซินหรือสารอื่นที่ใกลเคียง
diseases caused by vibration โรคจากแรงสัน่ สะเทือน (ทําใหเกิดความผิดปกติ
(disorders of muscles, tendons, bones, joints, ในเสนเอ็น กระดูก ขอตอ หลอดเลือดรอบนอก
peripheral blood vessels or peripheral nerves) หรือเสนประสาทภายนอก
diseases caused by work in compressed air โรคจากการทํางานในสภาพแวดลอมที่มีความกดอากาศ
dysbarism โรคจากความกดดันอากาศ
halogen and halogenated hydrocarbon toxicity โรคจากฮาโลเจนซึ่งเปนอนุพันธของไฮโลเจน
hearing impairment caused by noise ความบกพรองของการไดยินอันเนื่องจากเสียงดัง
hydrogen sulfide poisoning โรคจากไฮโดรเจนซัลไฟล
ionising radiation sickness โรคจากรังสีแตกตัว

lead or lead compounds poisoning โรคจากสารตะกั่วหรือสารประกอบของตะกั่ว


manganese or manganese compounds โรคจากแมงกานิสหรือสารประกอบของแมงกานิส
poisoning
mercury or mercury compounds poisoning โรคจากปรอท หรือสารประกอบของปรอท
mesotheliomas เนื้องอกเซลลบุผิวของเยื่อหุม ปอด
หรือเยื่อบุชอ งทอง
nickel or nickel compounds toxicity โรคจากนิกเกิลหรือสารประกอบนิกเกิล
nitrogen oxide or nitric acid poisoning โรคจากไนโตรเจนออกไซดกรดไนตริค
noise induced hearing loss โรคจากเสียง
nonfatal case without lost workdays เจ็บปวยไมรายแรงโดยไมตองหยุดงาน
non-ionising radiation sickness โรคจากรังสีไมแตกตัว
noxious substance สารพิษ
occupational contact dermatitis โรคผิวหนังจากการทํางาน
occupational disease caused by cold โรคจากความเย็น
occupational diseases caused by dusts โรคจากฝุน
occupational disease caused by heat โรคจากความรอน
occupational diseases caused by lifting or โรคจากการยกหรือเคลื่อนยายของหนัก
moving heavy objects
occupational diseases caused by lighting or โรคจากแสงหรือคลื่นแมเหล็ก-ไฟฟาอื่น
magnetic fields-electricity
occupational illness caused by ergonomics อาการเจ็บปวยจากทาทางการทํางาน
occupational infectious diseases โรค ติดเชื้อจากการทํางาน
occupational vibration โรคจากความสั่นสะเทือน
other chemical or chemical compounds โรคจากสารเคมีอื่น
poisoning หรือสารประกอบของสารเคมีอื่น
other diseases according to condition โรคอื่นๆซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงาน
of work หรือเนื่องจากการทํางาน
pesticide poisoning โรคจากสารกําจัดศัตรูพืช
phosphorus or phosphorus compounds poisoning โรคจากฟอสฟอรัสหรือสารประกอบฟอสฟอรัส

pneumoconiosis โรคปอดที่มีฝุนเขาไปจับที่ปอดจํานวนมากผิดปกติ
poisoning (systemic effects of toxic materials) การสัมผัสสารพิษ
primary epitheliomatous cancer มะเร็งเซลลบุผิวขั้นตน
skin diseases caused by physical, chemical โรคผิวหนังจากการสัมผัสสารทางกายภาพเคมี และชีวภาพ
or biological agents not included under
other items
sulfur dioxide or sulfuric acid poisoning โรคจากซัลเฟอรไดออกไซดหรือ กรดซัลเฟอรไดออกไซด
zinc or zinc compounds toxicity โรคจากสังกะสี หรือสารประกอบของสังกะสี
แบบฟอรมประเภทตางๆ ของกองทุนเงินทดแทน

1. แบบแสดงเงินคาจางประจําป (กท. 20 ก)
Form 20A : Employer Declaration of Total Number of Employees and Total wages
Annual)
2. ใบแจงเงินคาจางและเงินสมทบประจํางวด (กท. 20ข)
Form 20B : Employer Declaration of Total Number of Employees and Total Wages
(Quarterly)
3. ใบแจงหนี้เงินฝาก (กท.23)
Form 23 : Requirement for Deposit by Employer who Pays Quarterly
4. ใบแจงเงินสมทบจากการตรวจบัญชีประจําป (กท. 25ก)
Form 25A : Employer Contribution
5. ใบแจงเงินสมทบจากรายงานคาจางประจําป (กท. 25ก)
Form 25C : Employer Annual Contribution after Adjustment
6. หนังสือแจงการประเมินเงินสมทบกองทุนเงินทดแทน ประจําป (กท. 26ก)
Form 26A : Employer Annual Contributions Assessment
7. ใบแจงเงินสมทบประจํางวด (กท.26ข)
Form 26B : Employer Quarterly Contributions
8. แบบแจงการประสบอันตรายหรือเจ็บปวยและคํารองขอรับเงินทดแทน (กท.16)
Form 16 : Occupational Injury Notification from employer and injured employee
and Claim form
9. ใบสงตัวลูกจางเขารับการรักษาพยาบาล (กท. 44)
Form 44 : Employee’s refer form when treated at WCF contracted hospital
10. คาขอรับเงินทดแทนที่ไดทดรองจายคืน
Employer request for reimbursement of medical expenses paid for employee
11. หนังสืออุทธรณ
Request for appeal

สายงานตางๆ ในสํานักงานประกันสังคม
ลําดับ ชื่อตําแหนงภาษาไทย ชื่อตําแหนงภาษาอังกฤษ
1 เลขาธิการ Secretary-General
2 ที่ปรึกษาดานประสิทธิภาพ Adviser on Efficiency
3 รองเลขาธิการ Deputy Secretary-General
4 ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานประกันสังคม Expert on Social Security
5 ผูอํานวยการกอง/ศูนย Director
6 เลขานุการกรม Secretary to the Office
7 หัวหนาหนวยตรวจสอบภายใน Director of the Internal Audit Unit
8 ผูอํานวยการเขตพื้นที่ Director, SSO Area Office
9 ประกันสังคมจังหวัด Director, Provincial Social Security Office
10 นักบริหาร Executives
11 เจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน Plan and Policy Analyst
12 นักวิชาการประกันสังคม Social Security Technical Officer
13 เจาพนักงานประกันสังคม Social Security Officer
14 เจาหนาที่ประกันสังคม Assistant Social Security Officer
15 นักวิชาการเงินและบัญชี Finance and Accounting Technical Officer
16 เจาพนักงานการเงินและบัญชี Finance and Accounting Officer
17 เจาหนาที่การเงินและบัญชี Assistant Finance and Accounting Officer
18 นิติกร Legal Officer
19 บุคลากร Personnel Officer
20 นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล Personnel Resource Development Officer
21 นักวิชาการสถิติ Statistical Technical Officer
22 เจาพนักงานสถิติ Statistical Officer
23 เจาหนาที่วิเทศสัมพันธ Foreign Relations Officer

ลําดับ ชื่อตําแหนงภาษาไทย ชื่อตําแหนงภาษาอังกฤษ


24 นักประชาสัมพันธ Public Relations Officer
25 เจาหนาที่ประชาสัมพันธ Assistant Public Relations Officer
26 เจาพนักงานโสตทัศนูปกรณ Audio-Visual Officer
27 เจาพนักงานเผยแพร Dissemination Officer
28 เจาหนาที่ตรวจสอบภายใน Internal Auditor
29 นักวิชาการคอมพิวเตอร Computer System Technical Officer
30 เจาหนาที่เครื่องคอมพิวเตอร Computer System Officer
31 เจาหนาที่บริหารงานประกันสังคม Social Security Administrative Officer
32 เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป General Administration Officer
33 เจาหนาที่บริหารงานธุรการ General Service Administrative Officer
34 เจาพนักงานธุรการ General Service Officer
35 เจาหนาที่ธุรการ Assistant General Service Officer
36 เจาหนาที่บันทึกขอมูล Data Entry Officer
37 นายแพทย Physician
38 พยาบาลวิชาชีพ Registered Nurse
39 ผูชวยพยาบาล Assistant Nurse
40 นักกายภาพบําบัด Physiotherapist
41 ผูชวยกายภาพบําบัด Assistant Physiotherapist
42 นักอาชีวบําบัด Occupational Therapist
43 ผูชวยอาชีวบําบัด Assistant Occupational Therapist
44 ชางกายอุปกรณ Prosthesist Orthotist
45 ผูชวยกายอุปกรณ Assistant Prosthesist Orthotist
46 เจาหนาที่บริหารงานฝกอาชีพ Vocational Training Administrative Officer
47 นักวิชาการฝกอาชีพ Vocational Training Technical Officer

ลําดับ ชื่อตําแหนงภาษาไทย ชื่อตําแหนงภาษาอังกฤษ


48 เจาพนักงานฝกอาชีพ Vocational Training Officer
49 ผูชวยครูฝก Assistant Trainer
50 นักจิตวิทยา Psychologist
51 นักสังคมสงเคราะห Social Worker
52 นักวิชาการพัสดุ Supply Technical Officer
53 เจาพนักงานพัสดุ Supply Officer
54 บรรณารักษ Librarian
55 เจาหนาที่หองสมุด Assistant Library Service Officer
60 เจาหนาที่รับโทรศัพท Operator
56 ชาง Mechanic / Maker
57 นายชาง Mechanician / Technician
58 ชางพิมพ Printer / Pressman
59 นายชางภาพ Photographer
61 พนักงานขับรถยนต Driver
62 คนงาน Workers
หนวยงานในสํานักงานประกันสังคม และเขตพื้นที่ 1-10

1. สํานักงานเลขานุการกรม 10. กองคลัง


Office of the Secretary Finance Division

2. กองทะเบียนและประมวลผล 11. กองตรวจสอบ


Data Processing Division Inspection Division

3. สํานักบริหารการลงทุน 12. ศูนยสารนิเทศ


Office of Investment Management Information Centre

4. กองเงินสมทบ 13. กองแผนงานและสารสนเทศ


Contributions Division Planning and Technical Information Division

5. กองการเงินและบัญชีกองทุน 14. ศูนยฟนฟูสมรรถภาพคนงานประจําภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


Finance and Accounting Division Industrial Rehabilitation Centre (Northeastern Region)

6. หนวยตรวจสอบภายใน 15. สํานักงานกองทุนเงินทดแทน


Internal Audit Unit Office of Workmen's Compensation Fund

7. กองฝกอบรม 16. กองการเจาหนาที่


Training Division Personnel Division
8. กองวิจยั และพัฒนา 17. สํานักงานประกันสังคมเขตพื้นที่ 1
Research and Development Division Social Security Office Area 1

9. กองประสานการแพทยและฟนฟูสมรรถภาพ 18. สํานักงานประกันสังคมเขตพื้นที่ 2


Medical Coordination and Rehabilitation Division Social Security Office Area 2

19 สํานักงานประกันสังคมเขตพื้นที่ 3 26. สํานักงานประกันสังคมเขตพื้นที่ 10


Social Security Office Area 3 Social Security Office Area 10

20. สํานักงานประกันสังคมเขตพื้นที่ 4 27. ศูนยฟน ฟูสมรรถภาพคนงานประจําภาคตะวันออก


Social Security Office Area 4 Industrial Rehabilitation Centre (East Region)

21. สํานักงานประกันสังคมเขตพื้นที่ 5 28. ศูนยฟน ฟูสมรรถภาพคนงานจังหวัดปทุมธานี


Social Security Office Area 5 Industrial Rehabilitation Centre (Pathum Thani)

22. สํานักงานประกันสังคมเขตพื้นที่ 6 29. สํานักงานสงเสริมประสิทธิภาพในสํานักงานประกันสังคม


Social Security Office Area 6 Office of the SSO'S Performance Improvement

23. สํานักงานประกันสังคมเขตพื้นที่ 7 30. กองประโยชนทดแทน


Social Security Office Area 7 Benefits Division

24. สํานักงานประกันสังคมเขตพื้นที่ 8 31. ศูนยฟน ฟูสมรรถภาพคนงาน จังหวัดเชียงใหม


Social Security Office Area 8 Industrial Rehabilitation Centre (Chiang Mai)

25. สํานักงานประกันสังคมเขตพื้นที่ 9 32. กองนิติการ


Social Security Office Area 9 Legal Affairs Division
บรรณานุกรม
International Labour Office Geneva. Report on Unemployment and Employment
Insurance: Policy, Legal and Administrative Considerations Relevant to
Social Insurance Cash Benefits, Employment Services, Job Training and
Labour Protection.
International Labour Office Geneva. Report to the Government on the Planning of
Social Security and Initial Implementation, Part I : Main Policy Issues and
Technical Problems, THA/89/013 (I), 1991.
International Labour Office Geneva. Report to the Government on the Planning of
Social Security and Initial Implementation, Part II : Technical Reports on
Computerisation and Health Insurance, THA/89/013(II),1991.
International Labour Office Geneva. Report to the Government on Social Security
Implementation and Development, Part I : Main Policy Issues and
Technical Problems, THA/90/014(I),1993.
International Labour Office Geneva. Report to the Government on Social Security
Implementation and Development, Part II : Technical Reports on
Operational Systems, Introduction of Individual Choice of Hospital,
Proposals for Amendment of the Social Security Act, Long Term
Information System Plan, THA/90/014(II), 1993.
International Labour Office Geneva. Thailand Pensions and Family Benefits,
Bangkok, 1995.
International Labour Office Geneva. Thailand Review of the Social Security Scheme,
Part I : Summary and Recommendations, ILO/TF/Thailand/R.36(I), 1998.
International Labour Office Geneva. Thailand Review of the Social Security Scheme,
Part III : Report on the Actuarial Valuation of Short-Term Benefits,
ILO/TF/Thailand/R.36(III), 1998.
International Labour Office Sub-regional Office for East Asia. Technical Note on the
Extension of Social Security to the Informal Economy in Thailand,
Bangkok, 2004.
ISSA. Social Security Programs throughout the World : Europe 2006, 2006.
Mike Whitelaw. Considerations for the Extension of Social Security in Thailand,
Bangkok, 2000.
Ministry of Labour and Social Welfare. Thailand Workmen’s Compensation Fund.
Monica M Burns, Social Security Policy Consultant. Thailand Extension of Social
Protection for the Formal and Informal Sectors, January, 2002.
Social Security Office. Social Security Act B.E. 2533 (1990) Amended by Social
Security Act (No.2) B.E. 2537(1994) and Social Security Act (No.3)
B.E.2542 (1999), December, 2001.
Social Security Office. Workmen’s Compensation Act B.E. 2537 (1994), August,
2007.
Suguru Mizunoya. Thailand Social Priority and Needs Survey, Bangkok, 2004.
World Bank. Averting the Old Age Crisis Policies to Protect the Old and Promote
Growth, 1994.

You might also like