You are on page 1of 46

Highlight

เตรียมตัวเกษียณในมุมมองการเงิน พิจารณาอะไรบ้าง
ex. ข้าราชการ, ธุรกิจส่วนตัว, ลูกจ้างเอกชน
การจัดการเรื่องลงทุน ex. เกษียณแล้ว, 5 ปี ก่อนเกษียณ
การจัดการ RMF หลังอายุ 55ปี
การบริหารเรื่องสุขภาพ / ความเสี่ยงด้วยเครื่องมือการเงิน
การจัดการทรัพย์สิน ex. มรดก / ภาษี
สรุปก่อนเกษียณต้องเตรียมอะไร
คนไทยที่อายุมากกว่า 100 ปีขึ้นไป
มีจำนวน 36,845 คน
เพิ่มขึ้นปีละ 10,000 คน
อาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ มากที่สุดกว่า 6,570

เคล็ดลับอายุยืน
การรับประทานอาหารที่ทำเอง
การออกกำลังกายเบา เช่น งานบ้าน ปลุกผัก
อารมณ์ดี ใจเย็น ไม่เครียด มองโลกในแง่ดี
ดูแลอนามัย เช่น งดสุรา ดูแลช่องปากอย่างดี การขับถ่าย​
มีงานอดิเรก หรือกิจกรรมส่วนรวม
การวางแผนการเงิน
สำหรับการเกษียณ
การวางแผนการเงินสำหรับการเกษียณ
1. ประมาณค่าใช้จ่ายหลังเกษียณตาม Lifestyle
2. สำรวจแหล่งรายได้เพื่อใช้หลังเกษียณ
3. ประเมินสถานะการเงินขั้นต้น (รายได้ - ค่าใช้จ่าย)
4. จัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพ
5. วางแผนส่งต่อทรัพย์สิน
6. ติดตามและตรวจสอบแผนเกษียณอยู่สม่ำเสมอ

Source: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ความเสี่ยงที่ต้องพิจารณาก่อนจัดสรรเงินหลังเกษียณ
ความเสี่ยงอายุยืน

ตลาดผันผวน รายได้และภาษี

ลำดับของผลตอบแทน อัตราเงินเฟ้อ
สำรวจแหล่งเงินทุน /
สิทธิสวัสดิการหลังเกษียณแต่ละกลุ่มอาชีพ

รับราชการ พนักงานเอกชน อาชีพอิสระ

เงินบำเหน็จ / บำนาญจาก
เงินออมสะสมจากกองทุน
เงินบำเหน็จ / บำนาญ ประกันสังคม
การออมแห่งชาติ
แหล่งเงินออม/รายได้ จากกรมบัญชีกลาง เงินออมสะสมจากกองทุน
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ
เงินออมสะสม จาก กบข. สำรองเลี้ยงชีพ
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ
Longevity risk (ความเสี่ยงอายุยืน)
การจัดการเรื่องลงทุน
Market Volatility & Sequence of Return risk
(ความเสี่ยงตลาดผันผวนและลำดับของผลตอบแทน)
(3+1 b
Time-segmentation withdrawal strategy ucket
strate
gy)
ช่วยแก้ปัญหา Sequence of return risk
การจัดการเงินสะสมหลังอายุ 55ปี

เงินได้หลังเกษียณ เงินได้หลังเกษียณ
ที่ไม่ต้องเสียภาษี ที่ต้องเสียภาษี

เงินคืนจากประกันบำนาญ ปันผล / ดอกเบี้ย


กำไรจากการขายหุ้น ค่าเช่า
เงินบำเหน็จ/บำนาญชราภาพ เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ
เงินจากกองทุนประกันสังคม เงินบำนาญข้าราชการ
การคำนวณภาษีเงินได้ที่ จ่ายครั้งเดียว
เนื่องจากออกจากงาน
เงินก้อนพิเศษที่ได้รับยกเว้นภาษี
เงินที่ได้รับสิทธิยกเว้นภาษี เงื่อนไขในการยกเว้น

เงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน สูงสุดไม่เกิน 300,000 บาท

เงินช่วยเหลือผู้ที่ออกจากราชการ ไม่จำกัด

ไม่เกิน 15 เท่าของบำนาญรายเดือน
เงินบำเหน็จดำรงชีพ
และไม่เกิน 200,000 บาท

เสียชีวิต ทุพพลภาพ เกษียณอายุ


เงินผลประโยชน์ที่ได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
หรือคงเงินผลประโยชน์
3 ทางเลือกจัดการ
กบข. RMF และ PVD หลังอายุ 55 ปี
3 ทางเลือก จัดการ กบข., RMF และ PVD หลังอายุ 55 ปี

ออมต่อทั้งจำนวน ทยอยถอนเงินเป็นงวด ถอนเงินทั้งจำนวน

รับเงินก้อนทั้งจำนวน
จุดประสงค์ ไม่จำเป็นต้องใช้เงิน ต้องการใช้เงินจากกองทุนบางส่วน
มาบริหาร

เงินในกองทุนยังได้รับการบริหาร
เงินในกองทุนยังได้รับ มีอิสระในการจัดการ ทรัพย์สิน
ประโยชน์ โดยผู้เชี่ยวชาญ
การบริหารโดยผู้เชี่ยวชาญ ด้วยตัวเอง
ช่วยสร้างวินัยการถอน / ใช้จ่าย

ต้องแบ่งเวลามาจัดการ
ข้อสังเกตุ มีค่าบริการคงเงินรายปี มีค่าบริการการรับเงินเป็นรายงวด ทรัพย์สินทั้งการออม
และการลงทุนเอง
เงินสะสม กบข.
เงินสะสม กบข.
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (PVD) กับภาษี (ที่อาจ) ต้องจัดการ
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (PVD) กับภาษี (ที่อาจ) ต้องจัดการ
ใครบ้างมีสิทธิ์ได้รับ "เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 2566"
มีสัญชาติไทย
มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มีอายุ 60 ปี บริบูรณ์ขึ้นไป ซึ่งได้ยืนยันสิทธิขอรับเงิน เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้ที่ได้รับสิทธิประโยชน์จากหน่วยงานรัฐ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ได้แก่ เงินบำนาญ เบี้ยหวัด จะไม่ได้สิทธิ์
ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 59 ปีบริบูรณ์สามารถไปลงทะเบียนรับเบี้ยยังชีพล่วงหน้าได้ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค.
ของปีนั้น และเมื่ออายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ในปีถัดไป ก็จะได้รับเบี้ยผู้สูงอายุตั้งแต่เดือน ต.ค. ในปีนั้น ๆ
ภาครัฐจะโอนเงินให้ทุกวันที่ 10 ของทุกเดือน หากเดือนใดวันที่ 10 ตรงกับวันหยุดราชการจะจ่ายให้
ในวันทำการก่อนวันหยุดนั้น และเป็นการจ่ายรายเดือนแบบขั้นบันได
อัตราเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ

อายุ 60-69 ปี ได้รับ 600 บาท (ปีละ 7,200 บาท)


อายุ 70-79 ปี ได้รับ 700 บาท (ปีละ 8,400 บาท)
อายุ 80-89 ปี ได้รับ 800 บาท (ปีละ 9,600 บาท)
อายุ 90 ปีขึ้นไป ได้รับ 1,000 บาท (ปีละ 12,000 บาท)
ทำไมต้องมาวางแผนการเงิน
เพื่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ?​
ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามสังคมผู้สูงอายุ​
ประมาณการณ์ค่ารักษาโรคทั่วไปและโรคร้ายแรง​

Source: TISCO Wealth Advisory​


สวัสดิการค่ารักษาพยาบาลของแต่ละกลุ่มอาชีพ
รับราชการ พนักงานเอกชน อาชีพอิสระ

สวัสดิการข้าราชการ สวัสดิการบริษัท
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (บัตรทอง)
มีสิทธิรับค่ารักษาพยาบาลทั้งตนเอง ประกันสังคมมาตรา 33
ประกันสังคมมาตรา 40 คุ้มครอง
บิดา มารดา คู่สมรส และบุตร คุ้มครอง 7 กรณี คือ
5 กรณี คือ
โดยค่ารักษาพยาบาลได้แก่ -ประสบอันตราย/ เจ็บป่วย
-ประสบอันตราย/ เจ็บป่วย
-ค่ายา -คลอดบุตร
-ทุพพลภาพ
-ค่าอวัยวะเทียม -ทุพพลภาพ
-เสียชีวิต
-บริการทางการแพทย์ -เสียชีวิต
-ชราภาพ
-ค่าห้อง ค่าอาหาร -สงเคราะห์บุตร
-สงเคราะห์บุตร
-ตรวจสุขภาพประจำปี -ชราภาพ
-ว่างงาน

***หมายเหตุ: ประกันสังคม ม. 39 ต้องเคยเป็นผู้ประกันตน ม. 33 ซึ่งส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน และลาออกจากงานมาแล้วไม่เกิน 6 เดือน


นับแต่วันที่ออกจากงาน โดยความคุ้มครองเหมือน ม. 33 แต่ยกเว้นกรณีว่างงานที่ไม่คุ้มครอง
Source: สำนักงานประกันสังคม, สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, กรมบัญชีกลาง
สวัสดิการค่ารักษาพยาบาลของแต่ละกลุ่มอาชีพ

Source: สำนักงานประกันสังคม, สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ


เปรียบเทียบ ข้อดี - ข้อเสีย ของแต่ละทางเลือก
บัตรทอง ประกันสังคม

ข้อดี

ข้อเสีย
เลือกประกันสุขภาพอย่างไรดี ?
พิจารณาค่าเบี้ยประกันที่เหมาะสม
เบี้ยประกันจะเพิ่มขึ้นตามช่วงอายุ โดยการชำระเบี้ยรายปี จะประหยัดกว่าการชำระเบี้ยรายเดือน
รวมถึงพิจารณาค่าเบี้ยประกันสุขภาพหลังเกษียณด้วย​

อาจเลือกประกันแบบเหมาจ่าย
ที่ครอบคลุมวงเงินความคุ้มครองค่าห้อง ค่ารักษาพยาบาล ค่ายา ทั้งผู้ป่วยใน (IPD)
และผู้ป่วยนอก (OPD) สามารถเคลมง่าย รวมถึงแผนความคุ้มครองไม่ซับซ้อน​

ความมั่นคงทางการเงินของบริษัทประกัน​
มีประกันสุขภาพแล้ว ประกันโรคร้ายแรงจำเป็นไหม
ประกันสุขภาพ คุ้มครองค่ารักษาพยาบาลหากเจ็บป่วยตามค่าใช้จ่าย
ที่เกิดขึ้นจริง ไม่เกินวงเงินที่กำหนด
ขณะที่ประกันโรคร้ายแรง คุ้มครองค่าใช้จ่ายเป็นเงินก้อน มีทั้งแบบที่คุ้มครอ’
ทุกโรคร้ายแบ่งจ่ายตามโรคร้ายหรือคุ้มครองเฉพาะโรคใดโรคหนึ่ง
จึงต้องมีประกันโรคร้ายแรงควบคู่กับประกันสุขภาพ เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย
ระหว่างการรักษาในส่วนที่ประกันสุขภาพอาจไม่ครอบคลุม รวมถึงนำไปใช้
สำหรับปรับคุณภาพชีวิตด้วย
เลือกประกันโรคร้ายแรงอย่างไรดี

ควรซื้อแบบประกันที่มี ความคุ้มครองตั้งแต่ระยะแรกและทุกระยะ ในจำนวนที่สูง​

ให้คุ้มครองหลายกลุ่มโรค​
ไม่มีระยะเวลารอคอยระหว่างกลุ่มโรค​

มีการจ่ายเคลมประกันเป็นเงินก้อน เพื่อไว้ใช้สำหรับปรับคุณภาพชีวิต
หรือนำไปรักษาในส่วนที่ประกันสุขภาพอาจไม่ครอบคลุม​
ถ้าไม่มีพินัยกรรม แบ่งมรดกกันยังไง ?
การจัดการทรัพย์สินทำพินัยกรรม
การจัดการทรัพย์สินทำพินัยกรรม
ภาษีการให้ (Gift Tax)

การให้อสังหาริมทรัพย์
การให้อสังหาริมทรัพย์ โดยบุพการี ผู้สืบสันดานหรือคู่สมรส
โดยบุพการี ผู้สืบสันดานหรือคู่สมรส
(ไม่รวมบุตรบุญธรรม)
ภาษี 5%
5%
จากส่วนที่เกิน 20 ล้านบาทต่อปี

ภาษี จากผู้อื่น

5%
จากส่วนที่เกิน 20 ล้านบาทต่อปี
ภาษี
จากส่วนที่เกิน 10 ล้านบาทต่อปี
การจัดการทรัพย์สินทำพินัยกรรม
ความแตกต่างระหว่าง พินัยกรรม vs ประกันชีวิต
สรุปก่อนเกษียณเตรียมอะไรบ้าง ?
1. สุขภาพร่างกายและจิตใจ
2. การเงินและทรัพย์สิน : ทำงบประมาณ (รายรับ-รายจ่าย) / ทำพินัยกรรม
3. บ้านที่อยู่อาศัย
4. เรื่องงานอาชีพ และงานอดิเรกภายหลังเกษียณ
TISCO My Wealth

Scan QR ดาวน์ โหลด


Ad d L in e!
อัปเดตข่าวสาร
ครบทุกการวางแผนการเงิน

@TISCOAdvisory
THE
ADVVISOR
WISE • WEALTH • Well-Being by TISCOBANK

ทุกวันอังคาร เวลา 20:00 น.


TISCO Advisory

จับประเด็นร้อน | เจาะประเด็นลึก | ครอบคลุมทั้งสัปดาห์


เทคนิคการเลือกประกันแบบมืออาชีพ

และเคล็ดลับสุขภาพจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

You might also like