You are on page 1of 29

รายงานผลการดําเนินงาน

เรื่อง
ศึกษาระบบการผลิตการเกษตรในเขตชลประทาน
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอย
จังหวัดอุบลราชธานี

โดย
นายดํารง อินศร
สํานักงานเกษตรจังหวัดอุบลราชธานี
กรมสงเสริมการเกษตร
พ.ศ. 2550

รายงานผลการดําเนินงานนี้
เปนเอกสารประกอบการประเมินบุคคลเพื่อแตงตั้งใหดํารงตําแหนง
นักวิชาการสงเสริมการเกษตร 8ว ตําแหนงเลขที่ 10933 กลุม สงเสริมและพัฒนาการผลิต
สังกัด สํานักงานเกษตรจังหวัดอุบลราชธานี
กรมสงเสริมการเกษตร
คํานํา

การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาระบบการผลิตการเกษตรในเขตชลประทานโครงการสงน้ํา
และบํารุงรักษาโดมนอย จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งขาพเจาและคณะไดทําการศึกษาระบบการผลิต
การเกษตรในเขตชลประทานโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอย เปนการศึกษาสภาพการผลิต
การเกษตรทั้งทางดานพืช สัตว ประมง รวมทั้งการผลิตการเกษตรทั้งในรูปแบบการผลิตเชิงเดี่ยว
และแบบผสมผสาน

การศึกษานี้สามารถนําไปใชเปนขอมูลประกอบการวางแผนพัฒนาและสงเสริมการเกษตร
ในเขตชลประทานโดมนอย ของจังหวัดอุบลราชธานีไดอยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลได
ในอนาคต ขอขอบคุณคณะที่รวมการศึกษา คุณวิจิตร รินทระ คุณธรรมนูญ บุญไกรสร คูณกร
วิภา กลางเคื่อม คุณฉลาด นันทโพธิเดช คุณอาคม จงอริยตระกูล และคุณโสพิศ ปญญาบุตร
ที่ใหความอนุเคราะหใหการศึกษานี้บรรลุผลสําเร็จเปนผลงานในการประเมินบุคคลเพื่อเลื่อนและ
แตงตั้งใหดํารงตําแหนงสูงขึ้น

ดํารง อินศร
กรกฎาคม 2550
สารบัญ

เรื่อง หนา
ศึกษาระบบการผลิตการเกษตรในเขตชลประทานโครงการสงน้ําและบํารุงรักษา
ลําโดมนอย จังหวัดอุบลราชธานี
ความรูท างวิชาการหรือแนวความคิดที่ใชในการดําเนินการ 1
แนวความคิดเชิงระบบ 1
การประเมินสภาวะชนบทอยางเรงดวน 3
การชลประทาน 8
นโยบายการพัฒนาการเกษตรในเขตชลประทานของกรมสงเสริมการเกษตร 9
ความเปนมาของโครงการชลประทานลําโดมนอย 9
ผลงานวิจยั ที่เกี่ยวของ 10
สาระและขั้นตอนการดําเนินงาน 12
หลักการและเหตุผล 12
วัตถุประสงค 13
เปาหมาย 13
ขั้นตอนการดําเนินงาน 13
ความยุงยากในการดําเนินการ 16
ระยะเวลาดําเนินการ 17
ผลสําเร็จของงาน 17
ผลสําเร็จเชิงปริมาณ 17
ผลสําเร็จเชิงคุณภาพ 19
การนําไปใชประโยชน 19
ปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะ 19
ผูรวมดําเนินการ 20
สวนของงานที่ผูเสนอเปนผูปฏิบัติ 21
เอกสารอางอิง 22
ชื่อผลงาน ศึกษาระบบการผลิตการเกษตรในเขตชลประทานโครงการสงน้าํ และบํารุงรักษา
โดมนอย จังหวัดอุบลราชธานี

ความรูทางวิชาการหรือแนวคิดที่ใชในการดําเนินการ
ในการศึกษาระบบการผลิตการเกษตรในเขตชลประทานโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอย
ผูศึกษาไดศึกษาเอกสาร บทความ รายงานการวิจัยเปนการคนควาเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ
ที่เกี่ยวของ นําขอมูลที่ไดศึกษาคนควาเพื่อใชเปนแนวทางในการดําเนินงาน จัดลําดับเนื้อหาดังนี้
1. แนวความคิดเชิงระบบ
มนุษยเปนสัตวสังคมดํารงชีวิตอยูในโลกไดดวยการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมบนโลกใหเปนประโยชนตอมนุษยและสังคมมนุษย มนุษยและสิ่งแวดลอมจึงมีปฏิสัมพันธ
(Interaction) และมีอิทธิพลซึ่งกันและกัน ดวยพฤติกรรมตางๆของมนุษยที่เกิดขึ้นเพื่อการดํารงชีวิต
ทําใหเกิดความเกี่ยวของระหวางสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสังคมมนุษย พฤติกรรมของมนุษย
บางสวนมีผลสืบเนื่องมาจากสิ่งแวดลอม เมื่อสภาพแวดลอมเปลี่ยนแปลงไปจึงสงผลใหพฤติกรรมของ
มนุษยเปลี่ยนแปลงตามไปดวย ในทางตรงกันขามพฤติกรรมของมนุษยก็มีผลตอสภาพแวดลอมดวย
เชนกัน พฤติกรรมบางอยางของมนุษยทําใหสภาพแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติเปลี่ยนแปลงไป
Rambo and Sajise (1984) ไดกลาวถึงความสัมพันธระหวางมนุษย (Human) และโลกธรรมชาติ
(Natural World) ที่มนุษยอาศัยอยูวามีความสัมพันธกัน โดยไดกลาวถึงความสัมพันธระหวางระบบ
(System) ที่สําคัญสองระบบไดแก ระบบสังคมมนุษย (Human Social System) และระบบนิเวศวิทยา
(Ecological System)
“ระบบ” ตามความหมายของ Rambo and Sajise (1984) หมายถึงองคประกอบตั้งแต
สององคประกอบขึ้นไปที่มีความสัมพันธ (Relation) มีปฏิสัมพันธ (Interaction) และมีอิทธิพลซึ่งกันและ
กั น ถ า องค ป ระกอบใดองค ป ระกอบหนึ่ ง เปลี่ ย นแปลงไปจะมี ผ ลกระทบต อ องค ป ระกอบอื่ น ๆ
ด ว ยองค ป ระกอบของมนุ ษ ย ป ระกอบด ว ยองค ป ระกอบสํ า คั ญ 4 องค ป ระกอบ ได แ ก ป ระชากร
(Population)เทคโนโลยี(Technology) โครงสรางทางสังคมและองคกร (Organization) และอุดมการณ
(Ideology) สวนระบบนิเวศวิทยา (Ecological System) ประกอบดวยองคประกอบที่สําคัญไดแก ดิน
น้ํ า พื ช สั ต ว ภู มิ อ ากาศ องค ป ระกอบเหล า นี้ ป ระกอบกั น เข า เป น ระบบ แต ล ะองค ป ระกอบต า งมี
ความสัมพันธซึ่งกันและกัน ทั้งภายในและระหวางระบบ ตัวอยางเชน ภูมิอากาศมีผลตอการเจริญเติบโต
ของพืช ในทางตรงกันขามพืชก็ทําใหภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไปได เปนตนวา ตนไมมีสวนทําใหความเร็ว
ของกระแสลมลดลงและเพิ่มความชื้นสัมพัทธในอากาศใหสูงขึ้น ความสัมพันธระหวางระบบแสดงให
เห็นไดโดยการไหลของพลังงาน (Energy) วัตถุ (Material) และขอมูลขาวสาร (Information) ซึ่งเกิดขึ้น
2

ทั้งภายในระบบและระหวางระบบ ระบบสังคมมนุษยกับระบบนิเวศวิทยา การไหลดังกลาวมีทั้งใน


ลักษณะหมุนเวียนและไมหมุนเวียน เชน วัวควาย กินหญาเปนอาหาร หลังจากนั้นจะถายมูลลงไปในดิน
กลายเปนปุยใหพืชนําไปใชเพื่อการเจริญเติบโต ระบบนี้จะมีการไหลของพลังงานและวัตถุในลักษณะ
หมุนเวียน สวนในการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจบางชนิดเชนมันสําปะหลัง เกษตรกรผูทําการเพาะปลูกตอง
ใชพลังงานเพื่อการเพาะปลูกทั้งแรงงานตนเอง พลังงานจากเชื้อเพลิง และมันสําปะหลังก็ตองใชพลังงาน
แสงแดดจากดวงอาทิตย ใชวัสดุไดแกน้ําและแรธาตุจากดินเพื่อการเจริญเติบโตจนใหผลผลิตกลับมาสู
มนุษยผูปลูกไดเก็บเกี่ยว ผลผลิตหัวมันสําปะหลังจะถูกเคลื่อนยายจากไรนาไปจําหนายยังตลาดทองถิ่น
และในที่สุดจะถูกเคลื่อนยายไปยังตลาดตางประเทศ การไหลลักษณะนี้เปนการไหลแบบไมหมุนเวียน
นอกจากนี้ ระบบยังมีความสัมพันธกันทั้งในแนวนอน (Horizontal) และแนวตั้ง (Vertical)
กลาวคือมีความสัมพันธกับระบบขางเคียงที่เทาเทียมกัน และมีความสัมพันธกับระบบที่มีขนาดเล็กกวา
หรือใหญกวาระบบเหลานี้ บางครั้งอาจมีการรวมตัวกันเปนเครือขาย โดยระบบเล็กอาจรวมตัวกันเปน
สว นหนึ่ง ของระบบใหญ เชน ชาวนาปลู ก ขา ว ผลผลิตข า วจากแปลงนาของชาวนาแต ล ะรายจะถู ก
รวบรวมโดยพอคาทองถิ่น นําไปจําหนายแกพอคาในตัวเมือง พอคาโรงสี พอคาขาวสารภายในประเทศ
พอคาปลีกและพอคาสงออก ระบบการทํานาของชาวนาจึงรวมเปนสวนหนึ่งของระบบการคาขาวซึ่ง
ประกอบดวยระบบตางๆหลายระบบ เชน ระบบการรวบรวมและขนสงขาวเปลือกของพอคาทองถิ่น
ระบบการสีขาว ระบบการจําหนายขาวภายในประเทศ ระบบการสงออกขาว เปนตน ความสัมพันธ
ระหว า งระบบสั ง คมมนุ ษ ย กั บ ระบบนิ เ วศวิ ท ยา ที่ เ ห็ น ได ชั ด เจน ได แ ก ร ะบบนิ เ วศเกษตร
(Agroecosystem) ซึ่งเปนระบบความสัมพันธระหวางผูประกอบอาชีพทางดานการเกษตรกับสภาพ
สิ่ง แวดล อม ผู ประกอบอาชี พ การเกษตรไดใชประโยชนจากระบบนิเวศวิ ท ยาไดแก ดิน น้ํ า อากาศ
แสงแดด พันธุพืช พันธุสัตว เพื่อทําใหเกิดผลผลิตทางการเกษตรสําหรับการดํารงชีวิตของผูคน Conway
(1984) อางโดยประสิทธิ์ ประคองศรี และอรรถชัย จินตะเวช (2529) ไดกลาวถึงระบบนิเวศเกษตรวาเปน
โครงสรางของการผลิตพืชและสัตวบนพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งซึ่งประกอบไปดวยสิ่งแวดลอมทางการเกษตร
องคประกอบทางชีวภาพ เศรษฐกิจและสังคม องคประกอบเหลานี้มีความสัมพันธกัน มีปฏิสัมพันธซึ่งกัน
และกัน แลวทําใหเกิดพฤติกรรมและการผลิตทางการเกษตร
ระบบนิเวศเกษตรเปน ”ระบบ” ระบบหนึ่งซึ่งมีลักษณะโครงสรางหนึ่งมีขอบเขตที่แนนอน
ประกอบไปดวยองคประกอบยอยมากมาย แตละองคประกอบมีหนาที่ของตัวเอง มีสัมพันธซึ่งกันและกัน
เกิดเปนผลผลิตของระบบ ระบบจึงมีคุณสมบัติของระบบอยางนอย 4 ประการ ไดแก ระบบจะตองมี
ผลผลิตจากระบบ (Productivity) มีเสถียรภาพ (Stability) มีถาวรภาพหรือความยั่งยืน (Sustainability)
และระบบต อ งมี ค วามยุ ติ ธ รรม (Equitability) นอกจากนั้ น ระบบยั ง ต อ งมี ค วามสามารถในการ
ปรั บ เปลี่ ย นหรื อ การเปลี่ ย นแปลงอย า งใดอย า งหนึ่ ง ภายในระบบ เพื่ อ ให มี ก ารปรั บ ตั ว ตามความ
3

เปลี่ ย นแปลงของสิ่ ง แวดล อ ม(System Dynamic) ดั ง นั้ น ในการวิ เ คราะห ร ะบบนิ เ วศเกษตร
(Agroecosystem Analysis) จึงเปนการพิจารณาระบบเกษตรกรรมตามลําดับชั้นของระบบ (Hierachy)
และคุณสมบัติของระบบที่ทําใหเกิดพฤติกรรมการผลิตทางการเกษตร
ระบบนิเวศเกษตรมีมุมมองเนนหนักไปที่ความสัมพันธระหวางผูทําการเกษตรกับระบบ
นิเวศวิทยา แตความจริงแลวมนุษยทุกคนมีความสัมพันธกับระบบนิเวศวิทยา โดยที่มนุษยจะใชความรู
ความสามารถและเครื่องมืออุปกรณตางๆ ของตนเองเพื่อการประยุกตดัดแปลงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม ใหเกิดประโยชนตอตนเองใหมากที่สุด ความรูความสามารถ วิธีการ ตลอดจนวัสดุอุปกรณ
เหลานี้อาจเรียกวาเทคโนโลยี (Technology) นอกจากการใชประโยชนจากสิ่งแวดลอมแลวมนุษยยัง
สรางระเบียบ กฎเกณฑทางสังคมขึ้นมาควบคุมพฤติกรรมของมนุษยในสังคมใหมีความเปนระเบียบ
เรียบรอย เอื้ออํานวยตอการดํารงชีวิตของมนุษย ทําใหเกิดมีองคกร (Organization) ขึ้นมาเพื่อการ
ควบคุมระเบียบ กฎเกณฑทางสังคม
ระบบสั ง คมมนุ ษ ย และระบบนิ เ วศวิ ท ยาจึ ง มี ค วามเกี่ ย วข อ งสั ม พั น ธ กั น เมื่ อ เกิ ด การ
เปลี่ยนแปลงขององคประกอบใดองคประกอบหนึ่ง จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในระบบและ
ระหวางระบบ เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย เชนประชากรเพิ่มมากขึ้น จะทําใหการใช
ประโยชนจากทรัพยากร สิ่งแวดลอม เพื่อการดํารงชีวิตของมนุษยมีปริมาณที่เพิ่มมากขึ้น การสูญเสีย
ทรัพยากรจะมีอัตราที่สูงขึ้น โดยเฉพาะทรัพยากรที่ยังไมมีเจาของและทุกคนมีสิทธิ์ใช เชน แสงแดด
อากาศ น้ําในแมน้ําลําคลองหนองบึง ที่ดิน และปาไม เมื่อทรัพยากรถูกใชไปมาก จะทําใหปริมาณที่มีอยู
ลดนอยลง เกิดการขาดแคลนเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพไป เชน อากาศเปนพิษ ความเขมของรังสี
อุ ล ตร า ไวโอเลตมากขึ้ น พื้ น ที่ ดิ น มี จํ า นวนจํ า กั ด ดิ น เสื่ อ มความอุ ด มสมบู ร ณ เกิ ด น้ํ า เสี ย ฯลฯ
การเปลี่ยนแปลงดังกลาวขางตนลวนเกิดจากการที่ระบบสังคมมนุษยเปลี่ยนแปลงไป เมื่อทรัพยากร
สิ่งแวดลอมเปลี่ยนแปลงไปดังกลาวจะทําใหสังคมมนุษยเปลี่ยนแปลงไปดวย เชนเมื่อปาไมมีจํานวน
ลดลงจะทําใหมีกฎระเบียบเกี่ยวกับการปองกันรักษาปาไม เมื่อเกิดน้ําเสียจะมีการผลิตเทคนิควิธีการ
บําบัดน้ําเสีย มีกฎระเบียบเกี่ยวกับการปองกันน้ําเสีย หรือเมื่อมนุษยสรางแหลงน้ํา มีน้ําไวใชตลอดป
ทําใหเกิดพฤติกรรมการผลิตพืชหลายครั้งในรอบป
2. การประเมินสภาวะชนบทอยางเรงดวน (Rapid Rural Appraisal : RRA)
สุ เ ธีย ร นามวงศ (ม.ป.ป.) ได ก ลา วถึ ง สาระสํ า คัญ ของการประเมิ น สภาวะชนบทอยา ง
เรงดวน (RAA) ไวดังนี้
หลักการสําคัญของ RRA คือเปนการศึกษาเปนทีมสหวิทยาการ (Inter disciplinary) ที่
เกี่ยวของกับเรื่องที่จะศึกษา การเลือกผูใหสัมภาษณ มีการจัดกลุมผูใหสัมภาษณที่เปนตัวแทนของ
ประเภทกิจกรรม/กลุมคน ที่ตองการศึกษา
4

วิธีการสําคัญของ RRA คือ ใชการวิเคราะหขอมูลมือสอง เพื่อใหไดภาพรวมคราวๆ แลวจึง


พิจารณาวาขาดขอมูลอะไร สงสัยอะไร จึงตั้งประเด็นคําถาม เพื่อเก็บขอมูลในสนาม การเก็บขอมูล
ภาคสนาม ใชการสัมภาษณแบบกึ่งโครงสราง ซึ่งเปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลที่มีประเด็นหัวขอเตรียมไว
ถาม ความรูสึกนึกคิดของผูใหขอมูล ซึ่งผูสัมภาษณจะตองเปนผูที่มีความสามารถในการแตกประเด็น
คําถามที่เจาะลึกในเรื่องที่ตองการทราบ กรณีที่เกิดความสงสัยในขอมูลบางอยาง สามารถใชการสังเกต
ชวยในการเจาะลึกและกลั่นกรองขอมูลได และมีการใชเครื่องมือชวยเชน แผนผัง แผนภูมิ ปฏิทิน เปนตน
ขั้นตอนการดําเนินงาน การประเมินสภาวะชุมชนแบบเรงดวน (RRA) มีขั้นตอนวิธีการ
ดําเนินงาน ดังนี้
1. กําหนดหัวขอ/วัตถุประสงค
2. กําหนดทีมงาน
3. กําหนดกรอบขอมูล
4. รวบรวมขอมูลมือสอง
5. สรุปผลการวิเคราะหขอมูลมือสอง
6. เตรียมออกสัมภาษณชาวบาน
6.1 สรางประเด็นคําถาม
6.2 เลือกพื้นที่
6.3 เลือกผูใหสัมภาษณ
6.4 แบงทีมผูสัมภาษณ
7. กําหนดขอตกลงการเก็บขอมูลลวงหนา
8. สัมภาษณเก็บขอมูลสนาม
8.1 ชุมชน ครัวเรือน
8.2 ประชุมทีมยอย
8.3 ประชุมทีมใหญ
9. ปรับปรุงและสรุปผลการศึกษา นําผลที่ไดไปใช

การวิเคราะหรูปแบบ (Pattern Analysis) วิริยะ ลิมปนันทน และสุเธียร นามวงศ (2537) ไดระบุ


วาการวิเคราะหรูปแบบ (Pattern Analysis) จะเริ่มตนดวยการวิเคราะหรูปแบบเปนการนําขอมูลใน 4
ลักษณะคือ
1. การกระจายตัวในพื้นที่ (Space) เปนการศึ กษาวามี อะไร อยู ที่ไหนเทาไร จัดการ
อยางไรในพื้นที่ที่วิเคราะห เริ่มตั้งแตสภาพทางกายภาพวามีทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรที่คนสราง
ขึ้นอะไรบาง เชน ดิน พืช ปาไม แหลงน้ําธรรมชาติ ไฟฟา ฯลฯ กระจายอยูที่ไหนอยางไร เพราะเหตุใด
5

จึงกระจายอยางนั้น มีการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางไร เพราะเหตุใดสรรพสิ่งเหลานั้นมีความสัมพันธ


ตอกันหรือไมอยางไร เชนชุดดินยอมมีความสัมพันธกับสภาพภูมิประเทศ และชนิดพืชที่ปลูกหากไมเปน
เชนนั้น ขอใหตั้งเปนขอสังเกตลวงหนาวาขอมูลเหลานี้ ควรมีความสัมพันธกับขอมูลอะไรบาง และแตละ
พื้นที่มีความแตกตางกันอยางไร และนาจะมีอะไรแอบแฝงที่เราไมเขาใจ
1.1 ดานชีวภาพ ศึกษาวามีการปลูกพืช เลี้ยงสัตวอะไรบาง เทาไร ปลูกหรือเลี้ยง
ที่ไหน จัดการอยางไร ไดผลผลิตเทาไร เพราะเหตุใดจึงทํากิจกรรมมากนอยที่นั่น ไดผลผลิตระดับเทานั้น
อาจมีสาเหตุมาจากอะไร เชนเลี้ยงโค กระบือมาก อาจสัมพันธกับพื้นที่ปาไม ผลผลิตขาวต่ําอาจสัมพันธ
กับดินเค็ม ปริมาณการใสปุย หรือปริมาณและการกระจายตัวของฝน เปนตน ทั้งนี้จะทําใหเราทราบ
ความสําคัญของกิจกรรม เงื่อนไขหรือขอกําหนดในการทํากิจกรรมของเกษตรกร
1.2 ดานเศรษฐกิจและสังคม ศึกษาวามีรายไดรายจายเทาไร อยางไร แหลงรายได
รายจาย ตลาดผลผลิตอยูไหน ขนบธรรมเนียมประเพณีอะไรบางที่เกี่ยวของกับปญหาหรือสิ่งที่วิเคราะห
กลุมองคกรตางๆ อะไรบาง ที่ไหน ฯลฯ สิ่งตางๆเหลานี้มีความสัมพันธกันอยางไรหรือไม เชนความเชื่อ
ในการใหหญิงมีครรภและหญิงแมลูกออนแสลงอาหารโปรตีนบางประเภท มีความสัมพันธกับปริมาณ
เด็กเจ็บปวยหรือเด็กขาดสารอาหารเพิ่มมากขึ้นเปนตน
อนึ่งบางปญหาหรือบางสิ่งอาจไมสามารถที่จะบอกไดโดยตรงจากขอมูล แตอาจใช
ข อ มู ล บางอย า งที่ มี อ ยู เ ป น ตั ว บ ง ชี้ ป ญ หา และความเป น อยู ข องเกษตรกรได เช น อั ต ราคนเป น โรค
ในหมูบานตางๆ อาจบงชี้ปญหาสุขภาพอนามัย และปญหาการกินอยูของคนในชุมชนได พื้นที่ถือครอง
ผลผลิตตอไร บงชี้สภาพทางเศรษฐกิจของคนในทองถิ่นไดเปนอยางดี
2. การเปลี่ยนแปลง (Time) เปนการวิเคราะหวาในชวงเวลานั้นๆ พื้นที่ที่ทําการศึกษา
มีการเปลี่ยนแปลงอะไร เมื่อใดและเทาใด ผูวิเคราะหจําเปนตองไดขอมูลที่เก็บเปนชวงเวลาหลายป หรือ
เปนฤดูกาล หรืออาจเปนรายวัน เพื่อจะวิเคราะหไดวาเมื่อเวลาเปลี่ยนแปลงไปนั้น มีอะไรเกิดขึ้นบาง
เพื่อศึกษาถึงตนเหตุหรือปจจัยที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง หรือการเปลี่ยนแปลงปจจัยนั้นๆ อาจเปน
ตนเหตุของการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ ตามมา ในดานกายภาพตองศึกษาวามีทรัพยากรทั้งธรรมชาติและคน
สรางขึ้น มีการเปลี่ยนแปลง เชนในรอบ 10 ปปริมาณน้ําฝนเปนอยางไร พื้นที่ปาในรอบ 10 ป มีการ
เปลี่ยนแปลงอยางไร เพราะเหตุใดเปนตน
2.1 ด า นชี ว ภาพ ต อ งศึ ก ษาว า มี ก ารปลู ก พื ช เลี้ ย งสั ต ว เปลี่ ย นแปลงหรื อ ไม
อยางไร พรอมเหตุผลของการเปลี่ยนแปลง เชนในรอบปเกษตรกรมีการทํามาหากินอะไรบาง ในชวง
เดือนไหน มีปฏิทินเกี่ยวกับการทํากิจกรรมเกี่ยวกับการปลูกพืชและเลี้ยงสัตวอยางไร หรือในรอบ 10 ป
ผลผลิตพืชและจํานวนสัตวเลี้ยงเพิ่มขึ้นหรือลดลง เพื่อนําไปวิเคราะหหาสาเหตุวา เพราะเหตุใดจึงเปน
เชนนั้นเปนตน
6

2.2 ดานเศรษฐกิจและสังคม ศึกษาวาในรอบปหรือจากอดีตถึงปจจุบันมีรายได


รายจาย ราคาผลผลิต การเจ็บปวย ฯลฯ เปลี่ยนแปลงอยางไร เมื่อไร เพื่อนําไปหาสาเหตุวาเปนเพราะ
เหตุ ใ ด เป น ต น ทั้ ง นี้ เ พื่ อ จะได เ ห็ น แนวโน ม ของการเปลี่ ย นแปลงจากอดี ต ถึ ง ป จ จุ บั น และนํ า มา
ใช ป ระโยชน ใ นการวางแผน แกไ ขป ญหา หรื อ หลี ก เลี่ย งไม ให เ กิด ปญ หาทั้ง ในป จจุ บัน และอนาคต
การทํากิจกรรมปฏิทินตางๆ ของเกษตรกรจะชวยผูวิเคราะหเขาใจวิถีชีวิต และเมื่อผนวกกับการศึกษา
การตั ด สิ น ใจของเกษตรกรแล ว ทํ า ให ส ามารถเข า ใจเหตุ ผ ล การตั ด สิ น ใจทํ า หรื อ ไม ทํ า สิ่ ง ใด และ
เพราะเหตุใด ของเกษตรกรไดเปนอยางดี
3. การเคลื่ อ นย า ยหรื อ การไหล (Flow) เป น การวิ เ คราะห ใ ห เ ข า ใจหน า ที่ แ ละ
ความสั ม พั น ธ ข ององค ป ระกอบต า งๆ โดยการนํ า มาเขี ย นเป น รู ป ภาพแสดงการไหลเวี ย นหรื อ
การเคลื่อนยายของสิ่งตางๆวาไปที่ไหน เชน แรงงาน ผลผลิต ปจจัยการผลิต พลังงาน ขอมูลขาวสาร
และเงินตราภายในขอบเขตพื้นที่ เขา – ออก อยางไร ซึ่งควรที่จะใสขอมูลสัดสวน หรือปริมาณสมดุล
การไหลเขา-ออกเพียงใด สามารถพึ่งตัวเองไดมากนอยเพียงใดดวย รูปภาพแสดงการไหลของสิ่งตางๆ
เหลานี้ ใหผูทํางานสามารถติดตามปญหาเกี่ยวกับปจจัยการผลิต หรือผลผลิตวาติดขัดอยูในขั้นตอนใด
และควรจะปรับปรุงการไหลใหคลองตัวขึ้น เพื่อใหอํานวยตอการผลิตและจําหนายอยางไร เปนตน เชน
หลังจากการศึกษารูปภาพการไหล เราอาจตั้งขอสมมติฐานวา การผลิตถั่วเหลืองของเกษตรกรในพื้นที่
ที่ทําการศึกษานี้ ตองพึ่ง ปจจั ยการผลิ ตแทบทุก อยาง ตลอดจนการตลาดกับพอคาทําให การผลิ ต
ถั่วเหลืองเปนระบบที่พึ่งตนเองไดต่ํามากเปนตน
อยางไรก็ตาม ขอมูลมือสองที่มีอยูในปจจุบันไมเอื้ออํานวยใหการวิเคราะหเกี่ยวกับการ
ไหลนี้มากนัก ดังนั้นจึงจําเปนตองออกสํารวจและสัมภาษณเกษตรกรในพื้นที่จึงจะสามารถวิเคราะห
ใหเห็นภาพการไหลของสิ่งตางๆ ไดชัดเจน
4. การตัดสินใจ (Decisions) เปนการทําความเขาใจเรื่องการตัดสินใจของเกษตรกร
เกี่ยวกับกิจกรรมตางๆ ในการดํารงชีพ รวมถึงทัศนคติของเกษตรกรตอการวิเคราะหคุณสมบัติของระบบ
(System Property Analysis)
เมื่อวิเคราะหใน 4 ลักษณะแลว ก็จะเปนการประเมินผลลัพธที่เกิดจากพฤติกรรมของ
ระบบที่วิเคราะหวาเปนอยางไร หรือเรียกอีกนัยหนึ่งวา”คุณสมบัติของระบบ” ผูวิเคราะหจะไดทราบ
สถานภาพของพื้นที่เดิมอยูในระดับใด มีองคประกอบสวนใดเปนขอจํากัด (ปญหา) ทั้งนี้เพื่อหาแนวทาง
ยกระดับคุณสมบัติของระบบเหลานี้ใหสูงขึ้น ซึ่งก็หมายถึงการยกระดับของประชากรในทองถิ่นนั้นใหดี
ขึ้นนั่นเอง ซึ่งคุณสมบัติของระบบที่สําคัญไดแก
1) ผลิ ต ภาพ (Productivity) เป น การประเมิ น ว า ระบบที่ ศึ ก ษาในขณะนั้ น
ให ผลผลิต หรื อรายได สูง หรื อ ไม แลว นําไปวิเ คราะหห าสาเหตุ ว า เป น เพราะเหตุใ ด เชน ผลผลิตขา ว
7

มันสําปะหลัง หรือรายไดจากกิจกรรมตางๆ วาสูงหรือไม เปนตน การที่จะพิจารณาวาสูงหรือไมนั้น


ควรเปรียบเทียบกับคามาตรฐานคาใดคาหนึ่ง เชนเปรียบเทียบกับขอมูลทางวิชาการ ผลผลิตหรือรายได
จากพื้นที่อื่นๆที่มีระดับชั้นที่สูงกวา หรือเปรียบเทียบกับผลผลิตหรือรายไดที่เปนเปาหมายในการพัฒนา
หรืออาจเปนระดับผลผลิตหรือรายไดที่ประชากรในทองถิ่นนั้นพอใจก็ได เชน ผลผลิตขาวในระดับตําบล
อาจเปรียบเทียบกับผลผลิตขาวในระดับอําเภอหรือจังหวัด ปริมาณเด็กขาดสารอาหารอาจเปรียบเทียบ
กับจํานวนเปาหมายการลดปริมาณเด็กขาดสารอาหารในแผนพัฒนาของกระทรวงสาธารณสุข เปนตน
ดังนั้นในการวิเคราะหจําเปนตองหาขอมูลในระดับขอบเขตที่สูงกวามาดวย อยางนอยก็เปรียบเทียบวา
ผลิตภาพของพื้นที่ที่กําลังทําการวิเคราะหกับคาเฉลี่ยจากระดับชั้นที่สูงกวาเพื่อตัดสินใจตอไปวาพื้นที่นี้
จะเปนเปาหมายของการพัฒนาตอไปหรือไม ระบบที่ดีควรมีผลิตภาพที่สูงพอเหมาะ การทราบระดับของ
ผลผลิตกอนที่จะมีการพัฒนา จะทําใหผูวิเคราะหพิจารราตอไปไดวา ควรปรับปรุงองคประกอบหรือ
กิจกรรมอะไรบาง ปรับปรุงอยางไร เพื่อยกระดับผลิตภาพนั้นๆ
2) เสถียรภาพ (Stability) เปนการวิเคราะหวาผลลัพธจากระบบนั้นๆมีความ
เปลี่ยนแปลงอยางไรในเวลาตางๆ เมื่อเปรียบเทียบระหวางป ตัวอยางเชน ระดับผลผลิตหรือรายได
ที่เกษตรกรไดรับเมื่อเปรียบเทียบจากปตอป มีความสม่ําเสมอหรือไม เปนตน การที่จะตัดสินวาสิ่งนั้น
มีเสถียรภาพมากนอยแคไหน อาจพิจารณาไดจากคา Coefficience of Variation หรือคา CV ซึ่งคํานวณ
ไดจาก
CV= Standard deviation x 100 %
Grand mean
หากคา CV สูง แสดงวาระบบนั้นมีเสถียรภาพต่ํา (มีความแปรปรวนสูง) ระบบที่ดีตองมีเสถียรภาพสูง
เชน ไดผลผลิตรวม หรือรายไดรวมอยูในระดับที่ใกลเคียงกันแทบทุกปเปนตน
3) ความยั่ง ยืน (Sustainability) เปนการวิเคราะหวาการผลิตของทั้งระบบ
หรือพฤติกรรมของระบบ หรือกิจกรรมในระบบอยูไดนานแคไหน หรือเกษตรกรสามารถทํากิจกรรมนั้น
ไดนานมากนอยเพียงใด เพราะเหตุใด และมีความสามารถในการฟนตัวจากภัยพิบัติตางๆ ไดหรือไม
ถาฟนตัวไดเร็วแสดงวาระบบนั้นมีความยั่งยืนสูง ตัวอยางของภัยพิบัติ เชน น้ําทวม ฝนแลง โรค และ
แมลงระบาด เปนตน ระบบที่ดีนั้นจะสามารถปรับตัวกลับมาใหระดับผลผลิตไดเทาเดิมในระยะเวลาอันสั้น
4) ความเสมอภาค (Equitability) เปนการวิเคราะหวาประชากรมีหรือไดรับ
หรือทํากิจกรรมใดๆเหมือนกัน หรือกระจายทั่วถึงกันหรือไม เพราะเหตุใด เชนเกษตรกรไดผลผลิตหรือ
มีรายไดหรือมีพื้นที่ถือครองเทาๆ กันทั่วทุกคนหรือไมอยางไร เปนตน ระบบที่ดีตองมีความเสมอภาค
หรือความเทาเทียมกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งเรื่องรายไดของครัวเรือน อยางไรก็ตาม เปนไปไดที่เกษตรกร
อาจทํากิจกรรมที่แตกตางกัน ทั้งนี้เพราะความหลากหลายของสภาพแวดลอมในพื้นที่ที่ทําการวิเคราะห
8

5) การพึ่งพาตนเอง (Autonomy) เปนการวิเคราะหวา กระบวนการผลิตหรือ


การดํ า รงชี พ ของเกษตรกรสามารถพึ่ ง ตนเอง หรื อพึ่ ง ทรัพ ยากรในทอ งถิ่ น ภายใต ก ารตั ดสิ น ใจของ
ประชากรในทองถิ่นไดแคไหน ซึ่งเราพิจารณาไดจาก การพึ่งพาตนเองหรือจากภายนอก โดยสังเกตจาก
การไหลเขา-ออก จากขอบเขตพื้นที่วิเคราะห เชน การไหลของปจจัยการผลิตตางๆ ฯลฯ หรือดูไดจาก
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกระบบที่มีตอระบบที่กําลังวิเคราะห เชน การเปลี่ยนแปลง
อะไรก็ตามจากภายนอกจะทําใหระบบนั้นไดรับผลกระทบในระดับต่ํา
6) ความสมัครสมานสามัคคี (Solidarity) ซึ่งเปนคุณสมบัติที่สําคัญทางสังคม
อันหนึ่งเปนการวิเคราะหวา ในพื้นที่นั้นประชากรสามัคคีกันมากนอยเพียงใด โดยอาศัยการประเมินจาก
การทํ า กิ จ กรรมร ว มกั น ระหว า งประชากรในท อ งถิ่ น ในเรื่ อ งต า งๆ เช น มี ก ารรวมกลุ ม เกษตรกรเพื่ อ
ชวยเหลือ หรือรวมกันแกไขปญหาเปนตน ในการพัฒนาชนบท ปญหาบางอยางสามารถแกไขไดดวยตัว
บุคคล แตบางปญหาตองอาศัยความรวมมือของกลุมคน หรือดําเนินงานผานกลุมคน ดังนั้นการที่ผู
วิเคราะหทราบระดับความสมัครสมานสามัคคีของคนในชุมชนลวงหนา และทราบปจจัยที่กําหนด จะทํา
ให ก ารวางแผนการกํ า หนดกลยุ ท ธ ตลอดจนการประเมิ น อุ ป สรรคต า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระหว า งการ
ดําเนิ นการวิจั ย หรื อพัฒนาไดเ ป นอยางดี การทําความเขาใจในเรื่องนี้มักตองอาศัย ขอมูลจากการ
สัมภาษณจากผูคนในพื้นที่ เพราะขอมูลมือสองที่มีอยูในปจจุบันไมคอยมีเพียงพอเพราะมักเปนขอมูล
ดานปริมาณ
อนึ่ง ในสภาพที่เปนจริงแลวคุณสมบัติตางๆของระบบจะมีความสัมพันธซึ่งกัน
และกันและอาจขัดแยงกัน เชน ระบบการปลูกพืชที่ใหผลผลิตสูง (Productivity) มักใชปจจัยการผลิต
การจัดการและสิ่งแวดลอมที่ดี เชน ใชพันธุดี ใสปุยมาก การจัดการน้ําและดูแลรักษาดี เปนตน ซึ่งมัก
เปนระบบที่มีเสถียรภาพต่ํา (Stability) ดวย เพราะหากจัดการปจจัยหนึ่งปจจัยใดไมดี หรือเกิดภาวะฝนแลง
จะทําใหบางปเกษตรกรไดรับผลผลิตต่ํา และยังเปนระบบที่มีความเสมอภาค (Equitability) ต่ําอีกดวย
ทั้งนี้เพราะเกษตรกรที่จะทําการผลิตไดตองมีปจจัยการผลิตตางๆ ราคาสูงพรอมมูล ซึ่งมักเปนเกษตรกร
ที่มีฐานะดีเปนสวนใหญ อีกทั้งยังเปนระบบที่มีการพึ่งพาตัวเองต่ําอีกดวย ดังนั้นผูวิเคราะหจะตอง
พิจารณาความสัมพันธของคุณสมบัติของระบบ จากพฤติกรรมของระบบอยางถองแท วามีความสัมพันธ
กันอยางไร หากจะปรับปรุงคุณสมบัติตัวใดตัวหนึ่งใหดีขึ้น ตองระวังอาจสงผลกระทบตอคุณสมบัติ
ตัวอื่นๆ ดวย

3. การชลประทาน
ประเทศไทยมีพื้นที่ทั้งหมด 321 ลานไร ใชเปนพื้นที่การเกษตร ประมาณ 168 ลานไร มีพื้นที่
ชลประทานทั้งประเทศ ประมาณ 39 ลานไร คิดเปนรอยละ 23.21 ของพื้นที่ทําการเกษตร แยกเปน
9

ชลประทานขนาดใหญและขนาดกลาง จํานวน 689 แหง พื้นที่ชลประทานประมาณ 22 ลานไร


ซึ่งเปนโครงการที่คอนขางสมบูรณแบบ กลาวคือ มีระบบการสงน้ํา ทั้งระบบคลองสงน้ําสายใหญ
(Main System) และระบบชลประทานแปลงนา (On- Farm System) ทําใหการกระจายน้ําชลประทาน
ไปสูแปลงเพาะปลูกพืชคอนขางสะดวก และสามารถควบคุมปริมาณน้ําได จึงเปนเขตพื้นที่ที่มีศักยภาพสูง
เหมาะสําหรับการผลิตสินคาเกษตรในเชิงธุรกิจขนาดใหญ ใชเทคโนโลยีการผลิตขั้นสูง ผลิตสินคาที่มี
คุณภาพและมีมูลคาสูง สามารถควบคุมปริมาณและคุณภาพการผลิตไดตามตองการ สวนโครงการ
ชลประทานขนาดเล็ก จํานวน 9,362 แหง มีพื้นที่ชลประทานประมาณ 12 ลานไร เปนโครงการที่สรางไว
เพื่ อ เป น การส ง น้ํ า เสริ ม การทํ า การเกษตรในฤดู ฝ นหรื อ บางแห ง สร า งด ว ยเหตุ ผ ลของความมั่ น คง
ลักษณะของโครงการสวนใหญจะเปนอางเก็บน้ํา ฝายทดน้ํา ไมมีระบบสงน้ํา หรือมีแตไมเพียงพอ
มี เ พี ย งระบบส ง น้ํ า สายหลั ก เท า นั้ น ทํ า ให ก ารกระจายน้ํ า ไปสู แ ปลงเพาะปลู ก พื ช ไม ดี เ ท า ที่ ค วร
การใชประโยชนจะใชเพื่อการอุปโภค บริโภค และเสริมการเพาะปลูกในฤดูฝนเปนหลัก ลักษณะของ
พื้นที่นี้ควรทําการเกษตรแบบผสมผสานหรือทฤษฎีใหม และเพื่อเปนการสํารองน้ําในฤดูฝน สําหรับการ
ผลิตพืชในฤดูแลง นอกจากนี้ยังมีโครงการในลักษณะอื่นๆที่ไมไดอยูในความดูแลของกรมชลประทาน
ไดแก โครงการสูบน้ําดวยไฟฟา จํานวน 2,063 แหง พื้นที่ชลประทานประมาณ 3 ลานไร ซึ่งเปนโครงการ
ที่ใชแหลงน้ําตนทุนต่ําหรือคลองธรรมชาติ โดยใชวิธีสูบน้ําดวยไฟฟา และจัดทําระบบสงน้ําเขาสูแปลงนา
สวนใหญเปนโครงการขนาดเล็ก มีพื้นที่สงน้ําไมมาก แตสามารถควบคุมน้ําชลประทานได ดังนั้นเขตนี้
จึงเหมาะกับการผลิตพืชมูลคาสูง เชน การผลิตพืชเมล็ดพันธุ

4. นโยบายการพัฒนาการเกษตรในเขตชลประทานของกรมสงเสริมการเกษตร
สุรัตน สงวนทรัพย (2547) ไดกลาววา ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9
(พ.ศ.2545 - 2549) นโยบายการพัฒนาการเกษตรในเขตชลประทานไดเนนการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
การปรับปรุงคุณภาพผลผลิต เพื่อใหไดผลผลิตที่ปลอดภัย (Food Safety) ตามมาตรฐานผลผลิตพืช
แตละชนิด โดยการสงเสริมการใชกระบวนการผลิตพืชที่ดีที่เหมาะสม (GAP : Good Agricultural
Practice) เปนการปรับปรุงกระบวนการผลิต โดยดําเนินการรวมกันระหวางกรมสงเสริมการเกษตร
และกรมวิชาการเกษตร เพื่อใหประชาชนไดบริโภคสินคาที่ปลอดภัยและสนับสนุนนโยบายที่รัฐบาลจะให
เปนครัวของโลก

5. ความเปนมาของโครงการชลประทานลําโดมนอย
สํานักสงเสริมการเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแกน (2544) ไดสรุปความ
เปนมาของโครงการชลประทานลําโดมนอยไวดังนี้ ลําโดมนอย เปนลําน้ําสายสุดทายที่ไหลลงสูแมน้ํามูล
10

ตนกําเนิดจากทิวเขา ”พนมดงรัก” อําเภอบุณฑริก มีความยาว 120 กิโลเมตร พื้นที่รับน้ําฝน 3,100


ตารางกิโลเมตร ไหลลงสูแมน้ํามูลที่อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี รัฐบาลไดใหการพลังงาน
แหงชาติสรางเขื่อนสิรินธร ปดกั้นลําโดมนอยบริเวณน้ําตกไซนอย ตําบลชองเม็ก อําเภอพิบูลมังสาหาร
จังหวัดอุบลราชธานี กอนที่จะไหลลงสูแมน้ํามูล 14 กิโลเมตร ลักษณะเขื่อนเปนเขื่อนหิน พื้นที่รับน้ําฝน
2,097 ตารางกิโลเมตร เนื้อที่อาง 288 ตารางกิโลเมตร สามารถเก็บกักน้ําได 1,966 ลานลูกบาศกเมตร ที่
ระดับ 142.2 เมตร (จากระดับน้ําทะเล) เนื่องจากพื้นที่ทายเขื่อนมีสภาพสูงชันมีพื้นที่เพาะปลูกเพียง
เล็กนอย พื้นที่เพาะปลูกสวนใหญจึงอยูทางเหนือเขื่อนและมีระดับสูงกวาระดับเก็บกัก รัฐบาลจึงมอบให
กรมชลประทานดําเนินการกอสราง โครงการชลประทานขึ้นเหนือเขื่อน เพื่อนําน้ําจากเขื่อนไปใชในการ
เพาะปลูก โดยการสูบน้ําจากอางเขาสูคลองอีกทอดหนึ่ง

6. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ
6.1 วัฒนธรรมการใชน้ํา
ทวี ถาวโร (2540) ไดศึกษาวัฒนธรรมการใชน้ําของชาวบานเขตชลประทานลําปาว
พบวา ผูใชน้ําชลประทานทั้งหมดเปนสมาชิกกลุมผูใชน้ํา และใชตามขอกําหนดของการชลประทาน
ใชเพื่ออุปโภค บริโภค สวนใหญประกอบอาชีพทํานาปละ 2 ครั้ง รองลงมาไดแกปลูกพืชหมุนเวียน
และทํานากุง ผูใชน้ํามีความรูความเขาใจในการปองกันการสูญเสียน้ํา การปองกันสารเคมีลงสูแหลงน้ํา
คอนขางนอย แตไมมีการทิ้งขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลลงในแหลงน้ํา การปฏิบัติเปนไปตามธรรมชาติ
มีสวนรวมในการประชุมแสดงความคิดเห็นดี มีผูฝาฝนขอบังคับนอยมาก โดยภาพรวมแลวชาวบาน
ในเขตชลประทานลํ า ปาวมี วั ฒ นธรรมการใช น้ํ า ดี ไม เ ป น ต อ อุ ป สรรคต อ การบริ ห ารทรั พ ยากรน้ํ า
ในโครงการชลประทานทุกระดับ
6.2 ประสิทธิภาพการดําเนินงานของกลุมบริหารการใชน้ําชลประทาน
สุวัฒน วิชาชัย (2539) ไดศึกษาเปรียบเทียบลักษณะบางประการที่มีผลตอประสิทธิภาพ
การดํ า เนิ น งานของกลุ ม บริ ห ารการใช น้ํ า ชลประทานระดั บ A และกลุ ม ระดั บ C ในเขตโครงการ
ชลประทานลําปาว พบวา
6.2.1 ดานสภาพพื้นฐานบางประการของกลุมในเรื่อง อายุของสมาชิก จํานวนสมาชิก
กลุมเงินทุน จํานวนคูสงน้ํา พื้นที่ดําเนินการกลุม การมีศาลาอเนกประสงค ความแตกตางของสมาชิกกลุม
ในเรื่องพื้นที่ถือครองตอครัวเรือน แหลงความรูและการเปดรับขาวสาร การไดรับการฝกอบรม และการ
ไดรับการเยี่ยมจากเจาหนาที่ชลประทาน มีความแตกตางกันทางสถิติ
6.2.2 ดานการดําเนินงานและผลการดําเนินงานของกลุมมีความแตกตางกันในเรื่องของ
การประสานงานกับหนวยงานอื่น ความถี่ในการประชุมของคณะกรรมการกลุม การวางแผนสงน้ํา
11

ระดับความรวมมือของสมาชิกและจํานวนครั้งในการบํารุงรักษาระบบชลประทาน การจัดหาปจจัยการผลิต
อยางเพียงพอ และตลาดระบบที่เปนธรรมในการรับซื้อผลผลิต การดําเนินกิจกรรมเพื่อหาเงินเขากลุม
การหมุนเวียนน้ําในระดับคูสงน้ํา การวางแผนในระบบการปลูกพืช การจัดประชุมประจําปของกลุม
การใหคําปรึกษาแกสมาชิกของคณะกรรมการกลุม การจัดทําปายแสดงรอบเวรการรับน้ําในระดับคูสงน้ํา
การสนั บสนุ นกลุ ม สมาชิกในเรื่อ งวัสดุอุปกรณ เงิน ทุน ในการดํา เนิ น งานกลุม ดานคุณสมบัติและ
การปฏิบัติหนาที่ของผูนํามีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญในเรื่องความเสียสละ ความเปนกันเองและ
ใหความสนใจกับสมาชิก ความรับผิดชอบในหนาที่ การวางแผนการดําเนินงานกลุม การแกไขปญหา
ที่เกิดขึ้นภายในกลุม การประสานงานกับหนวยงานอื่น และภาวะผูนําในการดําเนินกิจกรรมและเปนที่
เดนชัดวากลุมระดับ A มีการแสดงออกทุกเรื่องที่กลาวถึง
6.2.3 ป ญ หาในการดําเนินงาน ทั้ง สองกลุม มีปญหาแตกตางกันในเรื่องสภาพภูมิ
ประเทศของพื้นที่ ความไมสะดวกของการใชน้ําและการกระจายน้ําไมทั่วถึง การไมมีเวลาบริหารงาน
กลุมของคณะกรรมการ การไมเขาใจบทบาทหนาที่และการไมดําเนินงานของคณะกรรมการ การไมเขา
เยี่ ย มกลุ ม ของเจ า หน า ที่ ช ลประทาน การไม เ คารพกติก าของกลุม การไม ช ว ยเหลื อซึ่ ง กั น และกั น
ของสมาชิก เพื่ อ การแกไ ขป ญ หาในเรื่ อ งของการกระจายน้ํ า ชลประทาน รวมทั้ ง การซ อ มแซมคู น้ํ า
ขาดชํารุดเสียหาย และการลอกตะกอนดินในคลอง
6.2.4 ข อ เสนอแนะของคณะกรรมการและสมาชิ ก ในการดํ า เนิ น งานกลุ ม เห็ น ว า
กิจกรรมที่ควรดําเนินการและจัดหาเพิ่มขึ้นไดแก 1) ใหเจาหนาที่สงเสริมการเกษตรเขารวมประชุม
ประจําปของกลุม เพิ่มความสนใจในการเขาไปเยี่ยมกลุม 2) สนับสนุนวัสดุซอมแซมชลประทานให
พอเพียง 3) สงเสริมการเกษตรแบบตลาดมีสัญญาขอตกลง 4) มีการเพิ่มปริมาณปุยเคมีจากองคการ
ตลาดเพื่อเกษตรกรใหกลุม 5) สนับสนุนการดําเนินธุรกิจกลุมแกคณะกรรมการกลุม 6) จัดหาปจจัยการ
ผลิตตนทุนต่ําบริการสมาชิก 7) จัดหาตลาดที่เปนธรรมในการรับซื้อผลผลิตของสมาชิก 8) จัดสรรน้ํา
ชลประทานใหสมาชิกอยางทั่วถึงและยุติธรรม 9) จัดทําปายแสดงรอบเวรการรับน้ําในคูสงน้ํา
6.3 ระบบเกษตรกรรม
โครงการวิจัย การทํ าฟารมและกองแผนงานโครงการพิเ ศษ (2528) ไดศึก ษาระบบ
เกษตรกรรม โครงการชลประทานหนองหวายฝงขวา ดําเนินการวิเคราะหปจจัยพื้นฐานของระบบ
เกษตรกรรม โดยผู เ ชี่ ย วชาญจากหลายสาขาวิ ช าการ (สหวิ ท ยาการ) ผลการศึ ก ษาพบว า ระบบ
เกษตรกรรมในพื้นที่โครงการชลประทานหนองหวายฝงขวา ประกอบไปดวยปจจัยพื้นฐาน 3 ลักษณะ
มีความเกี่ยวของสัมพั นธ กั นไดแก 1) ปจจัย ทางกายภาพ เชนระบบการชลประทาน ปริม าณและ
การกระจายตัวของน้ําฝน ลักษณะดิน การคมนาคม คลองชลประทาน สภาพภูมิประเทศ พื้นที่รายตําบล
พื้นที่รายเขตสงน้ํา 2) ปจจัยทางชีวภาพ เชน พื้นที่เพาะปลูก ชนิดพืช ผลผลิต ระบบการปลูกพืช
12

3) ปจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ เชน ประชากร การศึกษา เงินทุน ปจจัยการผลิต การใชแรงงาน อาชีพ


การโยกยายถิ่นฐาน ทัศนคติ และกลุมผูใชน้ํา

สาระและขัน้ ตอนการดําเนินงาน
1. หลักการและเหตุผล
ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ มี พื้ น ที่ ป ระมาณ 105 ล า นไร เป น พื้ น ที่ ถื อ ครองการเกษตร
ประมาณ 57.8 ลานไร คิดเปนประมาณหนึ่งในสามของพื้นที่การเกษตรทั้งประเทศ มีพื้นที่เพาะปลูก
ในเขตชลประทานประมาณ 5.49 ลานไร คิดเปนรอยละ 9.5 ของพื้นที่ทําการเกษตรทั้งภาค (สํานักงาน
สงเสริมการเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแกน , 2544) พื้นที่โครงการชลประทานขนาดใหญ
จํานวน 12 แหง พื้นที่ 1.74 ลานไร โครงการชลประทานขนาดกลาง 198 แหง พื้นที่ 1.45 ลานไร และ
โครงการขนาดเล็ก 4,342 แหง พื้นที่ 2.3 ลานไร (วิชัย สุภาโสด , 2547)
เกษตรกรใชพื้นที่การเกษตรในเขตชลประทานเพื่อการทํานาเปนสวนใหญ สุรัตน สงวนทรัพย
(2547) รายงานไววา การเพาะปลูกขาวนาปรังในเขตชลประทานทั้งประเทศระหวางป พ.ศ.2542-2546
มี พื้ น ที่ เ พาะปลู ก เฉลี่ ย 5.94 ล า นไร ต อ ป หรื อ คิ ด เป น ร อ ยละ 90.14 ของพื้ น ที่ ก ารเกษตรในเขต
ชลประทานทั้งประเทศ สําหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่เพาะปลูกขาวนาปรัง ในป 2546
จํานวน 0.58 ลานไร คิดเปนรอยละ 84.06 ของพื้นที่การเกษตรในเขตชลประทานทั้งภาค จึงกลาวไดวา
พื้นที่การเกษตรในเขตชลประทานเปนพื้นที่เพื่อการทํานาเปนสวนใหญ
ผลที่ไดโดยตรงจากการทํานาของเกษตรกรไดแก ผลผลิตขาวเปลือกและรายไดจากการ
จําหนายขาวเปลือก เมื่อพิจารณาจากปการผลิต 2545/2546 พบวาผลผลิตขาวเปลือก (รวมนาปและ
นาปรัง) มีผลผลิตอยูระหวาง 18-26.5 ลานตันขาวเปลือก โดยผลผลิตรวมต่ําสุดอยูที่ 18.447 ลานตัน
ในป 2536/2537 ผลผลิตสูงสุดที่ 26.514 ลานตัน ราคาผลผลิตที่เกษตรกรจําหนายไดอยูระหวาง
3,286-6,962 บาท ตอเกวียน และราคาขาวเปลือกในป 2544/2545 มีราคา 4,714 บาทตอเกวียน
(สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร,2547) กลาวไดวาราคาขาวที่เกษตรกรจําหนายไดอยูในเกณฑต่ํา และ
มีความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงเสมอ เกิดปญหาราคาผลผลิตขาวตกต่ํา รัฐบาลมีความจําเปนตองไป
แทรกแซงตลาดขาว โดยการจัดทําโครงการรับจํานําขาวเปลือก ป 2546/2547 มีเปาหมายรับจํานํา
ขาวเปลือกจากเกษตรกรรวม 9 ลานตัน เพื่อยกระดับราคาขาวที่เกษตรกรจําหนายไดจากเดิมขึ้น
เปนตันละ 5,680-7,000 บาท ทั้งนี้ขึ้นอยูกับชนิดพันธุขาว และคุณภาพขาว (กรมการคาภายใน , 2547)
อาจกลาวไดวารัฐบาลมีนโยบายพัฒนาพื้นที่การเกษตรในเขตชลประทานใหเปนแหลงผลิต
สินคาเกษตรที่สําคัญทั้งทางดานปริมาณและคุณภาพ ทั้งนี้เนื่องจากพื้นที่การเกษตรในเขตชลประทาน
เปนพื้นที่ที่มีศักยภาพการผลิตสูง แตจากรายงานการผลิตพืชในเขตชลประทานกลับปรากฏวาเกษตรกร
13

ใชพื้ น ที่ที่มี ศัก ยภาพสูง นี้ เ พื่ อ การทํา นาเปน ส ว นใหญ และเกษตรกรประสบป ญ หาราคาข า วตกต่ํา
จนรัฐบาลตองจัดทําโครงการเพื่อแกไขปญหา โครงการชลประทานโดมนอย จังหวัดอุบลราชธานี
เปนโครงการชลประทานขนาดใหญแหงหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ชลประทาน 183,044 ไร
(ในฤดูฝน) สวนในฤดูแลงสามารถสงน้ําไดประมาณ 58,000 ไร และการสงน้ําชลประทานจะสงเฉพาะ
ชวงฤดูแลง สวนฤดูนาปจะสงชวยเกษตรกร กรณีฝนทิ้งชวงเปนเวลานาน ซึ่งจะทําใหพืชเสียหายเทานั้น
(โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอย , 2547)
นอกจากนี้พื้นที่โครงการมีลักษณะเปนที่สูงทางดานตะวันออกและตะวันตก ซึ่งเปนที่ตั้ง
ของคลองสงน้ําสายใหญฝงขวาและฝงซายตามลําดับ ลาดเทสูตอนกลางของพื้นที่ลงสูลําหวยกวาง
ซึ่งไหลมาจากทางใตลงสูแมน้ํามูลทางตอนเหนือ ความสูงสูงสุดของพื้นที่โครงการอยูทางดานตะวันออก
ติดคลองสงน้ําสายใหญฝงขวาทางตอนสงน้ําที่ 2 โดยมีความสูง 150 เมตร จากระดับน้ําทะเล
ความสูงต่ําสุดอยูตามแนวลําหวยซึ่งกระจายอยูตอนกลางของพื้นที่โครงการ ประมาณ 120 เมตร
จากระดับน้ําทะเล (สํานักงานสงเสริมการเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแกน, ม.ป.ป.)
จึง มีผลต อการปลูก พื ชและประสิ ท ธิ ภาพการใชน้ําของเกษตรกร ด ว ยเหตุนี้ จึง สมควรศึ ก ษาสภาพ
การผลิตระบบการผลิตและศักยภาพการผลิตของพื้นที่การเกษตรในเขตชลประทานโครงการโดมนอย
เพื่ อ ให ส ามรถใช พื้ น ที่ ก ารเกษตรได ส อดคล อ งเหมาะสมกั บ ศั ก ยภาพของพื้ น ที่ แ ละเกษตรกร
และตอบสนองตอวิสัยทัศน พันธกิจ และยุทธศาสตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณตอไป
2. วัตถุประสงค
2.1 เพื่อศึกษาสภาพการผลิต ระบบการผลิตการเกษตรในเขตชลประทานโครงการสงน้ํา
และบํารุงรักษาโดมนอย จังหวัดอุบลราชธานี
2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาศั ก ยภาพการผลิ ต การเกษตรในเขตชลประทานโครงการส ง น้ํ า และ
บํารุงรักษาโดมนอย จังหวัดอุบลราชธานี
3. เปาหมาย
วิเคราะหพื้นที่และระบบการผลิตและศักยภาพการผลิตพืช เชน ขาวนาป ขาวนาปรัง
แตงโม พริกขี้หนู ขาวโพดฝกสด ถั่วลิสง ผักกระเฉด ถั่วฝกยาว คื่นฉาย เห็ดฟาง ใชกําหนดแนวทาง
พัฒนาการเกษตรในเขตชลประทาน โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอย จังหวัดอุบลราชธานี
4. ขั้นตอนการดําเนินงาน
โดยเริ่มตั้งแตการวางแผนการศึกษา กําหนดประชากรกลุมตัวอยาง การเก็บรวบรวมขอมูล
การวิเคราะหขอมูลจนถึงการเขียน/สรุปและจัดทํารายงานเปนรูปเลม ดังนี้
4.1 ประชากรที่ ทํ าการศึ กษา คื อเกษตรกรในพื้ นที่ ชลประทาน โครงการส ง น้ํ า และ
บํารุงรักษาโดมนอย จังหวัดอุบลราชธานี ในเขตอําเภอพิบูลมังสาหาร และอําเภอสิรินธร จํานวน 226 ราย
14

4.2 กลุมตัวอยางและการคัดเลือกกลุมตัวอยาง ใชวิธีคัดเลือกกลุมตัวอยางแบบไม


เจาะจงจากเกษตรกรในเขตชลประทาน โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอย จังหวัดอุบลราชธานี ใน
เขตอําเภอพิบูลมังสาหาร และอําเภอสิรินธร จํานวน 11 ตําบล รวม 226 ราย (ตารางที่1)

ตารางที่ 1 สถานที่และจํานวนเกษตรกรในเขตชลประทานโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอยที่ใช
เก็บขอมูล

ที่ สถานที่ จํานวนเกษตรกรที่ใชเก็บจํานวน


อําเภอ ตําบล (ราย)
1 สิรินธร คันไร 25
ฝางคํา 25
2 พิบูลมังสาหาร กุดชมภู 20
ไรใต 20
โพธิ์ไทร 11
บานแขม 21
ดอนจิก 20
อางศิลา 20
หนองบัวฮี 20
นาโพธิ์ 20
โนนกลาง 20
รวม 2 อําเภอ 11 ตําบล 226

นอกจากนี้ยังกําหนดกลุมตัวอยางตามประเภทของการเกษตรที่มีในเขตชลประทานโดม
นอยจากจํานวนเกษตรกรทั้งหมด 226 ราย แยกประเภท ดังนี้
15

ตารางที่ 2 จํานวนเกษตรกร จําแนกตามประเภทของการเกษตร


ประเภทของการเกษตร จํานวนเกษตรกร
ปลูกพืช
ขาวนาป 60
ขาวนาปรัง 51
ขาวโพด 25
ถัว่ ลิสง 5
แตงโม 35
เห็ดฟาง 15
คื่นฉาย 6
พริก 25
ผักกระเฉด 5
ผักอืน่ ๆ 10
ปศุสัตว
เปด-ไก 5
โค 22
กระบือ 5
ประมง
ปลา 11
หมายเหตุ จากจํานวนเกษตรกร 226 ราย

4.3 การเก็บรวบรวมขอมูล
4.3.1 เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ใชแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง
สําหรับการเก็บรวบรวมขอมูลเกษตรกรแบบรายบุคคล และแบบสัมภาษณแบบกึ่งโครงสราง สําหรับการ
เก็บรวบรวมขอมูลแบบกลุม
4.3.2 วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลโดยการจัดทีมวิจัยแบบสหวิทยาการซึ่งประยุกต
ขั้นตอนการดําเนินงานจากหลักการ RRA ดังนี้
1) กําหนดหัวขอเรื่องและวัตถุประสงคที่จะศึกษา
2) กําหนดทีมและกําหนดกรอบขอมูล หรือประเด็นเนื้อหา
3) เก็บรวบรวมขอมูลทุติยภูมิ วิเคราะห และสรุปผลการวิเคราะหขอมูลทุติยภูมิ
16

4) เก็บรวบรวมขอมูลปฐมภูมิ
4.1) ขอมูลเกษตรกรแบบรายบุคคล ไดแก ขอมูลพื้นฐานดานเศรษฐกิ จ
และสังคมบางประการ สภาพการผลิตพืช ประมง และสัตว ใชวิธีการสัมภาษณเกษตรกรเปนรายบุคคล
จํานวน 226 ราย ตามแบบสัมภาษณแบบมีโครงสราง โดยนักวิชาการสงเสริมการเกษตรผูรับผิดชอบตําบล
ในเขตพื้นที่ชลประทานโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอย ตามตารางที่ 1 และตารางที่ 2
4.2) ข อ มู ล เกษตรกรแบบกลุ ม ใช วิ ธี ก ารสนทนากลุ ม ย อ ยตามแบบ
สัมภาษณแบบกึ่งโครงสรางโดยทีมผูวิจัย
4.4 การวิเคราะหขอมูล
4.4.1 การวิเคราะหขอมูล ใชเทคนิคการวิเคราะหแบบ RRA มีการประเมินสภาวะ
ชนบทอยางเรงดวน
4.4.2 การวิเคราะหขอมูล ขอมูลพื้นฐานดานเศรษฐกิจ และสังคมบางประการ
สภาพการผลิตพืช ประมง และสัตว อธิบายโดยใชสถิติเชิงพรรณา (Descriptive Statistics) ไดแก
การแจกแจงความถี่ (Frequency) คาสูงสุด (Maximum) คาต่ําสุด (Minimum) คาเฉลี่ย (Arithmetic
Mean) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Diviation)
4.5 เขียน/สรุป และจัดทํารายงานเปนรูปเลม

ความยุงยากในการดําเนินการ
การศึกษาระบบการผลิตการเกษตรในเขตชลประทานโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอย
จังหวัดอุบลราชธานี เปนการดําเนินการในลักษณะเชิงบูรณาการมีการประสานการดําเนินงาน 3 สวน
คือ หนว ยงานในสังกั ดกรมสงเสริมการเกษตร ไดแก กลุมงานเกษตรชลประทานและพื้น ที่เรงรัด
กองพั ฒ นาการเกษตรพื้ น ที่ เ ฉพาะ สํ า นั ก ส ง เสริ ม และพั ฒ นาการเกษตรเขตที่ 4 จั ง หวั ด ขอนแก น
สํานักงานเกษตรจังหวัดอุบลราชธานี สํานักงานเกษตรอําเภอพิบูลมังสาหาร สํานักงานเกษตรอําเภอสิรินธร
จังหวัดอุบลราชธานี หนวยงานในสังกัดกรมพัฒนาที่ดินไดแก งานสํารวจดิน ศูนยศึกษาและคนควา
พัฒนาเกษตรกรรม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแกน และหนวยงานในสังกัดกรมชลประทาน
ได แ ก โครงการส ง น้ํ า และบํ า รุ ง รั ก ษาโดมน อ ย จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี จึ ง ถื อ ได ว า มี ค วามยุ ง ยาก
ในการดําเนินการมากพอสมควร ทั้งนี้เพราะ
1. ในขั้นแรกของการดําเนิ น งาน ผูศึกษาจะตองชี้แจง ทํ าความเขา ใจในหลักการ ขั้นตอน
วิธีการดําเนินงาน รวมทั้งการประสานขอความรวมมือเพื่อขอขอมูลที่จะใชในการศึกษา รวมทั้งจะตองมี
การซักซอมความเขาใจเกี่ยวกับวิธีการสุมตัวอยาง เนื้อหาประเด็นตางๆ ขอมูลทางวิชาการที่อยูในแบบ
สัมภาษณเกษตรกร และวิธีการสัมภาษณเกษตรกร ใหแกนักวิชาการสงเสริมการเกษตรผูรับผิดชอบ
17

งานส ง เสริ ม การเกษตรของอํ า เภอพิ บู ล มั ง สาหาร และอํ า เภอสิ ริ น ธรที่ อ ยู เ ขตโครงการส ง น้ํ า และ
บํารุงรักษาโดมนอย เพื่อใหไดขอมูลที่สมบูรณที่สุด
2. การเก็ บ รวบรวมข อ มู ล ต อ งใช ร ะยะเวลาในการดํ า เนิ น งาน จะต อ งมี ก ารกํ า หนดเวลา
สถานที่ชัดเจน และการเดินทางไปในพื้นที่ตองรักษาเวลานัดหมายกับเกษตรกรใหตรงเวลา เนื่องจาก
เกษตรกรในเขตโครงการฯ มีภารกิจในการดําเนินกิจกรรมตางๆ ในไรนาตลอด
จาก ประเด็นที่ 1 และ 2 ดังกลาวนั้นผูศึกษาไดรับความรวมมือและสนับสนุนดําเนินการศึกษา
จากนายชางหัวหนาโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอย จังหวัดอุบลราชธานี หัวหนางานสํารวจดิน
ศูนยศึกษาและคนควาพัฒนาเกษตรกรรม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแกน เกษตรจังหวัด
อุบลราชธานี เกษตรอําเภอพิบูลมังสาหาร เกษตรอําเภอสิรินธร และนักวิชาการสงเสริมการเกษตร
ผูรับผิดชอบงานสงเสริมการเกษตรของอําเภอพิบูลมังสาหารและอําเภอสิรินธรที่อยูเขตโครงการสงน้ํา
และบํารุงรักษาโดมนอย เปนอยางดียิ่ง จึงทําใหปญหาและอุปสรรคตางๆไดรับการแกไข และไดรับ
ผลสําเร็จเปนอยางดี
3. ความเขาใจและการเก็บรวบรวมขอมูลตามแบบสัมภาษณ คําตอบที่เกษตรกรใหมาบางสวน
เปนปญหาทองถิ่น เชนชื่อพันธุ เมื่อนําแบบสัมภาษณมารวบรวมและวิเคราะหขอมูลตองมีการตรวจสอบ
อยางละเอียด เพื่อไมใหขอมูลผิดพลาด

ระยะเวลาที่ดําเนินการ
เดือนเมษายน-เดือนกันยายน 2547 รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 6 เดือน

ผลสําเร็จของงาน
1. ผลสําเร็จเชิงปริมาณ
การศึกษาพบวา โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอย จังหวัดอุบลราชธานี เปนโครงการ
อเนกประสงคที่มีประโยชนทางดานการผลิตกระแสไฟฟา การชลประทานเพื่อปองกันอุทกภัย ระบบ
ชลประทานมีโ รงสู บน้ํ า เพื่อสู บน้ํ า จากเขื่อนสิริ น ธรสู ค ลองสายใหญทั้ ง 2 สาย โดยมี พื้น ที่ โ ครงการ
203,382 ไร พื้นที่ชลประทาน 183,044 ไร ศักยภาพการสงน้ําในฤดูแลงเฉลี่ย 5 ป 56,049.6 ไร มีคลอง
สงน้ําสายใหญฝงซาย 65.6 กม. ฝงขวา 25 กม. ดานการสงน้ําและบํารุงรักษาแบงเปน 4 ฝาย มีพื้นที่สง
น้ําทั้งโครงการครอบคลุมพื้นที่ 2 อําเภอ 11 ตําบล 92 หมูบาน ไดแก อําเภอพิบูลมังสาหาร จํานวน 9 ตําบล
76 หมูบาน อําเภอสิรินธร จํานวน 2 ตําบล 16 หมูบาน มีองคกรเกษตรกรกลุมผูใชน้ํา 119 กลุม สมาชิก
851 ราย กลุมชุดดินเขตโครงการฯ ทั้งหมด 16 กลุมชุดดิน มีพื้นที่รวม 212,143 ไร โดยมีกลุมชุดดิน
ที่ 40b/56b มากที่สุดรอยละ 29.76 รองลงมาไดแกกลุ มชุดดินที่ 40b และกลุมชุดดินที่ 17d3c
รอยละ 28.53 และ22.81 ตามลําดับ ขอมูลพื้นฐานดานเศรษฐกิจ และสังคมบางประการของเกษตรกร
18

รอยละ 73.89 เปนชาย อายุเฉลี่ย 47.19 ป รอยละ 91.59 จบการศึกษาระดับประถมการศึกษา


จํานวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.71 คน แรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.87 คน รอยละ 71.24 เปนสมาชิก
กองทุนหมูบาน การถือครองที่ดินเฉลี่ย 23.99 ไร การผลิตพืชในฤดูแลงโดยเฉลี่ย 5 ป 54,383.70 ไร
โดยพื้นที่สวนใหญรอยละ 92.93 เปนขาวนาปรัง สวนการปลูกขาวนาป เฉลี่ย 5 ป 177,308 ไร โดยพื้นที่
สวนใหญรอยละ 61.09 เปนขาวเจา เกษตรกรปลูกขาวนาปรอยละ 98.33 มีวัตถุประสงคเพื่อจําหนาย
รอยละ 70 ใชพันธุ กข.15 รอยละ 61.54 เก็บพันธุไวใชเอง รอยละ 61.67 รอยละ 93.33 ใชวิธีปกดํา
รอยละ 76.67 ใชปุยสูตร 16-16-8 ใชเมล็ดพันธุเฉลี่ย 23.11 กก./ไร การปลูกขาวนาปรัง รอยละ 96.08
มีวัตถุประสงคปลูกเพื่อบริโภค รอยละ 27.27 ใชพันธุเหนียวแพร รอยละ 97.14 เก็บเมล็ดพันธุไวใชเอง
รอยละ 52.94 รอยละ 82.25 ใชวิธีปกดํา รอยละ 70 ใชปุยเคมี โดยใชปุยสูตร 16-20-0 เฉลี่ย 25 กก./ไร
รอยละ 92.16 เก็บเกี่ยวโดยใชแรงงานคน ผลผลิตเฉลี่ย 409.47 กก./ไร รอยละ 58.62 จําหนายผลผลิต
โดยผานพอคาคนกลาง การปลูกขาวโพด รอยละ 96 มีวัตถุประสงคเพื่อจําหนาย รอยละ 72 เก็บเมล็ด
พันธุไวใชเอง รอยละ 96 ใชพันธุขาวเหนียว รอยละ 60 ใชปุยคอก ผลผลิตเฉลี่ย 881.17 กก./ไร
ราคาผลผลิตเฉลี่ย 14.17 บาท/กก. สําหรับการผลิตพืชอื่นๆเกษตรกรทั้งหมดผลิตพืชเพื่อจําหนาย ไดแก
การปลูกแตงโม รอยละ 65.71 ใชพันธุซูการเบบี้ รอยละ 77.14 ใชวิธีปลูกโดยหยอดเมล็ดในหลุมปลูก
รอยละ 74.29 ใชปุยเคมีสูตร 15-15-15 เฉลี่ย 85.71 กก./ไร ผลผลิตเฉลี่ย 3475.09 กก./ไร ราคาผลผลิต
เฉลี่ย 2.25 บาท/กก. การปลูกพริก รอยละ 60 เก็บพันธุไวใชเอง รอยละ 40 ใชพันธุพื้นเมือง รอยละ 48
ใชปุยคอก อัตราเฉลี่ย 657.14 กก./ไร ผลผลิตเฉลี่ย 891.4 กก./ไร ราคาจําหนายสดเฉลี่ย 13.58 บาท/กก.
ราคาพริกแหงเฉลี่ย 57.50 บาท/กก. การปลูกถั่วลิสง เกษตรกรทุกรายใชพันธุไทนาน 9 ผลผลิตเฉลี่ย
199.66 กก./ไร ผลผลิตเฉลี่ย 11.8 บาท/กก. การปลูกผักกระเฉดเกษตรกรทุกราย เก็บพันธุไวใชเอง
ใชปุยคอกผสมปุยเคมี ผลผลิตเฉลี่ย 1,991 กก./ไร การผลิตคื่นฉาย เกษตรกรทุกราย ใชพันธุกําไรทอง
โพธิ์ทอง ไดผลผลิตเฉลี่ย 1,200 กก./ไร การเพาะเห็ดฟาง เกษตรกรทุกราย ซื้อเชื้อเห็ดเพาะแบบกองเตี้ย
ผลผลิตเฉลี่ย 80 กก./ไร จําหนายผลผลิตไดราคาเฉลี่ย 27.20 บาท/กก. ปญหาเกี่ยวกับการผลิตพืช ขาว
ผลผลิตตอไรต่ํา แตงโมตนทุนการผลิตสูง ถั่วลิสงราคาเมล็ดพันธุแพงแตผลผลิตต่ํา แหลงรับซื้อมีนอย
พืชที่มีแนวโนมปลูกทดแทนขาวนาปรังและเปนพืชเกษตรอุตสาหกรรม ไดแกพริก พืชผัก ขาวโพดฝกสด
และถั่วลิสง สําหรับการเลี้ยงปลา มีพื้นที่บอปลาเพียงรอยละ 1.11 จากพื้นที่สงน้ําในฤดูแลง โดยรอยละ
72.73 มีวัตถุประสงคเพื่อจําหนาย ปลาที่เลี้ยงไดแก ปลาตะเพียน ปลาไน ปลาเทโพ ปลาสวายและปลาชอน
รอยละ 90.91 เลี้ยงในบอดิน โดยนําไปขายตลาดและเจาหนาที่ กฟผ. มารับซื้อ สภาพการผลิตสัตว
โค- กระบือ เลี้ยงเพื่อจําหนาย ใชพันธุพื้นเมือง ปลอยกินหญาตามธรรมชาติ จําหนายโดยผานพอคา
คนกลาง สั ต ว ป ก เป ด -ไก เลี้ ย งเพื่ อ จํ า หน า ยและบริ โ ภค ส ว นใหญ เ ลี้ ย งในบริ เ วณบ า น จํ า หน า ย
19

ในหมูบานและตลาด ปญหาการผลิตสัตว พื้นที่ในการเลี้ยงมีนอย ราคาโค-กระบือที่ขายราคาต่ํา เปด-ไก


มีปญหาเกิดการระบาดของโรค ขาดแคลนสัตวปกพันธุดี
2. ผลสําเร็จเชิงคุณภาพ
จากการศึ กษาโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมน อย จังหวัดอุบลราชธานี เจ าหนา ที่
สงเสริมการเกษตรและเจาหนาที่โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอย จังหวัดอุบลราชธานี ไดมีการ
ปรับปรุงและจัดทําแผนพัฒนาการผลิตการเกษตรและกําหนดระบบการผลิตพืชใหเหมาะสมในเขต
โครงการดังกลาว จนสามารถทําใหเกิดผล เชน คาใชจายสําหรับกระแสไฟฟาที่ใชสูบน้ําใหเกษตรกรใน
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอย จังหวัดอุบลราชธานี ลดลงเนื่องจากการสูบน้ํามีประสิทธิภาพ
และพื้นที่ปลูกพืชฤดูแลงเพิ่มขึ้น เกษตรกรที่อยูในเขตพื้นที่โครงการกลาตัดสินใจผลิตพืชที่เหมาะสมเพิ่ม
มากขึ้น เชน
1. การผลิ ต พริ ก มี การกํ า หนดพื้ น ที่ ที่ เ หมาะสม มี ก ารเพิ่ ม มู ลค าโดยการแปรรู ป
เพิ่มมูลคา มีกลุมผูผลิตพริกเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น
2. การผลิตถั่วลิสง เกษตรกรมีการใชปูนขาว เพื่อปรับสภาพดิน ทําใหผลผลิตตอไร
เพิ่มขึ้นและทําใหสภาพของดินดีขึ้น เนื่องจากถั่วลิสงเปนพืชตระกูลถั่ว มีสวนชวยในการปรับปรุงบํารุงดิน
3. การผลิตขาว เกษตรกรมีการปรับปรุงบํารุงดิน โดยการไถกลบตอซังขาวมากขึ้น
ทําใหดินเหมาะสมกับการทํานา มีการใชเมล็ดพันธุดี โดยมีการจัดตั้งกลุมผลิตเมล็ดพันธุดี เพื่อใช
ในการทําพันธุในพื้นที่ โดยไมตองจัดซื้อพันธุจากที่อื่น ทําใหลดตนทุนในการผลิต
การนําไปใชประโยชน
หนวยงานที่เกี่ยวของในสังกัดกรมสงเสริมการเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน กรมชลประทาน รวมทั้ง
หนวยงานอื่นๆที่เกี่ยวของ สามารถที่จะนําผลการศึกษาระบบการผลิตการเกษตรในเขตชลประทาน
โครงการส ง น้ํ า และบํ า รุ ง รั ก ษาโดมน อ ย จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี เ พื่ อ ใช ป ระโยชน เ ป น ข อ มู ล ประกอบ
การวางแผนพัฒนาและสงเสริมพัฒนาอาชีพเกษตรกรเพื่อใหสอดคลองกับปญหาความตองการและ
ศักยภาพของพื้นที่ในเขตโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอย จังหวัดอุบลราชธานี
ปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะ
1. ปญหาอุปสรรค การวิเคราะหศักยภาพการใชที่ดินในเขตโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดม
น อ ย จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี โดยงานสํ า รวจดิ น ศู น ย ศึ ก ษาและค น คว า พั ฒ นาเกษตรกรรม ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแกน ใชเวลานานพอสมควรเนื่องจากตองใชเวลาตรวจสอบความ
ถูกตองของขอมูล จึงมีผลใหการรวบรวมรายงานเปนรูปเลมลาชาไปบาง
2. ขอเสนอแนะ การประสานการดําเนินงานรวมกับเจาหนาที่ของหนวยงานอื่นๆ นอกจาก
กรมสงเสริมการเกษตร เชน กรมพัฒนาที่ดิน กรมชลประทาน กรณีที่มีคาใชจายเกี่ยวกับการจัดทํา
20

เอกสารเพื่ อ ประกอบการจั ด ทํ า รายงานการศึ ก ษา ผู ศึ ก ษาจะต อ งเสนอรายละเอี ย ดงบประมาณ


คาใชจายสวนนี้ไวเพื่อความสะดวกในการบริหารจัดการดานงานการศึกษา ดังนี้
การพัฒนาการผลิตในเขตโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอย
2.1.1 สงเสริมใหเกษตรกรไดปรับปรุงบํารุงดินโดยใชปุยหมักหรือปุยคอกอัตรา 1.5-2
ตัน/ไร หรือปลูกพืชสดแลวไถกลบลงดิน เมื่อพืชปุยสดออกดอกประมาณ 50 เปอรเซ็นต
2.1.2 ส งเสริมการใชเ มล็ดขา วพัน ธุดี โดยการใชรูปแบบโครงการศู นย สง เสริ มและ
ผลิตพันธุขาวชุมชน ที่กรมสงเสริมการเกษตรดําเนินการอยูใหกระจายครอบคลุมพื้นที่ชลประทานในเขต
โครงการฯ
2.2 การพัฒนาการผลิตพริกในเขตโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอย
2.2.1 กําหนดเขตสงเสริมในเขตพื้นที่ชลประทานที่เกษตรกรมีองคความรูเดิมอยูแลว
เชน ตําบลดอนจิก
2.2.2 มีการประสานเครือขายดานการตลาดอยางมีระบบและกวางขวางมากยิ่งขึ้น
2.2.3 มีการพัฒนาผลิตภัณฑพริกแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลคาใหมากยิ่งขึ้น รวมทั้งมีการ
ควบคุมคุณภาพมาตรฐาน
2.3 การพัฒนาการผลิตถั่วลิสงในเขตโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอย
2.3.1 กําหนดเขตสงเสริมในเขตพื้นที่ชลประทานที่เกษตรกรมีองคความรูเดิมอยูแลว
2.3.2 มีการประสานเครือข า ยดา นการตลาด หรือโรงงานที่แปรรูปผลิตภั ณฑจ าก
ถั่วลิสงอยางมีระบบ

ผูรวมดําเนินการ(ถามี)
1. นายวิจิตร รินทระ นักวิชาการสงเสริมการเกษตร 8ว สํานักสงเสริมและพัฒนาการเกษตรเขต
ที่ 4 จังหวัดขอนแกน หนาที่เก็บรวบรวมขอมูล คิดเปน 2 %
2. นายธรรมนูญ บุญไกรสร นักวิชาการเกษตร 8ว สํานักสงเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4
จังหวัดขอนแกน มีหนาที่เก็บรวบรวมขอมูล คิดเปน 2 %
3. นางกรวิภา กลางเคื่อม นักวิชาการเกษตร 7ว สํานักสงเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4
จังหวัดขอนแกน มีหนาที่เก็บรวบรวมขอมูล คิดเปน 2 %
4. นายฉลาด นันทโพธิเดช นักวิชาการเกษตร 7ว สํานักสงเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4
จังหวัดขอนแกน มีหนาที่เก็บรวบรวมขอมูล คิดเปน 2 %
5. นายอาคม จงอริยตระกูล นักวิชาการเกษตร 7ว สํานักสงเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4
จังหวัดขอนแกน มีหนาที่เก็บรวบรวมขอมูล คิดเปน 2 %
21

6. นายโสพิศ ปญญาบุตร นักวิชาการเกษตร 7ว สํานักสงเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4


จังหวัดขอนแกน มีหนาที่เก็บรวบรวมขอมูล คิดเปน 2 %

สวนของงานที่ผูเสนอเปนผูปฏิบัติ
วางแผน กําหนดขอบเขตการศึกษา จัดทําแบบสัมภาษณ ดําเนินการศึกษา วิเคราะหขอมูล
สรุปผลการศึกษาและรายงานผล ทั้งหมด 88%
22

เอกสารอางอิง

กรมการคาภายใน.2547. มาตรการรับจํานําขาวเปลือกนาป ปการผลิต 2546/2547.แหลงที่มา:


http://www.dit.go.th/napee_47/meeting_rice1.html 8 มิถุนายน 2547

โครงการวิ จัย ระบบการทํา ฟารม และกองแผนงานและโครงการพิ เ ศษ.2528. ระบบเกษตรกรรม


โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอย .

โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอย จังหวัดอุบลราชธานี.2547. ขอมูลรายละเอียดโครงการสงน้ํา


และบํารุงรักษาโดมนอย จังหวัดอุบลราชธานี.(อัดสําเนา)

งานสํารวจดิน ศูนยศึกษาและคนควาพัฒนาเกษตรกรรม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแกน.


2547.ข อ มู ล กลุ ม ชุ ด ดิ น ในเขตโครงการส ง น้ํ า และบํ า รุ ง รั ก ษาโดมน อ ย จั ง หวั ด
อุบลราชธานี.(อัดสําเนา)

ทวี ถาวโร.2540 .วั ฒ นธรรมการใช น้ํ า ของชาวบ า นเขตชลประทานลํ า ปาว.รายงานการวิ จั ย


สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วิชัย สุภาโสด.2547.การพัฒนาระบบชลประทานและการจัดการน้ํา:ศักยภาพและทิศทางใน
อนาคต. เอกสารประกอบการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง แนวทางการพัฒนางานและระบบ
ขอมูลการเกษตรชลประทาน.วันที่10-12 มีนาคม 2547 ณ โรงแรมรอยัลฮิล รีสอรท จังหวัด
นครนายก.(อัดสําเนา)

วิ ริ ย ะ ลิ ม ปนั น ทน และสุ เ ธี ย ร นามวงศ . 2537.แนวคิ ด เกี่ ย วกั บ การวิ เ คราะห พื้ น ที่ ช นบท และ
ครัวเรือน. เอกสารประกอบการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรการประเมินสภาวะชนบท
อยางเรงดวน(RRA). โครงการพัฒนาเกษตรชลประทานที่ยั่งยืน(SIRAP).รุนที่ 3 วันที่ 22-28
พฤษภาคม 2537 ณ นิศราวรรณ รีสอรท จังหวัดมหาสารคาม รุนที่ 4 วันที่ 5-11 มิถุนายน 2537
ณ โรงแรมไหมไทย จังหวัดรอยเอ็ด.(อัดสําเนา)

ศูนยอุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดอุบลราชธานี. 2543.ขอมูลสภาพภูมิอากาศ 30 ป


ตั้งแตป 1971-2000.(อัดสําเนา)

สํานักงานเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. 2532.การวิเคราะหพื้นที่โครงการชลประทานลําโดมนอย.
23

สํานักงานเกษตรอําเภอพิบูลมังสาหารและอําเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี. 2547. ปฏิทินการปลูก


พืชในเขตพื้นที่โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาโดมนอย จังหวัดอุบลราชธานี.

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2547.เนื้อที่ ผลผลิต ผลผลิตตอไร ราคาและมูลคาของผลผลิต


ตามราคาที่ เ กษตรกรขายได ป เ พาะปลู ก 2535/2536-2544/2545.แหล ง ที่ ม า:
http://www.oae.go.th/statistic/year book/2001-02/section 1/sec 1table2.xls.10 มิถุนายน 2547.

สํานักงานสงเสริมการเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแกน.2544.สภาพการเพาะปลูกพืช
เศรษฐกิจในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ป 2542/2543.(อัดสําเนา)

_______________.ไม ป รากฏป ที่ พิ ม พ . ผลการวิ เ คราะห พื้ น ที่ โ ครงการชลประทานลํ า โดมน อ ย


จังหวัดอุบลราชธานี.

สุรัตน สงวนทรัพย.2547.การสงเสริมการเกษตรในเขตชลประทาน อดีต-ปจจุบัน-อนาคต.เอกสาร


ประกอบการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง แนวทางการพัฒนางานและระบบขอมูลการเกษตร
ชลประทาน.วันที่ 10-12 มีนาคม 2547 ณ โรงแรมรอยัลฮิล รีสอรท จังหวัดนครนายก.(อัดสําเนา)

สุวั ฒ น วิช าชัย .2539. การศึกษาเปรียบเทีย บลักษณะบางประการที่ มี ผลตอประสิ ทธฺ ผ ลการ


ดําเนินงานกลุมบริหารการใชน้ําชลประทาน ในโครงการชลประทานลําปาว จังหวัด
กาฬสินธุ.วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแกน.

สุเธียร นามวงศ. ไมปรากฏปที่พิมพ.”คุณลักษณะการประเมินสภาวะชนบทอยางเรงดวน” น.49-52


รายงานการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรการประเมินสภาวะชนบทอยางเรงดวน.
โครงการพัฒนาการเกษตรชลประทานที่ยั่งยืน. รุนที่ 4 วันที่ 5-11 มิถุนายน 2537 ณ โรงแรม
ไหมไทย จังหวัดรอยเอ็ด.(อัดสําเนา)

Conway, G . 1984. Agroecosystem Analysis for Research and Development. อางโดย ประสิทธิ์
ประคองศรีและอรรถชัย จินตะเวช.2529. การวิเคราะหระบบนิเวศเกษตร.ขอนแกน.(อัดสําเนา)

Rambo, T.A.and P.E.Sajise.1984.Introduction: Human Ecology Research on Tropical


Agriculture in Southeast Asia .In Rambo,Terry A.and Sajise, Percy E. (eds),An
Introduction to Human Ecology Research on Agriculture in Southeast Asia,
pp.1-24.Phillippines. University of The Phillippines of Los Banos.
24

ขอรับรองวาผลงานเรื่อง ศึกษาระบบการผลิตการเกษตรในเขตชลประทานโครงการสงน้ําและ
บํารุงรักษาโดมนอย จังหวัดอุบลราชธานีดังกลาวขางตนเปนความจริงทุกประการ

ลงชือ่ .........................................................
(นายดํารง อินศร)
………../……………………./………….

ขอรับรองวาสัดสวนหรือลักษณะงานในการดําเนินการของผูเสนอขางตนถูกตองตรงกับ
ความเปนจริงทุกประการ

ลงชื่อ......................................... ลงชื่อ.....................................
(นายวิจิตร รินทระ) (นายธรรมนูญ บุญไกรสร)
ผูรว มดําเนินการ ผูรวมดําเนินการ

ลงชื่อ......................................... ลงชื่อ.....................................
(นางกรวิภา กลางเคื่อม) (นายฉลาด นันทโพธิเดช)
ผูรว มดําเนินการ ผูรวมดําเนินการ

ลงชื่อ......................................... ลงชื่อ.....................................
(นายอาคม จงอริยตระกูล) (นายโสพิศ ปญญาบุตร)
ผูรว มดําเนินการ ผูรวมดําเนินการ
25

ไดตรวจสอบแลว ขอรับรองวาผลงานดังกลาวขางตนถูกตองตรงกับความเปนจริงทุกประการ
ลงชื่อ.........................................
(...............................................)
ตําแหนง................................................
............./............./.............
(ผูบงั คับบัญชาที่ควบคุมดูแลการดําเนินการ)

ลงชื่อ.........................................
(...............................................)
ผูอํานวยการสํานัก..................................................
............./............./.............
26

หลักฐานอางอิง
เอกสารรายงานการศึกษา เรื่องศึกษาระบบการผลิตการเกษตรในเขตชลประทานโครงการสงน้ํา
และบํารุงรักษาโดมนอย จังหวัดอุบลราชธานี ของนายดํารง อินศร นักวิชาการสงเสริมการเกษตร 7ว
สํานักงานเกษตรจังหวัดอุบลราชธานีและคณะ สังกัด กลุมสงเสริมและพัฒนาการผลิต สํานักงาน
เกษตรจังหวัดอุบลราชธานี กรมสงเสริมการเกษตร ทะเบียนวิจัยเลขที่ 47-004012-02-0941

You might also like