You are on page 1of 4

วิธก

ี ารวิจารณ์งานวิจ ัย

พิจารณาไปตามส่วนประกอบในรายงานวิจัย ดังนี้

๑. ห ัวข้อเรือ ่ งต่อไปนี ้
่ งการวิจ ัย พิจารณาในเรือ

๑.๑ มีความชัดเจนและรัดกุมเพียงใด

๑.๒ ระบุตวั แปรอิสระและตัวแปรตามหรือไม่

่ ตัวอย่างทีใ่ ช ้ในการวิจัยหรือไม่
๑.๓ ระบุกลุม

๑.๔ บอกขอบเขตของการวิจัยหรือไม่

๑.๕ บอกแนวทางหรือแบบการวิจัยหรือไม่

๑.๖ สามารถหาคำตอบด ้วยวิธก


ี ารวิจัยได ้หรือไม่

๒. ความเป็นมาและความสำค ัญของปัญหา รายงานการวิจ ัยบางฉบ ับใชค ้ ำว่า ภูมห


ิ ล ัง หล ักการและ
เหตุผล หรือบทนำ ทงหมดนี
ั้ ล ้ ว้ นมีความหมาย เดียวก ันทงส ิ้ พิจารณาในเรือ
ั้ น ่ งต่อไปนี้

๒.๑ ความเป็ นมาของปั ญหาชัดเจนเพียงใด

๒.๒ เสนอแนวคิดให ้เห็นว่าปั ญหาทีเ่ กิดขึน


้ ควรศึกษา เพราะเหตุใด และก่อให ้เกิดประโยชน์หรือไม่ อย่างไร

๒.๓ เสนอให ้ทราบว่าการศึกษาปั ญหานัน


้ มุง่ ศึกษาหรือแก ้ปั ญหาในประเด็นใด ชัดเจนเพียงใด

๒.๔ เสนอให ้ทราบว่าสิง่ ทีเ่ ป็ นปั ญหานัน


้ เกิดขึน
้ ตามสภาวะหรือสภาพทีเ่ ป็ นจริงในปั จจุบน
ั หรือไม่ อย่างไร และ
มีความทันสมัยแค่ไหน

๒.๕ เสนอให ้ทราบว่าการศึกษาตัวแปรของปั ญหา นัน


้ ๆ อาศัยทฤษฎีหรือหลักการใด ๆ หรือไม่ อย่างไร

๒.๖ การบรรยายรายละเอียดของปั ญหา ได ้เสนอไว ้อย่างมีระบบตามความสัมพันธ์ของสิง่ ทีเ่ กีย


่ วข ้อง หรือไม่
อย่างไร

่ งต่อไปนี้
๓. ว ัตถุประสงค์ของการวิจ ัย พิจารณาในเรือ

๓.๑ มีความสอดคล ้องกับหัวข ้อเรือ


่ งการวิจัยหรือไม่

๓.๒ บอกเป้ าหมายของการวิจัยได ้ชัดเจน เพียงใด

๓.๓ บอกแนวทางในการดำเนินการวิจัย หรือไม่

่ งต่อไปนี้
๔. สมมติฐานของการวิจ ัย พิจารณาในเรือ

๔.๑ มีความสอดคล ้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยหรือไม่

๔.๒ มีความสมเหตุสมผลตามทฤษฎี หลักการและข ้อเท็จจริงเพียงใด

๔.๓ สามารถอธิบายหรือตอบคำถามปั ญหาการวิจัยได ้ครบถ ้วนหรือไม่ และอยูใ่ นรูปแบบทีจ


่ ะลงข ้อสรุปว่าจะ
สนับสนุนหรือคัดค ้านได ้หรือไม่

๔.๔ สามารถทำการทดสอบทางสถิตไิ ด ้ หรือไม่

๔.๕ ตัง้ ขึน


้ อยูใ่ นรูปแบบสมมติฐานอืน
่ (H1 : Alternative Hypothesis) หรือไม่
่ งต่อไปนี้
๕. ขอบเขตของการวิจ ัย พิจารณาในเรือ

๕.๑ มีขอบเขตเพียงพอทีจ
่ ะพิจารณาตัวแปรต่าง ๆ ได ้อย่างถูกต ้องและทั่วถึงเพียงใด

๕.๒ ระบุขอบเขตไว ้ชัดเจนเพียงใด

๖. คำจำก ัดความทีใ่ ชใ้ นการวิจ ัย พิจารณาในเรือ


่ งต่อไปนี้

ื่ ๆ ทีใ่ ช ้ในการวิจัยไว ้ชัดเจนเพียงใด และอยูใ่ นรูปนิยามเชิง


๖.๑ ให ้คำจำกัดความของตัวแปรและคำศัพท์อน
ปฏิบต
ั ก
ิ ารหรือไม่
่ ถือได ้หรือไม่
๖.๒ คำจำกัดความดังกล่าวมีเหตุผล และหลักฐานอ ้างอิงทีเ่ ชือ

๖.๓ การใช ้คำจำกัดความดังกล่าวในรายงานการวิจัยมีความคงเส ้นคงวาเพียงใด

๗. ประโยชน์ทค ่ งต่อไปนี้
ี่ าดว่าจะได้ร ับ พิจารณาในเรือ

๗.๑ มีคณ ่ ำคัญเพียงพอทีจ


ุ ค่าและมีประเด็นทีส ่ ะสนองความต ้องการของหน่วยงานและสังคมเพียงใด

๗.๒ มีคณ
ุ ค่าในด ้านทฤษฎี ด ้านปฏิบต
ั ก
ิ าร และด ้านการบริหาร มากน ้อยเพียงใด

๘. การทบทวนเอกสารและวรรณคดีทเี่ กีย ่ งต่อไปนี ้


่ วข้อง พิจารณาในเรือ

๘.๑ เสนอทฤษฎีและงานวิจัยทีเ่ กีย


่ วข ้องกับ ตัวแปรทีต
่ ้องการศึกษาได ้ครบถ ้วนหรือไม่

๘.๒ เสนอกรอบทฤษฎีทม
ี่ ค
ี วามเหมาะสมกับปั ญหาการวิจัยหรือไม่

๘.๓ งานวิจัยทีเ่ กีย


่ วข ้องมีความทันสมัยเพียงใด

๘.๔ เสนอในลักษณะนำทฤษฎีหรือข ้อมูลต่าง ๆ และงานวิจัยทีเ่ กีย ่ มโยงปั ญหา เพือ


่ วข ้องมาเชือ ่ ให ้ผู ้อ่านมอง
เห็นความสัมพันธ์หรือไม่

๘.๕ เสนอในลักษณะของการจัดหมวดหมูค
่ วามเกีย
่ วข ้องให ้เห็นถึงความขัดแย ้ง และความสอดคล ้อง โดยมี
ตัวแปรทีศ ึ ษาเป็ นหลักหรือไม่
่ ก

่ งต่อไปนี้
๙. การออกแบบการวิจ ัย พิจารณาในเรือ

๙.๑ มีความเหมาะสมกับดำเนินการวิจัยหรือไม่

๙.๒ สามารถควบคุมตัวแปรทุกตัว อย่างทีค


่ วรจะเป็ นหรือไม่ กล่าวคือ

- ทำให ้เกิดความแปรปรวนของตัวแปรตาม อันเนือ


่ งมาจากตัวแปรอิสระให ้มีคา่ สูงสุด (Maximization of
systematic variance : MAX)

- ทำให ้เกิดความแปรปรวนของตัวแปรตาม อันเนือ


่ งมาจากความคลาดเคลือ
่ นต่าง ๆ มีคา่ ต่ำสุด
(Minimization of error variance : MIN)

- ควบคุมความแปรปรวน อันเกิดจากตัวแปรแทรกซ ้อนและตัวแปรเกินทีจ


่ ะส่งผลต่อ ตัวแปรตาม ( Control
extraneous systematic variance : CON)

๙.๓ มีความเทีย
่ งตรงภายในหรือไม่ กล่าวคือ ผลการวิจัยทีไ่ ด ้เกิดจากการกระทำของตัวแปรอิสระทีศ ึ ษา ไม่ม ี
่ ก
ตัวแปรหรือเหตุการณ์อนื่ แทรกซ ้อนเข ้ามา

๙.๔ มีความเทีย ่ ถือได ้ สามารถอ ้างอิงไปสู่


่ งตรงภายนอกหรือไม่ กล่าวคือ ผลสรุปจากการวิจัยมีความเชือ
ประชากรได ้ ใช่หรือไม่
๑๐. ประชากรและกลุม ่ ง ต่อไปนี้
่ ต ัวอย่าง พิจารณาในเรือ

๑๐.๑ มีการกำหนดขอบข่ายของประชากรทีศ ึ ษาหรือไม่ และชัดเจนเพียงใด


่ ก

๑๐.๒ กลุม
่ ตัวอย่างทีศ ึ ษาเป็ นตัวแทนประชา-กรได ้ดีเพียงไร
่ ก

๑๐.๓ เทคนิคการเลือกกลุม ่ ตัวอย่างเหมาะสม สอดคล ้องกับลักษณะของประชากรทีศ ึ ษาหรือไม่ การอธิบายวิธ ี


่ ก
การเลือกกลุม
่ ตัวอย่างชัดเจนเพียงใด

๑๐.๔ ขนาดของกลุม
่ ตัวอย่างมีจำนวนมากพอทีจ
่ ะเป็ นตัวแทนได ้หรือไม่

่ งมือทีใ่ ชใ้ นการวิจ ัย พิจารณาในเรือ


๑๑. เครือ ่ ง ต่อไปนี้

๑๑.๑ มีความเหมาะสมกับข ้อมูลทีต


่ ้องการเก็บรวบรวมหรือไม่

๑๑.๒ มีคณ
ุ ภาพเพียงใด กล่าวคือมีความเทีย ่ มั่นมากน ้อยเพียงใด
่ งตรง และมีความเชือ

๑๑.๓ มีระบบการให ้คะแนนและการแปลความหมายคะแนนอย่างไร

๑๑.๔ เป็ นเครือ่ งมือทีผ่ ู ้วิจัยสร ้างขึน


้ เอง หรือ ดัดแปลง พัฒนามาจากของผู ้อืน
่ ในกรณีทด
ี่ ด
ั แปลง พัฒนามาจาก
ของผู ้อืน
่ หรือจากเครือ่ งมือทีใ่ ช ้ใน ต่างประเทศ ได ้มีการตรวจสอบคุณภาพใหม่ หรือพิจารณาความเหมาะสมในแง่
ระดับความรู ้ อายุของกลุม ่ ตัวอย่างทีท ่ ำการศึกษาหรือไม่

๑๑.๕ การตรวจสอบความเทีย ่ งตรง และการหาความเชือ ่ มั่นของเครือ


่ งมือ ใช ้วิธก
ี ารทีเ่ หมาะสมกับชนิดของ
เครือ
่ งมือนัน
้ ๆ หรือไม่ และวิธก
ี ารอธิบาย เป็ นขัน
้ ตอน มีความชัดเจนเพียงใด

่ งต่อไปนี้
๑๒. การเก็บรวบรวมข้อมูล พิจารณาในเรือ

๑๒.๑ มีความสอดคล ้องกับแบบการวิจัยหรือไม่

๑๒.๒ มีการกำหนดวิธก
ี ารเก็บรวบรวมข ้อมูลไว ้ชัดเจนเพียงใด

๑๒.๓ มีการจัดแยกประเภทข ้อมูลเพือ


่ สะดวกต่อการนำไปวิเคราะห์ทางสถิตต
ิ อ
่ ไปหรือไม่

๑๒.๔ ขัน
้ ตอนในการเก็บรวบรวมข ้อมูลมีความรอบคอบ ระมัดระวัง ป้ องกันการผิดพลาดทีอ
่ าจจะเกิดขึน
้ หรือไม่

๑๓. การวิเคราะห์ขอ ่ งต่อไปนี้


้ มูล พิจารณาในเรือ

่ ะใช ้วิธก
๑๓.๑ ข ้อมูลมีจำนวนเพียงพอทีจ ี ารทางสถิตแ
ิ ต่ละชนิดในการทดสอบสมมติฐานหรือไม่

ิ ใี่ ช ้ในการวิเคราะห์ข ้อมูลมีความสอดคล ้องกับวัตถุประสงค์และสมมติฐานของการวิจัย หรือไม่


๑๓.๒ สถิตท

๑๓.๓ สถิตทิ ใี่ ช ้ในการวิเคราะห์ข ้อมูลมีความเหมาะสมกับระดับข ้อมูล และข ้อตกลงเบือ


้ งต ้นของวิธก
ี ารทางสถิต ิ
นัน
้ ๆ หรือไม่

๑๔. การนำเสนอผลการวิเคราะห์ขอ ่ งต่อไปนี ้


้ มูล พิจารณาในเรือ

๑๔.๑ มีการนำเสนอข ้อมูลด ้วยแผนภูม ิ กราฟ ตาราง หรือภาพ เพือ


่ ให ้การอ่านผลการวิเคราะห์ ข ้อมูลเข ้าใจได ้
ง่ายหรือไม่ และมีความเหมาะสมเพียงใด

๑๔.๒ การสร ้างแผนภูม ิ กราฟ ตารางเป็ นไปตามหลักเกณฑ์หรือไม่

่ วกับเส ้นต่าง ๆ ในแผนภูม ิ กราฟ ตาราง ได ้ถูกต ้องชัดเจนเพียงใด


๑๔.๓ มีการให ้สัญลักษณ์เกีย

๑๔.๔ ข ้อความทีใ่ ช ้อธิบาย แผนภูม ิ กราฟ ตาราง มีความชัดเจนและถูกต ้องสอดคล ้องกับ ผลการวิเคราะห์ทไี่ ด ้
หรือไม่ เพียงใด
๑๔.๕ มีการให ้ความหมายของสัญลักษณ์ของค่าสถิตต
ิ า่ ง ๆ ในตารางหรือไม่ และมีความถูกต ้องเพียงใด

๑๔.๖ มีการแสดงระดับนัยสำคัญทางสถิตข
ิ องค่าสถิตท
ิ วี่ เิ คราะห์ได ้ในตารางด ้วยหรือไม่

๑๔.๗ การแปลความหมายผลการวิเคราะห์สอดคล ้องกับวิธก ิ ใี่ ช ้หรือไม่


ี ารทางสถิตท

่ งต่อไปนี ้
๑๕. การอภิปรายผลการวิจ ัยและข้อเสนอแนะ พิจารณาในเรือ

๑๕.๑ ข ้อความทีใ่ ช ้ในการอภิปรายนั น


้ เขียนขึน
้ โดยอาศัยหลักฐานจากเอกสารและงานวิจัย ทีเ่ กีย่ วข ้องทีไ่ ด ้นำ
เสนอไว ้ในตอนต ้น และอาศัยความรู ้ และประสบการณ์ของผู ้วิจัยตลอดจนข ้อสังเกตทีไ่ ด ้ระหว่างการทำวิจัย เป็ น
หลักในการอภิปรายผลหรือไม่

่ ำมาใช ้อ ้างอิง สมเหตุสมผลทันสมัยและเกีย


๑๕.๒ หลักฐานและเหตุผลทีน ่ วข ้องกับปั ญหาทีศ ึ ษามากน ้อย
่ ก
เพียงใด

๑๕.๓ การอภิปรายผลเรียงลำดับเป็ นขัน


้ ตอน สอดคล ้องกับจุดมุง่ หมายหรือสมมติฐานการวิจัย หรือไม่

๑๕.๔ มีการเสนอแนะถึงการนำผลการวิจัยไปใช ้แก ้ปั ญหาในกรณีตา่ ง ๆ หรือไม่

๑๕.๕ มีการเสนอแนะเกีย
่ วกับการทำวิจัยในประเด็นต่าง ๆ ต่อไปหรือไม่

่ งต่อไปนี ้
๑๖. รูปแบบและแนวการเขียนรายงาน พิจารณาในเรือ

๑๖.๑ การจัดเรียงลำดับเนือ
้ หาถูกต ้องและเหมาะสมหรือไม่

๑๖.๒ ภาษาทีใ่ ช ้มีความกะทัดรัด ชัดเจน และเข ้าใจง่ายหรือไม่

๑๖.๓ การใช ้คำและภาษาในรายงานการวิจัยมี ความคงที่ เสมอต ้น เสมอปลาย เพียงใด

๑๖.๔ การเว ้นวรรคตอน ตัวสะกด การันต์ มีความถูกต ้องเพียงใด

๑๖.๕ การเขียนบรรณานุกรมมีความถูกต ้องหรือไม่

๑๖.๖ การจัดทำรูปเล่มมีความเรียบร ้อย ปราณีต หรือไม่ เพียงใด

Link : http://thasanawan.blogspot.com/2013/07/blog-post.html

You might also like