You are on page 1of 19

การวิพากษ ์วรรณกรรมปฐมภู มต

ิ ามแนวทางของ PRISMA 2009


Checklist
การฝึ กปฏิบต ั งิ านบริบาลทางเภสัชกรรมด้านสารสนเทศทางยา
ผลัดที่ 1 โรงพยาบาลบางปลาม้า ระหว่างวน ั ที่ 22 พฤษภาคม 2561
ถึง 15 มิถน
ุ ายน 2561
นศภ.ณัชชา ศรีเบญจภานนท ์ รหัส 562612
้ั ที่ 6
นักศึกษาเภสัชศาสตร ์ชนปี
Individual non-steroidal anti-inflammatory drugs and risk of
acute kidney injury:
A systematic review
มหาวิทยาลัand
ยหัวmeta-analysis
เฉี ยวเฉลิมพระเกี of ย
observational
รติ
studies
วารสาร: European Journal of Internal Medicine 2015
ผูท
้ าการศึกษา: Patompong Ungprasert, Wisit Cheungpasitporn
และคณะ
หัวข้อ ลาดับ รายละเอียด
TITLE
Title 1 มีวลีทท ี่ าให้ผอ ู้ า่ นรูว้ า่ รายงานนี้เป็ น systematic review, me
หรือทัง้ สองอย่าง
ABSTRACT
Structured 2 มีบทคัดย่อทีม ่ ีแบบแผน ได้แก่ background; objectives; d
summary eligibility criteria, participants, and interventions; stu
synthesis methods; results; limitations; conclusions
of key findings; systematic review registration numb
INTRODUCTION
Rationale 3 บรรยายเหตุผลทีท ่ าการทบทวนวรรณกรรม ในบริบทของความ
Objectives 4 ระบุปญ ั หาทีต ่ อ ้ งการจะตอบอย่างชัดเจน ว่าจะประเมินยาหรือก
ในประชากรกลุม ่ ใด เทียบกับอะไร โดยวัดผลดีผลเสียแบบใด ด
(PICOS).
METHODS
Protocol and 5 ระบุวา่ ได้มีการเขียนแผนการวิจยั (review protocol)หรือไม่
registration และจะสามารถค้นมาอ่านได้หรือไม่จากแหล่งใด
หรือได้ลงทะเบียนไว้ทใี่ ดพร้อมรายละเอียดและเลขทะเบียน
Eligibility 6 ระบุเกณฑ์การคัดวรรณกรรมเข้าสูก ่ ระบวนการทบทวน (เช่น P
criteria ระยะเวลาการติดตามผูป ้ ่ วย) ลักษณะ
ของรายงาน (เช่น ปี ทีท ่ าการศึกษา ภาษา การตีพม ิ พ์) พร้อมทัง้
Information 7 บรรยายแหล่งข้อมูลทีส ่ ืบค้นทัง้ หมด (เช่น ใช้ฐานข้อมูลใดระหว
sources ติดต่อผูท้ าการวิจยั เพือ
่ สืบค้นงานวิจยั ทีย่ งั ไม่ตพ ี มิ พ์หรือไม่)
พร้อมทัง้ วันสุดท้ายทีไ่ ด้ทาการสืบค้น
Search 8 ให้รายละเอียดของวิธีการทีใ่ ช้สืบค้นจากฐานข้อมูลอย่างน้อยหน
โดยมีรายละเอียดเพียงพอทีผ ่ อ
ู้ า่ นจะทาตามและได้ผลเช่นเดียวก
Study 9 ให้รายละเอียดระเบียบวิธีคดั เลือกวรรณกรรมทีน ่ ามาทบทวน (เ
selection เกณฑ์ทใี่ ช้ในการยอมรับเข้ามาทบทวน และรวมข้อมูลในการว
analysis)
Data 10 บรรยายวิธีเก็บข้อมูลจากวรรณกรรม (เช่น การใช้แบบฟอร์ม
collection การเก็บข้อมูลทาโดยผูว้ จิ ยั สองคนโดยไม่ขน ึ้ ต่อกันหรือไม่)
process และขัน ้ ตอนการสืบค้นข้อมูลหรือยืนยันข้อมูลจากผูว้ จิ ยั ของราย
Data items 11 ให้รายละเอียดของตัวแปรทีเ่ ก็บ (เช่น PICOS, แหล่งทุน) การ
และการปรับปรุงข้อมูลทีร่ ายงานให้เป็ นไปตามโครงการวิจยั
Risk of bias in 12 บรรยายวิธีประเมินความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดอคติในแต่ละรายงาน (รว
individual การประเมินทัง้ รายงาน หรือเฉพาะวิธีทวี่ ดั ผลดีผลเสียของแต่ละ
studies และได้ใช้ผลการประเมินนี้ในการสังเคราะห์ขอ ้ มูลเพือ ่ การทบท
Summary 13 ระบุวธิ ีสรุปข้อมูล (เช่น risk ratio, difference in means)
measures
Synthesis of 14 บรรยายวิธีจดั การข้อมูล และรวมข้อมูลเพือ ่ การวิเคราะห์ตามทีเ่
results รวมถึงวิธีประเมินความเข้ากันได้ (เช่น I2) ในกรณีทท ี่ าการวิเค
analysis
Risk of bias 15 ระบุวธิ ีประเมินความเสีย่ งทีจ่ ะเกิคอคติในการรวมข้อมูล (เช่น
across ความลาเอียงในการตีพม ิ พ์ และการรายงาน
studies เฉพาะบางประเด็น)
Additional 16 บรรยายวิธีวเิ คราะห์ขอ้ มูลเพิม ่ เติม ถ้ามี (เช่น การวิเคราะห์ควา
analyses การวิเคราะห์กลุม่ ย่อย และ metaregression)
และระบุวา่ การวิเคราะห์นน ้ ั ได้วางแผนไว้ตง้ ั แต่ตน ้ หรือไม่
RESULTS
Study 17 ระบุจานวนรายงานทีไ่ ด้รบ ั การคัดกรองว่าเข้าเกณฑ์หรือไม่
selection และจานวนรายงานทีเ่ ข้าเกณฑ์การรับเข้าจานวนรายงานทีเ่ ข้าเก
และจานวนรายงานทีไ่ ด้รบ ั การประเมินโดยสมบูรณ์ เพือ ่ เก็บข้อม
พร้อมทัง้ เหตุผลสาหรับรายงานทีถ ่ ูกคัดออกในแต่ละขัน ้ ตอน
โดยควรแสดงในรูปแบบไดอะแกรม
Study 18 นาเสนอรายละเอียดของแต่ละรายงานในประเด็นทีไ่ ด้รบ ั การเก
characteristics ขนาดของการศึกษา PICOS, ระยะเวลาการติดตามผูป ้ ่ วย เป็ น
พร้อมกับการอ้างอิง
Risk of bias 19 นาเสนอผลการประเมินความเสีย่ งทีจ่ ะเกิคอคติในการรวมข้อมูล
within โดยเฉพาะสาหรับผลดี ผลเสีย ทีเ่ ป็ นคาถามของการวิจยั
studies (โดยวิธีทไี่ ด้แสดงไว้ในลาดับที่ 12)
Results of 20 นาเสนอผลการวิจยั ของแต่ละรายงาน ตามจุดประสงค์ของการท
individual ทัง้ ผลดีและผลเสีย โดยนาเสนอผลของยาหรือการรักษาแต่ละอย
studies ในรูปแบบทีด ่ งู า่ ย และทัง้ ผลและช่วงค่าความเชือ ่ มั่นของแต่ละร
ในรูปแบบเดียวกัน ซึง่ ควรเป็ นรูปแบบกราฟ forest plot.
Synthesis of 21 นาเสนอผลการวิจยั ของ meta-analysis รวมทัง้ ช่วงค่าความเช
results และความเข้ากันได้ของรายงานทีไ่ ด้นามารวมกันวิเคราะห์
Risk of bias 22 นาเสนอผลการประเมินความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดอคติในการรวบรวมข
across (โดยวิธีทไี่ ด้แสดงไว้ในลาดับที่ 15)
studies
Additional 23 นาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ ้ มูลเพิม
่ เติม ถ้ามี (เช่น การวิเคราะห
analysis การวิเคราะห์กลุม
่ ย่อย และ meta regression) โดยวิธีทไี่ ด้แส
DISCUSSION
Summary of 24 สรุปผลการทบทวนวรรณกรรมในประเด็นทีไ่ ด้ตง้ ั ไว้เป็ นวัตถุปร
evidence รวมทัง้ ความหนักแน่ นของหลักฐาน
ทีไ่ ด้รวมรวมมา รวมถึงในมุมมองกับผูใ้ ช้ผลงานการทบทวนวร
แพทย์ผใู้ ห้การดูแลรักษาผูป ้ ่ วย ผูก
้ าหนดนโยบาย)
Limitations 25 อภิปรายข้อจากัดของการทบทวนวรรณกรรม (เช่น ความเสีย่ งท
และข้อจากัดทางเทคนิกของการทางาน (เช่น ไม่สามารถหาผลง
หรือการค้นพบอคติในรายงาน)
Conclusions 26 ระบุผลสรุป รวมทัง้ ความหมายของผลสรุปทีไ่ ด้ ในบริบทของห
ทีเ่ กีย่ วข้องกับประเด็นทีท
่ บทวนความจาเป็ นและแนวทางทีค
่ วร
FUNDING
Funding 27 บรรยายแหล่งทุนทีส
่ นับสนุนการดาเนินการทบทวนวรรณกรรม
การสนับสนุนแบบอืน ่ (เช่น
การช่วยให้ได้มาซึง่ ข้อมูล) บทบาทของผูใ้ ห้ทุน

Title
1. Title
ชือ
่ การศึกษามีความชัดเจนและมีการบอกประเภทของการศึกษา คือ A
systematic review and meta-analysis of observational studies

Abstract
2. Structured summary
บทคัดย่อมีการกล่าวถึงทีม ่ าของการศึกษาว่า
ความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดโรคไตวายเฉี ยบพลัน (AKI)
และการใช้ยาต้านการอักเสบทีไ่ ม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAIDs)
เป็ นทีท
่ ราบกันโดยทั่วไป
แต่อย่างไรก็ตามข้อมูลเกีย่ วกับการเปรียบเทียบความเสีย่ งของยากลุม่ NSAID
แต่ละตัวรวมถึง specific COX-2 inhibitors ยังมีจานวนน้อย
กล่าวถึงวิธีการศึกษา
โดยผูว้ จิ ยั ทาการตรวจสอบอย่างเป็ นระบบและวิเคราะห์ meta-
analysisการศึกษาแบบ cohort ทีร่ ายงาน relative risk, hazard ratio
หรือ standardized incidence ratio ทีค ่ วามเชือ ่ มั่น 95%
เปรียบเทียบกับความเสีย่ งของการเกิด AKI ในผูท ้ ใี่ ช้ NSAID
เทียบกับผูท ้ ไี่ ม่ใช้ และคานวณ Pooled risk ratios และช่วงความเชือ
่ มั่น
95% ของยา NSAID แต่ละตัวโดยใช้วธิ ี random-effect และ generic
inverse variance methods
และมีการกล่าวถึงผลการศึกษาและสรุปการศึกษา
แต่บทคัดย่อไม่มีการกล่าวถึงข้อจากัดของการศึกษา

Introduction
3. Rationale
บรรยายเหตุผลทีท ่ าการทบทวนวรรณกรรม
ในบริบทของความรูใ้ นปัจจุบน ั คือ
มีขอ้ สนับสนุนอย่างชัดเจนจากหลายการศึกษาแบบ population-based
ว่าการเกิด Acute kidney injury (AKI) เกีย่ วข้องกับการใช้ NSAIDs
เทียบกับผูใ้ ช้ทไี่ ม่ใช้ยา
อย่างไรก็ตามยังมีขอ ้ มูลไม่ชดั เจนเกีย่ วกับความเสีย่ งของ NSAIDs แต่ละตัว
รวมถึง specific COX-2 inhibitors
จึงจาเป็ นต้องมีขอ ้ มูลเพิม่ เติมเพือ
่ หาความเสีย่ งต่อการเกิด AKI ทีเ่ กีย่ วข้องกับ
NSAIDs แต่ละตัว
เพือ ่ ช่วยแพทย์ในการเลือกวิธีการรักษาทีเ่ หมาะสมทีส ่ ุดสาหรับผูป
้ ่ วยแต่ละราย
4. Objectives
มีการระบุวตั ถุประสงค์ในบทนา คือ
เพือ ่ ทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็ นระบบและวิเคราะห์อภิมานการศึกษาเชิงสังเ
กตทีเ่ ปรียบเทียบความเสีย่ งของการเกิด AKI ในผูใ้ ช้ยา NSAID
กับผูใ้ ช้ทไี่ ม่ได้ใช้ยา เพือ
่ หา pooled risk ratios ของการเกิด AKI
ทีเ่ กีย่ วข้องกับการใช้ NSAID แต่ละตัว

Methods
5. Protocol and registration
ไม่ได้ระบุวา่ มีการเขียนแผนการวิจยั (review protocol) หรือไม่
และจะสามารถค้นมาอ่านได้หรือไม่จากแหล่งใด
หรือได้ลงทะเบียนไว้ทใี่ ดพร้อมรายละเอียดและเลขทะเบียน
6. Eligibility criteria
หน้า 2
มีการกล่าวถึงเกณฑ์การคัดเลือกวรรณกรรมเข้าสูก ่ ระบวนการทบทวน คือ
(1) การศึกษาจะเป็ นการศึกษาเชิงสังเกต (case-control หรือ cohort
study)
(2) ค่า Relative risk (RR), Odd ratios (OR), hazard ratio (HR),
standardized incidence ratio (SIR) หรือ standardized prevalence
ratio (SPR) ที่ 95% confidence intervals (CI)
หรือข้อมูลดิบทีม ่ ีขอ
้ มูลทีจ่ าเป็ นในการคานวณค่า ratio เหล่านี้และ CIs
สาหรับ NSAIDs แต่ละตัว และ
(3) ผูท
้ ีไ่ ม่ใช่ยากลุม ่ NSAIDs เป็ นกลุม ่ อ้างอิงของการศึกษาแบบ cohort
ในขณะทีผ ่ เู้ ข้าร่วมการศึกษาทีไ่ มเป็ น AKI เป็ นกลุม ่ ควบคุมสาหรับการศึกษา
case–control
7. information source
หน้า 2 มีการบรรยายถึงแหล่งข้อมูลทีส ่ ืบค้นว่า ผูว้ จิ ยั สองราย (PU and
WC) ได้สืบค้นการศึกษาทีต ่ พ
ี มิ พ์ในฐานข้อมูล Medline, EMBASE และ
Cochrane อย่างเป็ นอิสระ ตัง้ แต่เริม ่ ก่อตัง้ จนถึงเดือนกันยายนปี 2014
มีการรวบรวมคาค้นหาจากคาศัพท์สาหรับ AKI, ชือ ่ ของยาแต่ละตัว,
therapeutic class และกลไกการออกฤทธิ ์
ร่วมกับเงือ่ นไขสาหรับการศึกษาเชิงสังเกตทีไ่ ด้รบ ั การแนะนาโดย Furlan et
al [13]
8. Search
หน้า 2 มีการกล่าวถึงวิธีการสืบค้นข้อมูลโดยละเอียดอยูใ่ น
Supplementary material 1
และมีการค้นหาเอกสารอ้างอิงของบทความด้วยมือ
9. Study selection
ความเหมาะสมของการศึกษาจะได้รบ ั การพิจารณาโดยอิสระจากผูว้ จิ ยั แต่ล
ะรายทีร่ ะบุไว้ขา้ งต้น
คุณภาพของการศึกษาทัง้ หมดได้รบ ั การประเมินโดยอิสระจากผูว้ จิ ยั ทัง้ 2
รายโดยใช้ Newcastle-Ottawa quality assessment scale
ซึง่ ประเมินแต่ละการศึกษาในสามประเด็น ได้แก่ (1) การเลือกกลุม ่ การศึกษา
(2) การเปรียบเทียบกลุม ่ การศึกษาและ (3) การตรวจสอบ exposure หรือ
outcome ของการศึกษาสาหรับ case–control หรือ cohort studies
ตามลาดับ [14]
การตัดสินใจทีต ่ า่ งกันได้รบ
ั การแก้ไขโดยมติของผูว้ จิ ยั คนทีส
่ าม (C.T.)

10. Data collection process


มีการใช้แบบฟอร์มการเก็บรวบรวมข้อมูลมาตรฐาน (standardized
data collection) เพือ ่ วิธีเก็บข้อมูลจากวรรณกรรม ได้แก่
ชือ่ เรือ
่ งของบทความ, นามสกุลของผูเ้ ขียนคนแรก, ผูร้ ว่ มงานของผูเ้ ขียน,
ปี ทีต
่ พ
ี มิ พ์, ประเทศทีด
่ าเนินการศึกษา,
ขนาดของการศึกษา,ประชากรทีศ ่ ก
ึ ษา, ชือ่ ของยา NSAIDs
ทีไ่ ด้ทาการศึกษา, ความหมายและการวินิจฉัยของ AKI,
ระยะเวลาการติดตามผลเฉลีย่ ,จานวนเคสผูป ้ ่ วย, จานวนของกลุม ่ ควบคุม,
ร้อยละของเพศหญิง, ปัจจัยรบกวนทีอ ่ าจเกิดขึน ้ ทีไ่ ด้รบ
ั การ adjusted และ
adjusted pooled effect estimates ที่ 95% CI
การสกัดข้อมูลนี้ดาเนินการโดยผูว้ จิ ยั ทัง้ สองคน
ความแตกต่างในการสกัดข้อมูลจะได้รบ ั การแก้ไขโดยมติเอกฉันท์

11 Data items
ให้รายละเอียดของตัวแปรทีเ่ ก็บ (เช่น PICOS, แหล่งทุน) การอนุมาน
และการปรับปรุงข้อมูลทีร่ ายงานให้
เป็ นไปตามโครงการวิจยั
การวิจยั ครัง้ นี้เป็ นการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็ นระบบและการวิเครา
ะห์อภิมานจากงานวิจยั รูปแบบ Randomized Controlled Trial
โดยรวบรวมงานวิจยั ทีท ่ าในประเทศไทยและต่างประเทศ
ทัง้ ทีไ่ ด้ตพ ี ม ิ พ์เผยแพร่และไม่ได้ตพ ี ม
ิ พ์เผยแพร่ทง้ ั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2530-2558 แหล่งทีใ่ ช้ในการสืบค้นได้แก่ 1)
ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ Pubmed, ScienceDirect, Scopus 2)
เอกสารอ้างอิง บรรณานุกรม
โดยค้นหาผ่านฐานข้อมูลสาหรับค้นหาบรรณานุ กรม ได้แก่ SciSearch 3)
การค้นหาเองด้วยมือ โดยกาหนดคาสืบค้นข้อมูลตามระบบ PICO ดังนี้
- Patients/Participants (P) คือ
ผูท
้ ไี่ ด้รบ
ั ปัญจขันธ์การศึกษาทีไ่ ม่กาหนดอายุของผูป ้ ่ วยในแต่ละการศึก
ษา
- Intervention (I) คือ การได้รบ ั ปัญจขันธ์ ในรูปแบบต่างๆ เช่น ชาชง
ยาเม็ด
- Comparators (C) คือ placebo การรักษาอืน ่ ๆ เช่นการได้รบ ั ยา
- Outcomes (O) glucose lowering, glycemic
control,FBS,HbA1c, lipid lowering, LDL, HDL,
triglyceride,cholesterol, blood pressure, anthropometric
parameter, body weight, body mass index, effectiveness,
pharmacological activity แล้วใช้คาเชือ ่ ม and, or, และ not
ผูว้ จิ ยั ใช้แบบคัดย่อข้อมูล (data abstract form)
เพือ ่ คัดย่อข้อมูลงานวิจยั ทีไ่ ด้รบ ั คัดเลือกให้อยูใ่ น
รูปแบบเดียวกัน ประเด็นสาคัญทีจ่ ะพิจารณา

ข้อ 12 Risk of bias in individual studies


บรรยายวิธีประเมินความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดอคติในแต่ละรายงาน
(รวมถึงประเด็นว่า การประเมินทัง้ รายงาน หรือ
เฉพาะวิธีทวี่ ดั ผลดีผลเสียของแต่ละการทดลอง),
และได้ใช้ผลการประเมินนี้ในการสังเคราะห์ขอ ้ มูลเพือ
่ การ
ทบทวนวรรณกรรมอย่างไร
Percentage of inconsistency index (I2)
เพือ
่ วัดความไม่เป็ นเอกพันธ์ (heterogeneity) ของแต่ละงานวิจยั ทีน
่ าเข้ามา
วิเคราะห์คา่ I2 นัน้ จะรายงานในรูปแบบของร้อยละ
ถ้ามีคา่ มากแสดงว่า่ งานวิจยั แต่ละงานมีความไม่สอดคล้องกันมาก
วิถีการแปลผลคือ I2 มีคา่ ร้อยละ 25 แสดงว่ามีความเป็ นเอกพันธ์ในระดับสูง
หากมีคา่ ร้อยละ 50 แสดงว่ามีความเป็ นเอกพันธ์ในระดับปานกลาง
แต่ถา้ มีคา่ ร้อยละ 75
แสดงว่ามีความเป็ นเอกพันธ์ในระดับต่าหรือไม่เป็ นเอกพันธ์ และใช้ funnel
plot เพือ ่ วิเคราะห์อคติจากการตีพม ิ พ์ (publication bias)

ข้อ 13 Summary measures


ระบุวธิ ีสรุปข้อมูล (เช่น risk ratio, difference in means).

งานวิจยั ทีถ
่ ูกคัดเลือกเข้ามามีเกณฑ์การวัดผลในแต่ละตัวแปรทีต ่ อ
้ งการ
ศึกษาทีแ ่ ตกต่างกัน
ดังนัน้ จึงจาเป็ นต้องมีการแปลงค่าให้อยูใ่ นหน่ วยวัดเดียวกัน
โดยการวัดผลลัพธ์ของแต่ละตัวแปรใน
การศึกษานี้จะอยูใ่ นรูปของตัวแปรต่อเนื่อง
และรายงานผลเป็ นค่าเฉลีย่ และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน
ซึง่ จะนาเสนอผลการรวมข้อมูล ในรูปกราฟ Forest plot
จะแสดงค่าความแตกต่างของค่าเฉลีย่ หรือ Mean difference (MD)
สาหรับตัวแปรต่อเนื่อง ทีร่ ะดับความเชือ ่ มั่น (Confidence interval)
เท่ากับร้อยละ 95

ข้อ 14 Synthesis of results


บรรยายวิธีจดั การข้อมูล และรวมข้อมูลเพือ ่ การวิเคราะห์ตามทีเ่ หมาะสม
รวมถึงวิธีประเมินความเข้ากันได้
(เช่น I2) ในกรณีทท ี่ าการวิเคราะห์แบบ meta-analysis.
งานวิจยั ทีผ ่ า่ นการคัดเลือกทัง้ หมดถูกประเมินคุณภาพด้วยแบบประเมิน
ของ Jadad โดยงานวิจยั ทีไ่ ด้มากกว่าเท่ากับ 3 คะแนน
ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน
จากนัน้ ผูว้ จิ ยั ประเมินคุณภาพของงานวิจยั ตามแนวทางของ Cochrane risk
of bias เพือ ่ พิจารณาคุณภาพของงานวิจยั ปฐมภูมป ิ ระเภท Randomized
Controlled Trial (RCT) โดยงานวิจยั 1 เรือ ่ งจะใช้ผวู้ จิ ยั 2
คนก่อนบัญทึกข้อมูลหากมีความเห็นขัดแย้งกันจะให้ผพ ู้ จิ ารณาคนที่ 3
เป็ นคนตัดสิน
ผลลัพธ์หลักทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ คือ
ประสิทธิภาพในการลดน้าตาลและไขมันในเลือด ความ
ดันโลหิตและค่าขนาดร่างกายค่าทางห้องปฏิบตั ก ิ ารชนิดต่างๆ
การวัดผลโดยใช้คา่ เฉลีย่ และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน
ผลลัพธ์ของการเกิดอาการไม่พงึ วัดเป็ น 2 ระดับ
คือเกิดและไม่เกิดอาการไม่พงึ ประสงค์
Percentage of inconsistency index (I2) เพือ ่ วัดความไม่เป็ นเอกพันธ์
(heterogeneity) ของแต่ละงานวิจยั ทีน ่ าเข้ามา วิเคราะห์คา่ I2
นัน
้ จะรายงานในรูปแบบของร้อยละ
ถ้ามีคา่ มากแสดงว่า่ งานวิจยั แต่ละงานมีความไม่สอดคล้องกันมาก
วิถีการแปลผลคือ I2 มีคา่ ร้อยละ 25 แสดงว่ามีความเป็ นเอกพันธ์ในระดับสูง
หากมีคา่ ร้อยละ 50 แสดงว่ามีความเป็ นเอกพันธ์ในระดับปานกลาง
แต่ถา้ มีคา่ ร้อยละ 75
แสดงว่ามีความเป็ นเอกพันธ์ในระดับต่าหรือไม่เป็ นเอกพันธ์ และใช้ funnel
plot เพือ ่ วิเคราะห์อคติจากการตีพม ิ พ์ (publication bias)
และการรวมผลการวิจยั (Pooled estimate)
หมายถึงการนาผลการวิจยั ทีค ่ ดั เลือกแล้วมาวิเคราะห์ผลรวม
โดยสามารถทาได้ 2 วิธี คือ
1) Fixed effect model
เป็ นการวิเคราะห์ผลการศึกษาสาหรับข้อมูลมีความเป็ นเอกพันธ์
โดยใช้คา่ ความแปรปรวนของแต่ละการศึกษามาคานวณด้วยวิธีของ Mantel-
Haenszel
2) Random effects model วิธีนี้ใช้ในการวิเคราะห์ผล
การศึกษาสาหรับข้อมูลไม่มีความเป็ นเอกพันธ์โดยใช้คา่ ความแปรปรวนในแต่
ละการศึกษา และระหว่างการศึกษา โดยใช้ DerSimonian-Laird model

15. Risk of bias across studies


ในการวิเคราะห์ meta-analysis
นี้ไม่ได้ประเมินอคติในการตีพม
ิ พ์เนื่องจากมีการรวบรวมวรรณกรรมเพียง 5
การศึกษา
16. Additional analysis
มีการบรรยายวิธีวเิ คราะห์ขอ ้ มูลเพิม
่ เติม คือ การวิเคราะห์ความไว
แสดงใน Supplementary material 2 โดยการศึกษานี้ได้คดั การศึกษาของ
Guess HA และคณะ (1985) ออกจากการวิเคราะห์ความไว
เนื่องจากเป็ นการศึกษาแบบ retrospective cohort
และเป็ นเพียงการศึกษาเดียวทีม ่ ี Newcastle-Ottawa score
ค่อนข้างต่าและไม่ได้ปรับแก้ผลของปัจจัยรบกวนใดๆ
17. Study selection
มีการระบุจานวนรายงานทีไ่ ด้รบ ั การคัดกรองว่าเข้าเกณฑ์จานวน 2201
การศึกษา (495 การศึกษาจาก Medline, 1706 การศึกษาจาก EMBASE
และไม่มีการศึกษาใดจาก Cochrane library) โดยรวม 301
การศึกษาทีซ ่ า้ ซ้อนกันด้วย และจานวนรายงานทีเ่ ข้าเกณฑ์การคัดเข้า 1900
การศึกษา ส่วนจานวนรายงานคัดออก 1810 การศึกษา
และจานวนรายงานทีไ่ ด้รบ ั การประเมินโดยสมบูรณ์ เพือ ่ เก็บข้อมูลจานวน 90
การศึกษา พร้อมทัง้ เหตุผลสาหรับรายงานทีถ ่ ูกคัดออกในแต่ละขัน ้ ตอน
โดยแสดงในรูปแบบไดอะแกรม ดังแสดงใน Fig. 1
18 . Study characteristics
มีการนาเสนอรายละเอียดของแต่ละรายงานในประเด็นทีไ่ ด้รบ ั การเก็บข้
อมูล พร้อมกับการอ้างอิง โดยรายละเอียดเกีย่ วกับลักษณะของการศึกษาและ
Newcastle-Ottawa quality assessment scale
ของการศึกษาทัง้ หมดแสดงไว้ในตารางที่ 1
19. Risk of bias within studies
นาเสนอผลการประเมินความเสีย่ งทีจ่ ะเกิคอคติในการรวมข้อมูลของแต่
ละรายงาน โดยเฉพาะสาหรับผลดี ผลเสีย ทีเ่ ป็ นคาถามของการวิจยั
(โดยวิธีทไี่ ด้แสดงไว้ในลาดับที่ 12)

20. Results of individual studies


มีการนาเสนอผลการวิจยั ของแต่ละรายงาน
ตามจุดประสงค์ของการทบทวนวรรณกรรม ทัง้ ผลดีและผลเสีย
โดยนาเสนอผลของยาหรือการรักษาแต่ละอย่างในรายงานแต่ละชิน ้
ในรูปแบบทีด ่ งู า่ ย และทัง้ ผลและช่วงค่าความเชือ
่ มั่นของแต่ละรายงาน
ในรูปแบบเดียวกัน ซึง่ แสดงเป็ นรูปแบบกราฟ forest plot หน้า 5-6
Fig. 2. A–C: Forest plots for pooled risk ratios for acute kidney
injury for several individual nonsteroidal anti-inflammatory
drugs.
21. Synthesis of results
นาเสนอผลการวิจยั ของ meta-analysis รวมทัง้ ช่วงค่าความเชือ ่ มั่น
และความเข้ากันได้ของรายงานทีไ่ ด้นามารวมกันวิเคราะห์ หน้า 5
โดยผลพบว่า pooled risk ratios มีความสอดคล้องกันระหว่าง NSAIDs
แต่ละตัว ในช่วงตัง้ แต่ 1.58-2.11 ผูว้ จิ ยั ทดสอบความแตกต่างระหว่าง
pooled risk ratios
และไม่พบความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิตริ ะหว่างยา NSAIDs
ทัง้ สองแต่ละตัว (p ≥ 0.19 สาหรับการเปรียบเทียบแต่ละครัง้ )
และมีการนาเสนอโดยแสดงเป็ นกราฟใน Fig. 3 เป็ น pooled risk ratios
และ 95%CI
แต่ไม่ได้รายงานถึงผลการทดสอบความไม่เป็ นเอกพันธ์ทุกผลการศึกษา

Fig. 3. Pooled risk ratios and 95% CI of acute kidney injury for
all nonsteroidal anti-inflammatory drugs.

22. Risk of bias across studies


ในการศึกษานี้ นาเสนอผลการประเมินความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดอคติในการรว
บรวมข้อมูล เนื่องจากไม่ได้ประเมินอคติในการตีพม
ิ พ์

23. Additional analysis


มีการนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ ้ มูลเพิม
่ เติม คือ
การวิเคราะห์ความไวแสดงใน Supplementary material 2
โดยการศึกษานี้ได้คดั การศึกษาของ Guess HA และคณะ (1985)
ออกจากการวิเคราะห์ความไว เนื่องจากเป็ นการศึกษาแบบ retrospective
cohort และเป็ นเพียงการศึกษาเดียวทีม่ ี Newcastle-Ottawa score
ค่อนข้างต่าและไม่ได้ปรับแก้ผลของปัจจัยรบกวนใดๆ
อย่างไรก็ตามการคัดการศึกษานี้ออกไม่ได้สง่ ผลต่อการศึกษาอย่างมีนยั สาคัญ
Supplementary data 2
Forest plots of sensitivity analysis for each NSAIDs

1. Indomethacin

2. Ibuprofen

3. Naproxen

4. Piroxicam
5. Sulindac

6. Diclofenac

7. Meloxicam

8. Celecoxib

9. Rofecoxib

24. Summary of evidence


การสรุปผลเป็ นไปตามวัตถุประสงค์หลัก คือ
เพือ ่ ทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็ นระบบและวิเคราะห์อภิมานการศึกษาเชิงสังเ
กตทีเ่ ปรียบเทียบความเสีย่ งของการเกิด AKI ในผูใ้ ช้ยา NSAID
กับผูใ้ ช้ทไี่ ม่ได้ใช้ยา เพือ
่ หา pooled risk ratios ของการเกิด AKI
ทีเ่ กีย่ วข้องกับการใช้ NSAID แต่ละตัว
ในขณะเดียวกันก็ได้สรุปผลถึงการนาไปใช้ของการศึกษานี้ วา่
แพทย์ควรจะชั่งความเสีย่ งของ AKI
ทีอ ่ าจเกิดขึน ้ จากยาและอาการไม่พงึ ประสงค์อน ื่ ๆจาก NSAID ได้แก่
chronic kidney injury, ความดันโลหิตสูง และเลือดออกในทางเดินอาหาร
ต่อประโยชน์ของยา
และหากเป็ นไปได้ควรใช้ยาปริมาณน้อยทีส ่ ุดในระยะเวลาทีส
่ น
้ ั ทีส
่ ุดเท่าทีจ่ ะทา
ได้ดก ี ว่าใช้ยารักษาในระยะยาว

25. Limitations
มีการอภิปรายถึงข้อจากัดของการศึกษานี้ คือ
1. การศึกษาส่วนใหญ่ดาเนินการโดยใช้ฐานข้อมูลทางการแพทย์ (medical
registry-based databases)
จึงอาจมีการเข้ารหัสไม่ถูกต้องและไม่สมบูรณ์
2. การได้รบ ั NSAIDs ถูกกาหนดตามใบสั่งยาในทุกการศึกษาทีค ่ ดั เข้ามา
ดังนัน ้ การใช้ NSAIDs
ทีไ่ ม่ได้เป็ นไปตามใบสั่งแพทย์จะไม่มีการการบันทึกข้อมูล
3. ไม่สามารถทาการประเมินอคติในการตีพม ิ พ์
ส่งผลให้เกิดอคติในการศึกษาในเชิงบวกหรือเชิงลบได้
ซึง่ อาจส่งผลต่อความเทีย่ งตรงของผลลัพธ์
4. เป็ นการวิเคราะห์ meta-analysis
ของการศึกษาเชิงสังเกตซึง่ โดยธรรมชาติของรูปแบบการศึกษา
ความเสีย่ งทีเ่ กิดอคติได้หลายประเภท ตัวอย่างเช่น การได้รบ
ั NSAIDs
อาจทาให้ผป ู้ ่ วยได้รบ
ั การตรวสุขภาพและการตรวจทางห้องปฏิบตั กิ ารมา
กขึน ้ ส่งผลให้มี detection bias
นอกจากนี้การศึกษานี้รายงานเฉพาะความเสีย่ งของ AKI
ทีเ่ กีย่ วข้องกับการใช้ NSAID
แต่ไม่ได้ประเมินความเสีย่ งของการเกิดโรคไตเรื้อรัง (CKD)
ดังนัน ้ ไม่สามารถสันนิษฐานได้วา่ การใช้ specific COX-2 inhibitor
ไม่เกีย่ วข้องกับความเสีย่ งของการดาเนินไปของ CKD หรือการเกิด CKD
ซึง่ ในความเป็ นจริงความสัมพันธ์ระหว่าง ทัง้ traditional NSAIDs และ
specific COX-2 inhibitor ได้รบ ั การอธิบายไว้แล้ว
26. Conclusions
มีการระบุถงึ ผลสรุป แต่ไม่ได้ระบุความหมายของผลสรุปทีไ่ ด้
ในบริบทของหลักฐานอืน ่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับประเด็นทีท
่ บทวน
ความจาเป็ นและแนวทางทีค ่ วรทาวิจยั ต่อในอนาคต

27. Funding
การศึกษานี้ไม่มีแหล่งเงินทุนสนับสนุนการดาเนินการทบทวนวรรณกร
รมอย่างเป็ นระบบ

You might also like