You are on page 1of 14

Rx 48

REVIEW & 1 PAGE


SUMMARY
BY RX 48
CHIANG MAI UNIVERSITY

1
สารบัญ
Other หน้าที่
1. Epidemiology & Economics 3 - 11
2. Biopharmaceutics 12 - 14

2
MCQ Reviewed: Epi & Econ
จานวนข้อสอบต่อปี
Epi 1-3 ข้อ
Econ 1-3 ข้อ
รวมประมาณ 6 ข้อ ต่อปี (อ้างอิงจากข้อสอบเดิม ที่เพิ่มอัพโหลดให้ใน Google Drive)

Epidemiology
Study Design 24%: ให้โจทย์มาแล้วถามประเภทของงานวิจัย หรือ ให้เงื่อนไขมาแล้วออกแบบ
การวิจัยที่เหมาะสม
Data Interpretation 18%: ให้ตารางมาแล้วให้แปรผลจากตาราง เช่น ผลเปรียบเทียบประสิทธิภาพของ
ตัวยา ว่ายาตัวใดมีประสิทธิภาพสูงกว่า
Relation 18%: ให้คานวณหาความสัมพันธ์ของผลการทดลอง เช่น Odd Ratio, Relative
Risk
Research Statistic 12%: ให้เงือ่ นไขการวิจัยมาแล้วถามว่าควรใช้สถิติใดในการทดสอบผล
Others 30%: มีหลายเรื่อง ซึ่งแต่ละปีอาจออกไม่ซ้ากัน เช่น ความน่าเชื่อถือของงานวิจัย
แต่ละประเภท คานิยาม (ความชุก อุบัติการณ์) กาหนดเงื่อนไขของงานวิจัย
มาให้แล้วให้เลือกชนิดของผลลัพธ์ที่เหมาะสม ให้คาถามงานวิจัยมาแล้วให้
ตั้งสมมติฐาน ถามประเภทของ Bias ในงานวิจัย ถามค่าตัวแปรทางสถิติ
(Alpha, Beta, I2)
(% ที่แสดงเป็น % ของข้อสอบทั้งหมดที่รวบรวมมาได้ เพราะในแต่ละปีข้อสอบออกเพียง 1-3 ข้อ)

3
Economic
Economic Evaluation 50%: ให้เงื่อนไขของงานวิจัยมา แล้วถามประเภทของการประเมินทาง
เศรษฐศาสตร์ CBA CMA CUA CEA
Definition 25%: ถามคาจากัดความของคาศัพท์ต่างๆ ทางเศรษฐศาสตร์ เช่น Efficacy,
Efficiency, Effectiveness, Direct Cost, Indirect Cost
Drug Assessment 20%: กาหนดเงื่อนไข แล้วให้เลือกยาที่เหมาะสมที่สุด โดยมักจะเปรียบเทียบจาก
ค่า ICER
Others 5%: เงื่อนไขในการเลือกยาเข้าโรงพยาบาล หรือให้คานวณความคุ้มค่าคุ้มทุน
(% ที่แสดงเป็น % ของข้อสอบทั้งหมดที่รวบรวมมาได้ เพราะในแต่ละปีข้อสอบออกเพียง 1-3 ข้อ)

4
รูปแบบการศึกษาทางเภสัชระบาดวิทยา (Pharmacoepidemiology Study Design)
1. การศึกษาเชิงพรรณนา (Descriptive studies)
วัตถุประสงค์เพื่อที่จะอธิบายความถีแ่ ละการกระจายของโรคที่สนใจศึกษาโดยพิจารณาว่าโรค เกิดขึ้นกับใคร ที่
ไหน เมื่อไร และมากน้อยแค่ไหน ผลที่ได้จะช่วยในการตั้งสมมุติฐานเพื่อหาปัจจัยที่เป็นสาเหตุต่อไป
2. การศึกษาเชิงวิเคราะห์ (Analytical studies)
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุและผลหรือโรคที่เกิดขึ้น
การศึกษาเชิงพรรณนา (Descriptive studies)
1. การศึกษาความสัมพันธ์ระดับประชากร (Populational studies, Correlational studies หรือ
Ecological studies) ความสัมพันธ์ของโรคและปัจจัยในระดั บประชากร ถการศึกษาในระดับ มหภาค ทาให้
ทราบขนาด ( strength) และทิ ศ ทาง (direction) ของความสั ม พั น ธ์ โ ดยใช้ สั ม ประสิ ท ธิ์ ส หสั ม พั น ธ์
(correlation coefficient;-1<r<1)
ข้อดีของการศึกษาได้แก่
 เป็นการศึกษาที่ใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้วรวดเร็วและไม่สิ้นเปลือง
 เป็นพื้นฐานในการสร้างสมมุติฐานเกี่ยวกับสาเหตุของโรคสาหรับการวิจัยเชิงวิเคราะห์ต่อไป

ข้อด้อยของการศึกษาได้แก่
 ไม่ส ามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ที่พบได้ในระดับบุคคล หากนามาเชื่อมโยงอาจเกิดความ
ผิดพลาด
 ไม่สามารถการควบคุมอิทธิพลจากตัวแปรกวนได้
 ไม่สามารถสรุปความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลได้จริง
2. การศึกษาในระดับปัจเจกบุคคล (Individuals)
1. Case reports
เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาขั้นพื้นฐานที่สุดประกอบด้วยการรายงานประวัติผู้ป่วย 1 รายโดยแพทย์ 1 คนขึ้นไป
2. Case series
เป็นการรายงานผู้ป่วยหลายๆคนที่ป่วยด้วยโรคเดียวกันในช่วงระยะเวลาหนึ่ง มักจะเป็นโรคที่เกิดใหม่
ข้อดีของ case reports และ case series
 ทาให้เกิดการค้นพบโรคใหม่ๆ
 เป็นข้อมูลพื้นฐานในการสร้างสมมุติฐานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงของโรคนั้นๆ
ข้อด้อยของ case reports และ case series
 การนาผลไปอ้างอิงกับผู้ป่วยในโรคเดียวกันอาจไม่ถูกต้องเสมอไป
 ไม่สามารถพิสูจน์สมมุติฐานของสาเหตุการเกิดโรคได้ เนื่องจากไม่มีกลุ่มเปรียบเทียบ
3. Descriptive Cross-sectional studies หรือการศึกษาแบบภาคตัดขวาง
การสารวจเพื่อหาขนาดปัญหาของการเกิดโรค เป็นการศึกษาการเกิดโรคที่จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง (snapshot)
ของประชากรโดยวัดการเจ็บป่วยและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในเวลาเดียวกัน ทาให้ทราบ “ความชุก” ของโรค
ข้อดีของการศึกษาแบบภาคตัดขวาง
 ใช้เวลาระยะในการศึกษาสั้น และประหยัด
 มั ก ท าในกลุ่ ม ประชากรขนาดใหญ่ จึ ง สามารถน าผลที่ ไ ด้ ไ ปใช้ กั บ ประชากรกลุ่ ม อื่ น ๆได้

5
(generalizability)
ข้อด้อยของการศึกษาแบบภาคตัดขวาง
 เป็นการประเมิน disease และ exposure ในเวลาเดียวกันทาให้ไม่สามารถระบุได้ว่าอะไรเกิด
ก่อน
 มีประโยชน์ในการตอบคาถามที่ว่าปัจจัยและการเกิดโรคมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ มากกว่าที่จะ
ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน

การศึกษาเชิงวิเคราะห์ (Analytical studies)


เป็นการศึกษาที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์หาปัจจัยการเกิดโรคโดยการทดสอบสมมุติฐาน ว่าเป็นสาเหตุหรือปัจจัย
ป้องกันโรคที่เกิดขึ้นหรือไม่ การศึกษาเชิงวิเคราะห์ จะต้องมีกลุ่มเปรียบเทียบเสมอ รูปแบบใหญ่ๆได้แก่
1. การศึกษาแบบสังเกต (Observational studies
การศึกษาแบบนี้ผู้วิจัยเพียงแต่เฝ้าสังเกตเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้เป็นผู้ให้ exposure
a. Cohortstudies
Longitudinal studies:การศึกษาที่มีระยะเวลาการเก็บ
b. Case-control studies
ข้อมูลระหว่าง exposure และ การเกิดโรคห่างกัน
c. Analytical cross-sectional studies
1.1 Cohort เป็นการศึกษาจาก เหตุไปยังผล ทาโดยแบ่งกลุ่มเป็น exposed และ unexposed จากนั้น
ระยะเวลาหนึ่งเพื่อเก็บข้อมูลการเป็นหรือไม่เป็นโรค
ข้อดีของ Cohort study
 ผลที่ได้จากการศึกษา แน่ใจในเรื่องเหตุเกิดก่อนผล
 มีประสิทธิภาพในการศึกษาโรคที่เกิดจาก rare exposure
 สามารถศึกษาผลหลายอย่างที่เกิดจาก exposure เดียว
 ลด Bias ในการกาหนด exposure เนื่องจากสามารถระบุและมั่นใจได้ว่าผู้ที่ได้รับปัจจัยเป็นใคร
ข้อเสียของ Cohort study
 ไม่เหมาะกับ rare diseaseเพราะทาให้ใช้ทรัพยากรมากในการศึกษา
 ใช้เวลานาน แพงในกรณีที่เป็น prospective cohort study
 prospective cohort study ที่ใช้เวลาศึกษานาน มักเกิด loss-to-follow-up ได้มาก
1.2 Case-Control เป็นการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม cases และ control โดยศึกษาจากผลไปหาเหตุ
ผู้ศึกษาจะเลือกตัวอย่างที่เป็นโรคหรือไม่เป็นโรค แล้วดูย้อนกลับไปว่าทั้งสองกลุ่มมีจานวนคนที่ได้รับหรือไม่
ได้รับ exposure เท่าไรเพื่อนามาเปรียบเทียบกัน
ข้อดีของการศึกษาแบบ Case-control
 เหมาะกับ rare disease และ latent period ยาว
 ง่าย ได้ผลเร็ว ค่าใช้จ่ายน้อย
ข้อเสียของ การศึกษาแบบ Case-control
 ผลการศึกษาขึ้นกับความสมบูรณ์ของบันทึกข้อมูลในอดีต
 การตรวจสอบข้อมูลทาได้ยากเนื่องจากเหตุการณ์เกิดขึ้นแล้ว
 การควบคุมตัวแปรอื่นๆที่เกี่ยวข้องอาจไม่สมบูรณ์
 การเลือกกลุ่มเปรียบเทียบที่เหมาะสมอาจจะลาบาก
1.3 Analytical Cross-sectional Studies เป็นการเปรียบเทียบหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและโรคโดย
เปรียบเทียบความแตกต่างของความชุกของปัญหาในกลุ่มที่มีและไม่มีสาเหตุ ไม่สามารถระบุเหตุ-ผล
6
2. การศึกษาเชิงทดลอง(Intervention studies, Experimental studies, Clinical Trials)
ลักษณะของการศึกษาเป็นเหมือนกับ Prospective Cohort Study แต่ผู้วิจัยจะเป็นผู้กาหนดการให้
exposure ได้ และผู้วิจัยสามารถควบคุมปัจจัยต่างๆในการทดลองได้มากกว่า ทาให้ได้หลักฐานที่น่าเชื่อถื อ
ที่สุด
 Randomizationหรื อ การสุ่ ม สามารถกระจายตั ว แปรกวนหรื อ ปั จ จั ย ในการศึ ก ษาต่ า งๆ ได้
เท่ากัน
 Block Designเป็นวิธีการหนึ่งที่เพิ่มประสิทธิภ าพของการสุ่ม วิธีการได้แก่การกาหนด block
หรือแบ่ง subject ตามปัจจัยที่คาดว่าจะเป็นตัวแปรกวนในการศึกษาเช่น เพศ อายุ ความรุนแรง
ของโรค
 Crossover design กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มจะเป็นทั้ง intervention และ control แต่ต่าง
เวลากันข้อดีคือทั้ง 2กลุ่มจะได้รับ intervention ลดปัญหาจริยธรรม ใช้ จานวนตัวอย่างน้อย
และเหมาะกับโรคที่เป็นซ้า
 Factorial design เป็นการศึกษาที่ต้องการทดสอบสมมติฐานหลายๆอย่างในการทดลองเดียว
คือแบ่งกลุ่มตาม interventionของสมมติฐานแรก จากนั้นแบ่งตามสมมติฐานที่2 ทาไปเรื่อยๆ มี
ข้อดีคือใช้ค่าใช้จ่ายน้อย
 Single Blinding เป็นการปกปิดผู้ที่เข้าร่วม
Double Blinding เป็นการปกปิดผู้ที่เข้าร่วม และผู้ประเมินผล
Triple Blinding เป็นการปกปิดผู้ที่เข้าร่วม ผู้ประเมินและผู้ที่วิเคราะห์ผล
ข้อดีของการศึกษาเชิงทดลอง
 สามารถวางแผนให้แก้ปัญหาที่ซับซ้อนได้
 สามารถกาหนดรายละเอียดต่างๆของ intervention ได้สามารถเลือกที่จะทาการทดลองที่จุดใด
จุดหนึ่งได้ นอกจากนี้ยังสามารถควบคุมขจัดตัวแปรที่ไม่ต้องการได้
ข้อเสียของการศึกษาเชิงทดลอง
 ทาได้ยากในบางกรณี เนื่องจากข้อจากัดทางทรัพยากรและบุคลากร
 มีปัญหาจริยธรรมเนื่องจากการไม่ได้ให้ intervention อะไรเลยในกลุ่มเปรียบเทียบ
 ผลการทดลองที่จาลองในห้องทดลองอาจไม่สามารถนามาใช้ในความเป็นจริงได้
 ในการศึกษาที่กลุ่มตัวอย่างมีปัจจัยบางอย่างต่างจากในประชากรอาจจะไม่สมารถนาผลมาใช้ใน
ประชากรทั่วไปได้ สามารถใช้ได้เฉพาะในกลุ่มที่มีลักษณะเหมือนกับกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา
รูปแบบการศึกษาเพิ่มเติม
1. Non-inferiority trial การศึกษาที่ต้องการทดสอบว่าสิ่งทดลองหรือ exposure ให้ผลลัพธ์
แตกต่างจากกลุ่มเปรียบเทียบไม่เกินค่าที่ยอมรับได้ค่าหนึ่ง เรียกว่าค่า margin(M)หรือไม่
2. Meta-analysis เป็นวิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณ(Quantitative)เพื่อประเมินประสิทธิผลและความ
เสี่ยงจากการใช้ ยาด้วยการรวบรวมผลการศึกษาอย่างเป็นระบบ (Systematic Review)

7
การวัดความถี่หรือขนาดของการเกิดโรคในประชากร (Measure of magnitude or frequency)
1. ความชุก (Prevalence) = จานวนผู้ป่วยทั้งหมด
จานวนประชากรทั้งหมด
Point Prevalence = จานวนผู้ป่วยในระยะเวลาที่สารวจ
จานวนประชากรที่สารวจทั้งหมด
Period Prevalence = จานวนผู้ป่วยในระยะเวลาที่กาหนด
จานวนประชากรที่สารวจทั้งหมดในระยะเวลาที่กาหนด
2. อุบัติการณ์ (incidence)เป็นการวัดสัดส่วนจานวนผู้ป่วยใหม่ที่เกิดขึ้นในประชากรที่มีความเสี่ยงในเวลาที่
กาหนดจะใช้กับ cohort study และ การทดลอง
Cumulative Incidence (CI) =จานวนผู้ป่วยใหม่ในระยะเวลาที่กาหนด
จานวนประชากรที่มีความเสี่ยงในช่วงเดียวกัน
Incidence density (ID) = จานวนผู้ป่วยใหม่ในระยะเวลาที่กาหนด
Person-time ของช่วงเวลาเสี่ยงทั้งหมด
ความสัมพันธ์ของ Prevalence และ Incidence
P = I*D ; D = ระยะเวลาเฉลี่ยของการเป็นโรค

การวัดปริมาณความสัมพันธ์ Measure of association


1 ความเสี่ยงสัมพันธ์ (Relative Risk = IE+/I E- ; I=incidence , E+ =exposure, E- = no exposure )
โดยค่าของอัตราส่วนระหว่างสัดส่วนของการเกิดโรคในกลุ่มที่มีปัจจัยกับสัดส่ว นของการเกิดโรคในกลุ่มที่ไม่มี
ปัจจัย
RR=1 หมายถึง ไม่มีความสัมพันธ์ , RR>1 หมายถึง ความเสี่ยงในการเกิดโรคมากขึ้น
RR<1 หมายถึง ความเสี่ยงในการเกิดโรคลดลงหรือเรียกว่าปัจจัยป้องกัน
2 ความเสี่ยงสัมบูรณ์ (Absolute Risk = IE+-I E-) ค่าของความแตกต่างระหว่างสัดส่วนของการเกิดโรคใน
กลุ่มที่มีปัจจัยกับสัดส่วนของการเกิดโรคในกลุ่มที่ไม่มีปัจจัย
ถ้า AR = 0 ไม่มีความแตกต่าง ถ้า AR>0 หรือ AR<0 มีความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและโรค (Casual
association)
3. การคานวณความสัมพันธ์ของ case-control จะใช้ค่าที่เรียกว่า Odds Ratio = ad/bc
OR=1 หมายถึง ไม่มีความสัมพันธ์ , OR>1 หมายถึง ความเสี่ยงในการเกิดโรคมากขึ้นในกลุ่มที่ได้รับปัจจัย
OR<1 หมายถึง ความเสี่ยงในการเกิดโรคลดลงในกลุ่มที่ได้รับปัจจัย

BIAS
Bias เป็น Systematic error เป็นความผิดพลาดที่เกิดจากการออกแบบการศึกษาและการดาเนินการวิจัย
1. Selection Bias หรือ Sample distortion bias เป็นอคติที่เกิดในขั้นตอนการคัดเลือก subject แก้ไขได้
ด้วยการ randomization หรือ blinding ผู้คัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง
Non-respondent Bias เป็นอคติที่เกิดจากการปฏิเสธหรือการยินยอมเข้าร่วม
Missclassification Bias เป็นอคติที่เกิดจากการแบ่งกลุ่ม subject ตาม exposure หรือตามการเกิดโรคผิด
สามารถลดอคตินี้โดยการใช้ criteria ที่ชัดเจนในการแบ่งกลุ่ม
- Non-differential Missclassificationเป็นอคติที่มีความผิดพลาดในการจัดกลุ่มปัจจัยทั้ง 2 กลุ่ม
(exposue และ non-exposure) ทาให้ค่า OR เข้าใกล้ 1 มากขึ้น (Toward the Null)

8
- Differential Missclassificationเป็นอคติที่มีความผิดพลาดในการจัดกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านั้น ค่า OR ไกล
จาก 1 มากขึ้น (Away from the Null)
2. Information Biasเป็นอคติที่เกิดจากความแตกต่างในการได้มาซึ่งข้อมูลที่ต่างกัน
Recall Bias เป็นอคติที่เกิดมากในการถามหรือเก็บข้อมูลย้อนหลังแก้ไขโดยการสัมภาษณ์คนใกล้ชิด
Interviewer Bias อคติที่เกิดขึ้นเมื่อผู้สัมภาษณ์ทราบว่าปัจจัยหรือผลลัพธ์ที่ศึกษาคืออะไร ทาให้ลาเอียง
หรือชี้นาในการเก็บข้อมูลแก้ไขได้โดยการ blinding หรือ standardize ผู้เก็บข้อมูล
3. ตัวแปรกวน (Confounding Factor) หมายถึงตัว แปรที่มีผ ลต่อการเกิดโรคและมีความสัมพัน ธ์กับ
exposure หากไม่มีการควบคุมตัวแปรนั้นอาจมีผลต่อผลการศึกษาได้ วิธีการลดผลจากตัวแปรกวนมีได้หลาย
วิธีเช่น Randomization Matching Stratified Sampling หรือการใช้สถิติวิเคราะห์ สมการถดถอย
Regression Analysis

ตารางสรุป
Correlation x-sectional cohort Case-control
Selection bias - ปานกลาง น้อย มาก
Recall bias - มาก น้อย มาก
Loss to follow- - - มาก น้อย
up
confounding มาก ปานกลาง น้อย ปานกลาง
เวลา &ค่าใช้จ่าย น้อย ปานกลาง มาก ปานกลาง

นาหนักความเชื่อมั่นและความสามารถในการระบุเหตุผลของการศึกษาทางระบาดวิทยา :
Meta-analysis > RCT > Cohort > Case-control > Analytical cross-sectional > Correlational
study

ค่าทางสถิติ ในงานวิจัย
ระดับของการวัด (Level of measurement)
1. Nominal Scale: ไม่มีลาดับ ไม่สามารถบอกความมากน้อยได้ เช่น เพศ สี ลักษณะ
2. Ordinal Scale: สามารถจัดลาดับได้แต่ไม่สามารถบอกระยะห่างของแต่ละอันดับได้ เช่น ลาดับที่นั่งสอบ
3. Interval Scale: ข้อมูลที่มีระยะห่างคงที่ สามารถเปรียบเทียบได้ ไม่มีศูนย์ที่แท้จริง เช่น อุณหภูมิ
4. Ratio Scale or Continuous Scale: ข้อมูลจานวน ที่มีศูนย์ที่แท้จริง สามารถเทียบจานวนกันได้ เช่น
ส่วนสูง ความยาว

ค่า Alpha คือการ ที่นักวิจัย ปฏิเสธสมมติฐานศูนย์ (Null hypothesis; H0) ทั้งๆ ที่สมมติฐานนั้นถูกต้องแล้ว
โดยทั่วไปมีค่าที่ 0.05 หรือ 0.01
ค่า Beta คือการที่นักวิจัย ยอมรับสมมติฐานศูนย์ ทั้งๆที่สมมติฐานที่ผิด โดยทั่วไปมักมีค่า 0.8 หรือมากกว่า

Independent: กลุ่มตัวอย่างเป็นอิสระต่อกัน เช่น กลุ่มควบคุมกับกลุ่มทดลอง


Dependent: กลุ่มตัวอย่างไม่เป็นอิสระต่อกัน เช่น คะแนนสอบก่อนขหลัง

9
ตัวแปรตาม
ประเภทของกลุ่มทดลอง ค่าต่อเนื่อง ค่าเป็นช่วง
(Interval or Continuous) (Nominal, Ordinal)
1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่มขึ้นไป 1 กลุ่มขึ้นไป
Parametric Dependent One Sample
Paired T-Test ANOVA, Chi-Square Test
(กระจายตัว T-Test
Multiple
ปกติ) Independent Independent
Comparison McNemar Test
T-Test
Non- Dependent Wilcoxon Wilcoxon
Parametric Signed-Rank Signed-Rank
(กระจายตัว Test Test Kruskal
ไม่ปกติ) Independent Mann- Wallis Test
Whitney U
Test

Pharmacoeconomic
Efficacy (ประสิทธิ์ศักย์) ผลของการรักษาภายใต้สถานการณ์ที่ถูกควบคุม (Phase I-III)
Effectiveness (ประสิทธิผล) ผลของการรักษาภายใต้สถานการณ์ที่เป็นจริง (Phase IV)
Efficiency (ประสิทธิภาพ) เปรียบเทียบผลลัพธ์กับทรัพยากรที่ใช้ไป
Direct Medical Cost – ค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการรักษาโรคหรือความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้น ตั้งแต่การวินิจฉัย รักษา
ฟื้นฟู เช่น ค่ายา ค่าแพทย์ ค่าวัสดุอุปกรณ์การแพทย์ ค่าห้องของโรงพยาบาล
Direct Non-medical Cost – เป็นค่าใช้จ่ายส่วนอื่นนอกเหนือจากการรักษา เช่น ค่าเดินทาง ค่าอาหาร ค่าที่
พักของญาติ
Indirect Cost – ต้นทุนที่เกิดขึ้นเนื่องมาจากความเจ็บปวด ซึ่งทาให้ผู้ป่วยต้องเสียรายได้ในช่วงที่ทาการรักษา
Pharmacoeconomic Evaluation
ทางเลือกในการ การพิจารณาต้นทุนกับผลลัพธ์
เปรียบเทียบ เฉพาะต้นทุน เฉพาะผลลัพธ์ ทั้งต้นทุนและผลลัพธ์
มีเพียงทางเลือกเดียว Cost Descriptive Outcome Description Cost-Outcome Description
มีทางเลือกตั้งแต่ 2 Cost Analysis Effectiveness Cost-Benefit Analysis
Evaluation/ Efficacy Cost-Minimization Analysis
ทางเลือกขึ้นไป
Evaluation Cost-Effectiveness Analysis
Cost-Utility Analysis

CBA (Cost-Benefit Analysis): การเปรียบเทียบราคายาต่อผลลัพธ์ที่อยู่ในหน่วยเงิน ให้พิจารณาทางเลือกที่


ใช้ต้นทุนต่าที่สุด เพื่อให้ได้มูลค่าที่สูงที่สุด โดยทั้งต้นทุนและผลลัพธ์มีหน่วยเป็นบาท
CMA (Cost-Minimization Analysis): การเปรียบเทียบต้นทุนทั้งหมดของยา ที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน
CEA (Cost-Effectiveness Analysis): การเปรียบเทียบต้นทุนกับผลลัพธ์ที่เป็นหน่วยธรรมชาติ ไม่สามารถ
แปลงให้อยู่ในรูปของหน่วยเงินบาทได้ เช่น จานวนปีที่ยืนยาวขึ้น จานวนผู้ป่วยที่รักษาหาย เป็นต้น
CUA (Cost-Utility Analysis): การเปรียบเทียบต้นทุนกับค่าอรรถประโยชน์ของผู้ป่วย เป็นการประเมินที่
ไม่ได้เปรียบเทียบแค่ผลลัพธ์เชิงปริมาณ แต่จะประเมินผลลัพธ์เชิงคุณภาพด้วย เช่น Utility, QALYs เป็นต้น

10
ชนิดการประเมิน ต้นทุน ผลลัพธ์
CBA บาท หน่วยเงิน (บาท)
CMA บาท หน่วยธรรมชาติที่มีค่าเท่ากัน
CEA บาท หน่วยธรรมชาติ เช่น จานวนปีที่มีชีวิตเพิ่มขึ้น จานวนผู้ป่วยที่รักษาหาย
CUA บาท หน่วยธรรมชาติที่มีการรวมคุณภาพเข้ากับปริมาณ เช่น QALY
Pharmacoeconomic Calculating
Net Benefit (ผลได้สุทธิ) หรือ อัตราส่วนผลได้ต่อต้นทุน (B/C RAtio) [ยิ่งมากยิ่งดี]
Net benefit = (Total Benefit)- (Total Cost)

ICER (Incremental Cost Effective Ratio) อัตราส่วนต้นทุนประสิทธิผฃส่วนเพิ่ม


ICER =
ICER = อัตราส่วนต้นทุนประสิทธิผลส่วนเพิ่ม
Cost1 = ต้นทุนทางเลือก 1 (มักใช้เป็นทางเลือกใหม่ หรือ ทางเลือกที่ราคาสูงกว่า)
Cost2 = ต้นทุนทางเลือก 2 (มักใช้เป็นทางเลือกเดิม หรือ ทางเลือกที่ราคาต่ากว่า)
Effectiveness 1 = ประสิทธิผลของทางเลือก 1
Effectiveness 2 = ประสิทธิผลของทางเลือก 2
ใช้ในกรณีที่แต่ละตัวเลือกมีราคาต่างกันและมีประสิทธิภาพเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย
Example:
Choice Cost Utility ICER
ยา A 500 0.1 5000
ยา B 1200 0.2 7000
ยา C 9000 0.3 78000
ยา D 10000 0.4 10000

จะพบว่ายาทั้ง 4 ชนิดมีราคาต่างกัน มีประสิทธิภาพต่างกัน ดังนั้นต้องคานวณค่า ICER เพื่อหาตัวเลือกที่


เหมาะสมน้อยที่สุด จะพบว่ายา C มี ICER สูงกว่า ยา D ดังนั้นควรตัดยา C ออก เพราะในยา D ที่ราคาสูงขึ้น
มีประสิทธิ์ภาพสูงกว่า มีค่า ICER ที่ต่ากว่า

11
Review ข้อสอบ Biopharm 24 ข้อ
1. คานวณ 11 ข้อ (45.83%)
- ความเข้มข้น 4 ข้อ
- ครึ่งชีวิต 4 ข้อ
- Crcl 3 ข้อ
2. กราฟ 4 ข้อ (16.67%)
- therapeutic 1 ข้อ
- toxic 1 ข้อ
- เปรียบเทียบยา 2 ข้อ
3. Bioavaiability/Bioequivalence 2 ข้อ (8.33%)
- BA 1 ข้อ
- BE 1 ข้อ
4. Order kinetic (zero, first) 2 ข้อ (8.33%)
5. อื่นๆ 4 ข้อ (16.67%)
- first pass 3 ข้อ
- ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ onset,duration 1 ข้อ

แยกปี2545-2558
2545 1 ข้อ
2549 2 ข้อ
2553 1 ข้อ
2554 2 ข้อ
2555 4 ข้อ
2558 3 ข้อ
Unknown 10 ข้อ
เตรียมสอบของ PSU 1 ข้อ

12
Biopharmaceutics Cp ความเข้มข้นของยาในเลือด
Pharmacokinetic Parameter Cp =
onset ระยะเวลาตั้งแต่ให้ยาจนเริ่มเกิดฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา Css ค่าความเข้มข้นของยาในเลือดขณะที่อยู่ใน steady state ซึ่งมักเป็น
Duration ระยะเวลาที่แสดงฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ช่วงเวลาหลังจากให้ยาซ้าๆ ระดับยาจะค่อยๆสะสมจนเข้าสู่ steady
Therapeutic ช่วงระหว่าง maximum therapeutic concentration (MTC( และ state ซึ่งโดยมากใช้เวลา 3-5 T1/2
index minimum therapeutic concentration (MEC( Loading dose ขนาดยาที่ให้เข้าไประยะแรกเพื่อให้ Cp ใกล้เคียงกับ Css โดยเร็ว นิยม
Bioavaiability ค่าชีวสมมูล ร้อยละของระดับยาในเลือดที่ได้รับจากยารูปแบบต่างๆ ในยาที่มีค่า T1/2 ยาวแต่ต้องการให้ออกฤทธิ์โดยไว parameter สาคัญ
(F) เทียบกับยาฉีด ของ LD คือ Vd
Bioavailability Parameters : Cmax, Tmax, AUC
LD = =
Salt factor (S) ค่าที่แสดงสัดส่วนของ moiety ที่ออกฤทธิ์ของยาที่เป็นรูปเกลือ เช่น
aminophylline มี theophylline ร้อยละ 80 คานวณได้วา่ Maintenance ขนาดยาที่ให้เพื่อรักษาระดับยาในเลือดให้เท่ากับ Css parameter
aminophylline มี S=0.8 dose สาคัญของ MD คือ Cl
Tmax ระยะเวลาตั้งแต่ให้ยาจนระดับยาในเลือดมีค่าสูงสุด (time to Cmax( MD =time interval x
บอกถึงอัตราเร็วในการดูดซึมยา หากเปรียบเทียบยา 2 ตารับทีเ่ ป็นยา CrCl
เดียวกัน (เช่น generic local made กับ original ( ก็ควรจะมีค่า ( x 0.85 ในเพศหญิง(
Tmax ใกล้เคียงหรือเทียบเท่ากัน First pass การที่ยาถูกแปรสภาพอย่างรวดเร็วทาให้ความเข้มข้นของยาในเลือด
Cmax ระดับยาในเลือดทีส่ ูงที่สุดที่วัดได้ ซึ่งเป็นช่วงที่มีอัตราการให้ยาเข้าสู่ metabolism ลดลงก่อนที่ยาจะเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิตทั่วร่างกาย ส่วนใหญ่จะเกิด
ร่างกายเท่ากับอัตราการกาจัดยาออกจากร่างกาย เมื่ อ ให้ ย าโดยรั บ ประทาน ถู ก น าเข้ า ผ่ านตั บ และถู ก แปรสภาพท าให้
AUC พื้นที่ใต้กราฟ concentration-time ซึ่งแสดงถึงปริมาณรวมทีร่ ่างกาย bioavaiability ต่า การให้ยาโดยการฉีดเข้าทางหลอดเลือดดา ทาผิว
ได้รับยา หรือสูดดม รวมถึงยาอมใต้ลิ้น จะไม่ผ่าน first-pass effect
Half life ระยะเวลาที่ใช้เพื่อให้ระดับยาในเลือดลดลงครึ่งหนึ่ง สาหรับยาที่มีการ
กาจัดเป็น first order reaction
T1/2 = 0.693 x =
Vd ปริมาณสมมติที่ต้องใช้เพื่อให้ยาปริมาณหนึ่งที่ร่างกายได้รับมีความ
เข้มข้นเท่ากับที่วัดได้ในเลือด
Vd = Bioequivalence ชีวสมมูล : ความเทียบเท่ากันของผลิตภัณฑ์ยากับผลิตภัณฑ์ยามาตรฐาน
Ka, Ke ค่าคงที่ของการดูดซึม (absorption rate constant(, ค่าคงที่ของการ ในการออกฤทธิ์หรือผลการรักษา โดยที่ตารับยาทั้งสองนั้นต้องมีตัวยา
กาจัดยา (elimination rate constant( สาคัญ ขนาด และรูปแบบเหมือนกันแต่กรรมวิธีการผลิตหรือผูผ้ ลิตนั้น
Cl ความสามารถในการกาจัดยาออกจากร่างกาย ซึ่งเป็นผลรวมจากก อาจจะต่างกัน
ทางานของไต ตับ และทางอื่น Cl=Ke x Vd (ml/min)
13
การเปลี่ยนสถานะและตาแหน่งของยาในร่างกาย
Zero-Order Kinetics คือ กระบวนการเปลี่ยนแปลงที่มีอตั ราการ
เปลี่ยนแปลงที่ไม่ขึ้นกับความเข้มข้นเริ่มต้น
ปริมาณ
Slope = -Ke =
Ct = C0- K0t

First-Order Kinetics คือ กระบวนการที่มีอัตราการเปลีย่ นแปลง


แปรผันตรงกับ ปริมาณ/ความเข้มข้นของยา/
สารเคมี ตอนเริ่มต้นจะ ได้สมการ
Slope =
log Ct = + log C0
Ct = C0 x e-kt

14

You might also like