You are on page 1of 102

SKIN DISORDER 1

CHAPTER
ทีเนีย อินคอกนีโต
(Tinea Incognito)

อะไรคือ Tinea Incognito


หากนิยามคร่าวๆคงนิยามได้ว่า ภาวะนี้คือโรคติดเชื้อราที่ผิวหนัง เช่น กลาก แต่

1
ได้รับยาทาสตีรอยด์เดี่ยว ทาให้ผื่นลุกลามและอาการเลวลง ทาให้ผื่นมีลักษณะเปลี่ยนไป
ไม่เหมือนรอยโรคของกลากทั่วไป
ลักษณะของผื่นมักแตกต่างกันออกไป โดยลักษณะจะแตกต่างจากรอยโรคกลาก

Tinea Incognito
มีรายงานมักเกิดเป็นตุ่มนูนหรือตุ่มหนองอักเสบ (inflammatory papules and
pustules) ซึ่งไม่พบในรอยโรคกลากทั่วไป สาหรับความเป็นขุย จะถูกบดบังจากการทา
steroids ทาให้อาจไม่พบความเป็นขุยหรือมีลักษณะแปลกออกไป สาหรับขอบจากเดิมที่
เป็น original circular shape หรือวงขอบชัด จะทาให้เป็นปื้นขอบว้างออก (extensive)
ไม่เห็นขอบชัดเนื่องจากเป็นปื้นแดงทั้งหมด ทาให้อาจถูกมองว่าเป็นผื่นแพ้ (eczema) ซึ่ง
จะไม่ตอบสนองด้วยการรักษา topical corticosteroid และอาจทาให้อาการเลวลง

พยาธิสภาพของโรคเชื้อราผิวหนัง
เริ่มจากการสัมผัส arthrospores หรือ conidia ของเชื้อรากับบริเวณผิวหนังที่
เสี่ยงการติดเชื้อเช่น ผิวหนังที่มีรอยแผล หรือไหม้ โดย pathogen จะเคลื่อนที่เข้าสู่
ผิวหนังชั้น stratum corneum จากนั้นจะสร้างเอมไซน์ keratinase เพื่อย่อนสลาย
keratin ของผิว ซึ่งกระตุ้น กระบวนการอักเสบเช่นเดียวกับ cell-mediate หรือ delayed
type hypersensitivity จากนั้นเชื้อจะเคลื่อนที่ไปบริเวณใกล้เคียงทาให้กระตุ้นการ
อักเสบบริเวณนั้นขึ้นเกิดเป็นรอยโรคแบบวงขยายออกเรื่อยๆ
เนื่องจากการใช้ topical corticosteroid เดี่ยวในระยะแรกของการติดเชื้อราจะ
ทาให้รอยโรคดีขึ้นเนื่องจากยับยั้งการอักเสบที่เกิดขึ้นจากการสลาย keratin แต่อย่างไรก็
ตามไม่ได้กาจัดเชื้อราออกไปทาให้ในที่สุดเกิดรอยโรคที่เลวลงตามที่กล่าวมาข้างต้น
2

แนวทางการรักษา Tinea incognito

CHAPTER
หยุดการใช้ topical corticosteroids เป็นอันดับแรก กรณี mild-superficial
lesions สามารถรักษาด้วย topical antifungal โดยทาต่อเนื่องหลังรอยโรคหายไปแล้วอีก
1 สัปดาห์
กรณีรุนแรงสามารถใช้กลุ่มยารับประทาน terbinafine หรือ fluconazole สิ่งที่
สาคัญหากรอยโรคมีการเปิดออกและมีการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน อาจจาเป็นต้อง

1
ได้รับยาปฏิชวี นะรูปแบบรับประทานร่วมด้วย

แนวทางการแยกโรคเบื้องต้น

Tinea Incognito
เนื่องจากรอยโรคคล้ายกับ Eczema หรือ Dermatitis เพื่อการรักษาที่ถูกต้องเพื่อไม่
นามาสู่การเกิด Tinea incognito นั่นคือการใช้ยาต้านเชื้อราในกรณีติดเชื้อรา ดังนั้นเภสัช
กรจาเป็นต้องยแกโรคเบื้องต้นได้เพื่อประโยชน์แก่ผู้ป่วยและจาเป็นต่อการรักษา
แผนภาพด้านล่างแสดงลักษณะรอยโรคและลักษณะเด่นของแต่ละประเภท
Ringworm Dermatitis Candidiasis

พบที่อับชื้น เป็นที่บริเวณที่สัมผัสสิ่งกระตุ้น พบที่อับชื้น


ลามขยายออก ไม่ลาม แต่สามารถขึ้นใหม่ตาม มี satellite lesion
สัมผัสแมว สุนัข บริเวณถูกกระตุ้น ลามขยายออก
3

กรณีศึกษา

CHAPTER
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 50 ปี อาชีพเกษตรกร ให้
ประวัตมิ ีรอยโรคสีแดงเป็นวงเล็กๆไม่มีตุ่มบริเวณหลังเท้า
ไม่มีที่บริเวณอื่น ตอบสนองเมื่อทายาไม่ทราบชื่อไประยะ
หนึ่ง แต่เมื่อใช้ไปต่อเนื่องกลับมีรอยโรคกว้างขึ้น รอยแดง
แผ่กว้างมากขึ้นตามภาพ ไปขอรับการรักษาในร้านขายยา

1
หลายแห่ง ได้ยาทาไม่ทราบชื่อแต่รอยโรคแผ่มากขึ้น แต่
อาการคันลดลงหลังทายา
จากรอยโรคและการซักประวัติเนื่องจากไม่ทราบ

Tinea Incognito
แน่ชัดในด้านประวัติการใช้ยาทาให้ยากต่อการรักษา แต่
จากประวัติอาจสงสัยประวัติการสัมผัส topical steroids
ในขั้นต้น ซึ่งทาให้ผื่นลุกลามขณะใช้ยา แต่อาจได้รับกลุม่
combines corticosteroid + antifungal เนื่องจากรอยโรคดีขึ้นกว่าตอนแรก ในครั้งนี้
จึงพิจารณาเป็น topical antifungal เดี่ยวๆ โดยระยะเวลาขึ้นอยู่กับการตอบสนอง โดย
ให้ต่อเนื่อง 1 สัปดาห์หลังรอยโรคหาย

อ้างอิง
1. Tinea incognito. The American Osteopathic College of Dermatology (AOCD).
Available: https://www.aocd.org/page/TineaIncognito
2. Roberto Arenas, Gabriela Moreno-Coutiño, Lucio Vera, Oliverio Welsh. (2010)
Tinea incognito. Clinics in Dermatology 28, 137-139.
3. Deepika T. Lakshmipathy. Review on dermatomycosis: pathogenesis and
treatment. Natural Science 2 (2010) 726-731
4. วนิดา ลิ้มพงศานุรัก. Pitfalls in Pediatric Dermatology. Thai Pediatric Journal 15(2).
May-Aug. 2008
5. Natthanej Luplertlop. Dermatophytosis: from bench to bedside. J Trop Med
Parasitol. 2013;36:75-87.
6. ธัมม์ทิวัตถ์ นรารัตน์วันชัย. กลาก. สานักวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ.
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
7. กฤษฏิ์ วัฒนธรรม. Community pharmacy4th edition. 2016.
4

CHAPTER
สิวและการรักษารอยแผลเป็น
(Acne and Scar treatment)

พยาธิสภาพของสิว
การเกิดสิวประกอบด้วย 4 ขั้นตอนโดยขั้นแรกเริ่มจากการสร้างสารสื่ออักเสบ

1
ภายในเซลล์ไม่ว่าจะเกิดจากกระบวนการ oxidized ไขมันหรือจากการรับประทานอาหาร
กลุ่มที่มี glycemic index สูง มีการศึกษาพบว่ากระตุ้นสิวได้มากขึ้นเมื่อเทียบกับกลุ่มที่
ทาน low glycemic index (p=0.0002) ซึ่งทาให้เกิดการแบ่งเซลล์ของผิวชั้นนอกมากขึ้น

Acne and Scar treatment


(infundibular keratinizing) เกิดเป็น microcomedone ประกอบกับฮอร์โมน
androgen กระตุ้นการสร้างความมันมากขึ้นร่วมกับปัจจัยกระตุ้นสารสื่ออักเสบทั้งภายใน
และนอกเซลล์ ทาให้เกิดเป็นสิวไม่อักเสบ (non-inflammatory acne) แบ่งออกได้เป็นสิว
หัวเปิด(black head) และหัวปิด(white head) ซึ่งสิวหัวเปิดเมื่อถูกกระตุ้นจากการเจริญ
ของเชื้อ Propionibacterium acnes (P. acne) ซึ่งเจริญในรูขุมขน ทาให้เกิดเป็นสิว
อักเสบในลาดับถัดมา สามารถแบ่งออกเป็น pustule, nodule หรือ cyst ตามขนาด
5

การประเมินความรุนแรง

CHAPTER
ตามแนวทางที่แนะนาของ American Academy of Dermatology (AAD) ใน
การรักษาสิวปี 2017 ไม่ได้กล่าวการแบ่งระดับความรุนแรงอย่างแน่ชัดเนื่องจากแนะนาให้
ประเมินจากดุลยพินิจและจากข้อคานึงทางคลินิกอื่นๆร่วมด้วย จึงมีคาแนะนาของ
แนวทางเวชปฏิบัติประเทศไทยดังนี้
ระดับความรุนแรง นิยาม

1
สิวเล็กน้อย มีหัวสิวไม่อักเสบ(comedone)เป็นส่วนใหญ่ หรือมีสิวอักเสบ
(mild acne) (papule และ pustule)ไม่เกิน 10 จุด
สิวปานกลาง มี papule และ pustule ขนาดเล็กจานวนมากกว่า 10 จุดและ/หรือ
(moderate acne) มี nodule น้อยกว่า 5 จุด

Acne and Scar treatment


สิวรุนแรง มี papule และ pustule มากมาย มี nodule หรือ cyst เป็นจานวน
(severe acne) มากหรือมีnodule อักเสบรือมีหนองไหล มี sinus tract

แนวทางการรักษา
ผู้เขียนได้ทาการรวบรวมแนวทางการรักษาตามแนวทางเวชปฏิบัติไทย,
Pharmacotherapy และ American Academy of Dermatology (AAD) 2017 สามารถ
สรุปได้เป็น
1. Induction phase 10-12 สัปดาห์
Mild-acne Moderate-acne Severe-acne
1st-line Topical retinoid (++) (Fixed combination adapalene/BP : Oral isotretinoin
Or more evidence)(++) monotherapy (++)
Benzoyl Topical combination therapy (++): Oral antibiotic +
peroxide:BP(+) BP+antibiotic Or Topical combination
Retinoid+BP or therapy of
Retinoid+BP+Antibiotic BP+ Antibiotic or
กรณีกระจายบริเวณกว้าง: Retinoid + BP or
Oral antibiotic + topical Retinoid Retinoid + BP +
+BP OR Oral antibiotic + topical antibiotic
Retinoid +BP+ topical antibiotic (+)
Tetracyclines :doxycyclineใช้ขนาด
100-200 มก./วัน (++)
ในกรณีที่แพ้ยาในกลุ่มTetracycline ให้ใช้
Erythromycin 500 mg bid (+)
6

CHAPTER
Mild-acne Moderate-acne Severe-acne
Alternative Azeleic acid Or Consider alternate combination Consider change on
Topical combination therapy oral antibiotics
therapy : Or Or
BP+antibiotic Or Add combined Oral contraceptive or Add combined Oral
Retinoid+BP or Oral Spironolactone (female) contraceptive or Oral
Retinoid+BP+Antibiot Or Spironolactone
ic Consider Oral isotretinoin (female)

1
++ = แนะนาเป็น 1st-line ตรงกัน 2 แนวทางการรักษาขึ้นไป , + = แนะนาเป็น 1st-line ใน 1 แนว
ทางการรักษา

2. การรักษาระยะ maintenance phase 3-4 เดือน

Acne and Scar treatment


แนะนาการรักษาด้วย topical retinoid และพิจารณาการใช้ oral/topical
antibiotic ในรายที่มีรอยโรคของสิวอักเสบร่วมด้วย ยาทางเลือกได้แก่ azelaic acid

รอยแผลเป็น
ทั้งนี้รอยจากการเกิดสิวจัดเป็นกระบวนการหายของแผลรูปแบบหนึ่ง ซึ่งในแต่ละ
การศึกษารอยแผลเป็นในปัจจุบันมักไม่ได้ทาให้การวัดรอยสิว แต่ะจะเป็นการหายของ
แผลชนิดต่างๆ เช่น แผลผ่าตัด ดังนั้นผู้เขียนขอยกการเปรียบเทียบรูปแบบรอยแผลเป็น
จากรอยแผลอื่นๆเพื่อเทียบเคียงกับการรักษารอยสิว

กระบวนการหายของแผล
กระบวนการหายของแผลสามารถแบ่งเป็น 3 ระยะหลัก ซึ่งแต่ละระยะจะเกิดทับ
ซ้อนกันตลอดการหายของแผล (overlap) คือ
1. ระยะอักเสบ (Inflammation phase) : ระยะนี้ร่างกายจะตอบสนองโดย
การหลัง่ สารสื่ออักเสบเพื่อจัดการกับสิ่งกระตุ้น
2. ระยะ granulation tissue เข้ามาแบ่งตัว (a granulation tissue formation)
: เป็นระยะแบ่งเซลล์เพื่อเติมเต็มแผล ซึ่งความชุ่มชื้นจะเป็นปัจจัยหลักในการช่วยให้การ
ทางานของเซลล์เป็นไปอย่างราบรื่น ซึ่งทาให้สารป้องกันการสูญเสียน้า หรือ สารให้ความ
ชุ่มชื้นจึงมีบทบาทในการหายของแผล
3. ระยะ remodeling (matrix formation)
7

แนวทางการรักษา

CHAPTER
สิ่งที่ต้องปฏิบัติสาหรับการรักษาหรือป้องกันรอยแผลเป็นทุกราย คือ
1. หลีกเลี่ยงแสงแดด
2. ใช้ moisturizer เพิ่มความชุ่มชื้นให้ผิวเพื่อลดกระบวนการอักเสบ ทาให้กระบงน
การหายของแผลเกิดอย่างราบรื่น
3. ใช้สารกันแดดที่มีค่า SPF 30 ขึ้นไป

1
การรักษาที่มีการศึกษาไม่มากอาจใช้เป็นยาเสริมได้
1. Green tea extract. :

Acne and Scar treatment


มีแต่การศึกษาในหลอดทดลอง และสัตว์ทดลองถึงประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระ
(anti-oxidant) และลดการอักเสบ (anti-inflammation) และพบผลลด P. acne เมื่อใช้
ติดต่อกัน 8 สัปดาห์ แต่ผลลดรอยแดง (redness) ไม่แตกต่างกับการใช้เจลหลอก
2. Aloe vera :
มีการศึกษา Cochrane systematic review รวม 7 RCT ผลการศึกษามีความแตกต่างกัน
อย่างมากทาให้ไม่สามารถสรุปผลการศึกษาได้ เนื่องจากรูปแบบการศึกษาไม่ดาพอและ
ในอีก systematic review พบว่ามีประโยชน์ในการเร่งการหายของแผล burn แต่ไม่พบ
ประโยชน์ในแผลชนิดอื่น
3. Vitamin E
มี 2 การศึกษาพบว่าหลังใช้ vitamin E ติดต่อ 6 เดือนในผลลดรอยแผลเป็นทางกายภาพ
(physical appearance)ได้ดีกว่ายาหลอก แต่อีกการศึกษาพบว่าหลังใช้ 4 เดือน กลับไม่
ให้ผลลด overall scar appearance
4. MEBO® (beta-sitosterol)
มักมีการใช้กับแผล burn ซึ่งมีการศึกษารูปแบบ prospective trial แต่มีคุณภาพ
การศึกษาระดับ 4 เมื่อใช้ติดต่อกันนาน 6 เดือน พบประโยชน์การใช้ fusidic acid ร่วมกับ
MEBO ในแผล burn และแผลผ่าตัดที่ใบหน้า ซึ่งช่วยเร่งระยะเวลาการหายของแผลและ
ลด scar formation
8

CHAPTER
ประสิทธิภาพของยารักษาแผลเป็น
สาหรับกลุ่มที่มีการศึกษามากขึ้น และมีจาหน่ายในปัจจุบันมากขึ้นสามารถ
แบ่งเป็น 2 กลุ่มหลัก ตามสารออกฤทธิ์หลักคือ กลุ่มที่ใช้สารกลุ่ม quercetin ซึ่งได้จาก
การสกัดสารกลุ่มหัวหอม (allium cepa extract) และอีกกลุ่มใช้สารกลุ่ม silicone โดย
ผู้อ่านสามารถศึกษาความแตกต่างของส่วนประกอบแต่ละยี่ห้อได้ที่

1
กลุ่มที่ 1: ประสิทธิภาพสารออกฤทธิ์หลักกลุ่ม allium cepa extract
สาระสาคัญ จานวน ลักษณะแผล Regimen ระยะเวลา ผลลัพธ์
Allium cepa 16 แผลหลังผ่าตัด 12% Allium เริ่ ม ทาภายใน ผลของความสูงของรอยนูนพบ

Acne and Scar treatment


ext. cepa ext. tid 7 วั น ห ลั ง ความแตกต่างทสัปดาห์ที่ 4 (p
เปรียบเทียบ ผ่ า ตั ด นาน 3 = 0.048) ขณะที่ ผ ล mean
Vehicle เดือน scar symptom score เ ริ่ ม
placebo gel แตกต่ า งทสัป ดาห์ที่ 4 เช่ นกัน
tid (p =0.03 )
แ ต่ ผ ล ข อ ง ค ว า ม ยื ด ห ยุ่ น
โครงสร้ า งผิ ว หรื อ pliability
score ไม่แตกต่างกับยา
หลอกตลอด 12 สัปดาห์
10% allium 39 หลั ง ผ่ า ตั ด โดย 10% allium เริ่ ม ทาภายใน การเกิด hypertrophic scar
cepa วัดผลจาก cepa in 7 วั น ห ลั ง หลั ง ผ่ า ตั ด 6 เดื อ น ในกลุ่ ม
in silicone gel อุ บั ติ ก ารณ์ ก าร silicone gel ผ่ า ตั ด นาน 6 active vs placebo ;30%และ
(Scargel®) เกิ ด แผล keloid (Scargel®) bid เดือน 60% ตามลาดับ (p =
และ เ ที ย บ กั บ 0. 02) อุ บั ติ ก า ร ณ์ ก า ร เกิ ด
hypertrophic Vehicle keloid หลั ง ผ่ า ตั ด 6 เดื อน ใน
scar placebo gel กลุ่ม active vs
bid placebo 50%และ 37% ตาม
ลาดับ (p =0.29)
แ ต่ ผล จาก Vancouver scar
score ซึ่ ง เป็ น ผลรวมของการ
รั ก ษ า ใ น ทุ ก visit ก ลั บ ไ ม่
แตกต่าง
Liposomal 44 แผลเป็นหลังจาก Liposomal เริ่ ม ทาภายใน ผลจากมุ ม มองผู้ เ ก็ บ ข้ อ มู ล
allium การผ่าตัด allium cepa 7 วั น ห ลั ง พบว่า เริ่มให้ผลแตกต่างจากยา
cepa seborrhea (Mederma) น ผ่ า ตั ด น า น ห ล อ ก ใ น เ รื่ อ ง overall /
(Mederma®) keratosis od เทียบกับ 2.5 เดือน texture/ redness/ softness
(New scar) Vehicle ที่ 6 สัปดาห์ขึ้นไป
placebo od
9

CHAPTER
กลุ่มที่ 2: ประสิทธิภาพสารออกฤทธิ์หลักกลุ่ม silicone
สาระสาคัญ จานวน ลักษณะแผล Regimen ระยะเวลา ผลลัพธ์
Silicone gel 53 แผลผ่าตัด Silicone gel 3 เดือน pigmentation score, height
bypass หัวใจ bid เ ที ย บกั บ score, pliability score, ความ
และเปลี่ยนลิ้น Placebo gel คั น ให้ ผ ลดี ก ว่ า ยาหลอกที่ 12
หัวใจ bid สัปดาห์หลังผ่าตัด
Silicone gel 100 Keloid Dermatrix® 3 เดือน กลุ่ ม dermatrix 1 x2 เที ย บ

1
or Hypertrophic bid กลุ่มที่ใช้กับไม่ใช้พบว่า การใช้
silicone sheet Scar, Post- เ ที ย บ กั บ ลดความสู ง หรื อ รอย นู น ไ ด้
laser Untreated มากกว่ า (0 . 7 9 vs 1 . 9 6 )
erythema และ p<0.001 และลดรอยแดงได้
Silicone sheet มากกว่า p<0.001

Acne and Scar treatment


Od เ ที ย บ กั บ ในกลุ่ มที่ ใ ช้ แ ผ่ น แปะเที ย บกับ
untreated การไม่ใช้อะไรพบว่าการใช้แผ่น
แปะลดความสูงหรือรอยนูนได้
มากกว่า (1.39 vs 1.94)
p<0.001 และลดรอยแดงได้
มากกว่า p<0.001
อ้างอิง
8. Dipiro, et al. Pharmacotherapy 10th edition.
9. Reynolds CR,et al. Effect of the Glycemic Index of Carbohydrates on Acne vulgaris. Nutrients.
2010 Oct; 2(10): 1060–1072.
10. นภดล นพคุณและคณะ. Clinical Practice Guideline Acne 2010. สมาคมแพทย์ผิวหนังแห่งประเทศไทย.
11. Zaenglein LA,et al. Guidelines of care for the management of acne vulgaris. American academy
of dermatology.
12. ศรีศุภลักษณื สิงคาลวณิช. Update management of acne in adolescent. กุมารเวชสาร.2009
13. กฤษฏิ์ วัฒนธรรม. Community pharmacy4th edition. 2016.
14. Draelos DZ,et al. A New Proprietary Onion Extract Gel Improves the Appearance of New Scars
A Randomized, Controlled, Blinded-Investigator Study. J Clin Aesthet Dermatol. 2012 Jun; 5(6):
18–24.
15. Chanprapaph K,et al. Effectiveness of Onion Extract Gel on Surgical Scars in Asians.
Dermatology Research and Practice 2012(6):212945.
16. Chernoff WG. The efficacy of topical silicone gel elastomers in the treatment of hypertrophic
scars, keloid scars, and post-laser exfoliation erythema. Aesthetic Plast Surg. 2007 Sep-
Oct;31(5):495-500.
10

CHAPTER
โรคผิวหนังอักเสบ
(Eczema/Dermatitis)

โรคผิวหนังอักเสบ หมายถึงกลุ่มอาการทางผิวหนังที่เกิดการระคายเคือง ซึ่งจะ


แตกต่างออกไปตามสิ่งกระตุ้น อายุ หรือแต่ละบุคคล คาดว่าเกิดจากการตอบสนองของ

1
ระบบภูมิคมุ้ กัน โดยสามารถเกิดได้จากปัจจัยภายใน (Endogenous eczema) และ
ภายนอก (Exogenous eczema)
ระยะของโรคผิวหนังอักเสบ

Eczema/Dermatitis
สามารถแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้
Type Acute Eczema Subacute Chronic eczema
eczema
Characteristic Erythema Lichenification Lichenification
Edema Excoriations Hyperpigmentation/
Papule (skin-picking) Hypopigmentation
Vesicle/Oozing scaling อาจพบ lichen
Crusting simplex chronicus
ในรายที่ถู เกาบ่อยๆ
มักพบปัญหาด้าน
anxiety/ depression
ร่วมด้วย
Image
สาหรับสีผิวหลังจากเกิดการอักเสบ (post-inflammation) แบ่งออกเป็น 2 แบบ
แบบแรกเกิดจากการอักเสบทาให้มีการสร้าง prostaglandin มากขึ้นส่งผลให้กระตุ้นการ
ทางานของ Tyrosine kinase ทาให้มีการเปลี่ยนแปลงจาก DOPA เป็น DOPA quinone
และกลายเป็น 5,6-dihydroxyindole เป็นสารสีเข้มทาให้ melanin มีสีคล้า เกิดเป็น
hyperpigmentation scar ขณะที่หากเกิดการรบกวนของกระบวนการหายของแผล
อาจจะทาให้รบกวนการทางานของ melanin ทาให้เกิดรอยจางลงได้เช่นกัน
(hypopigmentation scar)
11

การแบ่งประเภทของผิวหนังอักเสบจากปัจจัยกระตุ้น

CHAPTER
1. Exogenous eczema
ที่นี่จะขอกล่าวในรอยโรคที่พบได้บ่อยในร้านยา
Contact dermatitis
Allergic contact Irritant dermatitis
dermatitis

1
Acute Irritant Cumulative Irritant
dermatitis dermatitis
เป็น Type IV เช่น Paederus dermatitis เกิดจากการสัมผัสสาร
hypersensitivity reaction ที่รู้จักกันในนามของ ผื่น ระคายเคืองเป็นระยะ

Eczema/Dermatitis
ตาม gell and comb จัดเป็น ผิวหนังอักเสบจากแมลงก้น เวลานานหรือบ่อยครั้ง
delayed type ผ่านการ กระดก เนื่องจากตัวแมลง ลักษณะรอยโรคมักเป็น
กระตุ้นการทางานของ T สามารถสร้างสารที่เป็นกรด แบบ hyperkeratosis มี
helper cell-1 ส่งผ่าน ทาลายเยื่อบุผิวหนังได้ ชื่อ fissure หรือแบบ
สัญญาณให้ Cytotoxic T cell ว่า Paederin เช่นเดียวกับ lichenification
ทางาน ผู้ป่วยมักมีการสัมผัส สาร cantharidin ซึ่งสร้าง สิ่งที่ควรระวังคือน้าจัดเป็น
สิ่งที่แพ้เป็นระยะเวลานาน โดยด้วงน้ามัน ลักษณะรอย mild irritant ดังนั้นอาจก
มากกว่า 48 ชั่วโมงอาจนานได้ โรคจะเป็นในลักษณะ จากัดเรื่องการล้างมือหรือ
ถึง 28 วัน สมมาตรตามข้อพับ เรียกว่า บริเวณที่เกิดรอยโรคไม่ให้ถี่
“kissing lesion” เกินไป

2. Endogenous eczema
Atopic dermatitis Asteatotic eczema Nummular eczema
มักมีผื่นรูปแบบต่างๆขึ้นกับ อาจเรียกว่า xerotic eczema ลักษณะกลม รี ขอบ
ระยะที่พบ ร่วมกับมีอาการ ลักษณะเป็นขุยแห้ง (fine ชัดเจน มี
ภูมิแพ้ (allergic disease) หรือ scaling), มีรอบแตกร่อง คล้าย papule/vesicle
ตาม Hanifin and Rajka ดินแตก (crack, fissure) พบ รวมกัน คล้ายเหรียญ
criteria ในผู้สูงอายุ อาบน้าร้อน ขาด (discoid) จากนั้นจะ
ความชุ่มชื้น หรือatopic พบ lichenification
dermatitis และขาดสังกระสี
12

CHAPTER
การรักษา การรักษา การรักษา
1. รักษาความชุ่มชื้นใน เพิ่มความชุ่มชื้น topical steroids
ทุกราย โดยมีการศึกษาพบ
การลดลงของ ceramide ใน
ชั้นใต้ผิวทาให้ผิวแห้งไวต่อ
การกระตุ้นการอักเสบ ทั้งนี้

1
สามารถศึกษาการศึกษาและ
ระดับคาแนะนาในแต่ละ
ผลิตภัณฑ์ได้ที่ แนวทางเวช

Eczema/Dermatitis
ปฏิบัติภมู ิแพ้ผิวหนังประเทศ
ไทย ภาคผนวก 7
2. ใช้ยาทากลุ่มส
เตียรอยด์ หรือยากกด
ภูมิคุ้มกันอื่นๆ
3. อาจใช้ยาต้านฮีสตามีน
รูปแบบรับประทาน แต่
ประสิทธิภาพยังไม่แน่ชัด
4. ไม่มบี ทบาทของยาต้าน
ฮีสตามีนแบบทา
Seborrheic eczema Dyshidrotic eczema Pityriasis alba
เป็นการอักเสบของบริเวณที่พบ ลักษณะเปนผื่นแบบ deep พบ hypopigmented
ต่อมไขมันมาก เช่น ใบหน้า คิ้ว vesicle ที่ฝ่ามือ/เท้า กระจาย patch อาจพบขุย
ร่องแก้ม หน้าอก หลัง หรือหาก เท่าๆกันทั้ง 2 ข้าง เรียกว่า เล็กๆ ไม่ได้เกิดจากการ
ไม่ค่อยมีการอักเสบอาจพบใน palmoplantar eczema ติดเชื้อเกลื้อน แต่เป้น
ลักษณะของรังแค (dandruff) การอักเสบชนิดหนึ่ง
โดยลักษณะผื่นเป็นแบบ แดง ของผิวหนัง มักไม่มี
ชมพูคลุมสะเก็ดไขมัน (greasy อาการคัน และพบในผู้
scales) ที่สัมผัสแสงแดดนานๆ
คาดว่าอาจเกิดจาก
13

CHAPTER
1. การเพิ่มจานวนของ M.
furfur
2. มีการทางานของต่อมไขมัน
มากกว่าปกติ
3. มีองค์ประกอบของไขมัน

1
ผิดปกติ
ปัจจัยเสี่ยง
ความเครียด สภาพอากาศหรือ

Eczema/Dermatitis
อุณหภูมิ หรือภาวะซึมเศร้า
การรักษา การรักษา การรักษา
1. Antifungal ชนิดทา topical steroids เพิ่มความชุ่มชื้น
หรือรับประทาน Mild potency
2. Keratolytic drugs topical steroids
3. Topical steroids
หรือยากดการอักเสบ
อื่นๆ

อ้างอิง
1. วาสนภ วชิรมน และคณะ. 10+โรคผิวหนังต้องรู้. สาขาวิชาโรคผิวหนัง ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะ
แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาพพิมพ์. กรุงเทพมหานคร. 2559
2. วาสนภ วชิรมน และคณะ. A to Z dermatology color atlas สาขาวิชาโรคผิวหนัง ภาควิชาอายุรศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาพพิมพ์. กรุงเทพมหานคร. 2560
3. ปรียา กุลละวณิชย์, ประวิตร พิศาลบุตร. ตาราโรคผิวหนังในเวชปฏิบตั ิปัจจุบัน = Dermatology
2020. กรุงเทพฯ : โฮลิสติก พับลิชชิง่ , 2555
4. Lynne M. Sylvia. Chapter 22. Allergic and Pseudoallergic Drug Reactions. Pharmacotherapy: A
Pathophysiologic Approach 9ed. Mcgraw-Hill medicine.
5. Eichenfield LF, Tom WL, Chamlin SL, Feldman SR, Hanifin JM, Simpson EL, et al. Guidelines of
care for the management of atopic dermatitis: section 1. Diagnosis and assessment of atopic
dermatitis. J Am Acad Dermatol. 2014 Feb;70(2):338-51.
6. ปกิต วิชยานนท์ และคณะ. แนวทางการดูแลรักษาโรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic Dermatitis). สมาคมโรค
ภูมิแพ้ โรคหืด และวิทยาภูมิคุ้มกันแห่งประเทศไทย. 2557. Available:
www.allergy.or.th/2016/pdf/Thai_CPG_Atopic_Dermatitis_2557.pdf
14

CHAPTER
ภาวะผมร่วง

เส้นผมแบ่งออกเป็น 2 ประเภท vellus hair เป็นเส้นขนสีอ่อน เล็ก ขนาดน้อย


กว่า 2 เซนติเมตรมักเป็นเส้นขนที่ปกคลุมร่างกาย ขณะที่ terminal hair มีขนาดใหญ่กว่า
และสีเข้ม ยาวกว่า เช่นเส้นผม
บนศีรษะของเราจะมีผมประมาณ 1 แสนเส้น ในแต่ละวันจะมีผมร่วงประมาณ

1
100 เส้น/วัน แต่ในวันที่สระผมผมร่วงเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า การร่วงของผมเรียกว่า Mosaic
pattern คือร่วงทุกๆจุดสลับกัน
วงจรชีวิตเส้นผม

Hair disorder
สามารถแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้
Anagen phase Catagen phase Telogen phase

เป็นเส้นขนที่กาลัง เป็นระยะที่หยุดแบ่งตัว สีจาง เส้นขนหยุดการเจริญเติบโต


เจริญเติบโต สีเข้ม พบได้ ลง พบได้น้อยกว่า 1%ของ รอเวลาที่จะหลุดออก ใช้
ประมาณ 85-90% ของเส้น เส้นผมบนศีรษะ และมี ระยะเวลา 2-3 เดือน พบได้
ผมบนศีรษะ ในระยะนี้ใช้ ระยะเวลาเพียง 2-3 สัปดาห์ 10-15%ของเส้นผมบน
เวลา 2-6 ปี ศีรษะ ปกติแล้วผมระยะนี้
จะร่วงประมาณ 100 เส้น
ต่อวัน หากมากว่า 200-
300 เส้นต่อวัน อาจบอกถึง
ภาวะความผิดปกติ
15

การทดสอบเส้นผม

CHAPTER
1. Hair pull test เป็นการจับเส้นผมประมาณ 50-60 เส้น แล้วดึงโดยไม่ต้องออก
แรงมาก หากมีการร่วงติดมือมากกว่าหรือเท่ากับ 6 เส้นจะแสดงภาวะผมร่วง โดย
ควรทา 3-4 แห่ง และควรงดสระผม 3 วันก่อนทาการทดสอบ
กรณีให้ผลบวก อาจนึกถึงภาวะ alopecia areata, telogen effluvium
หรือ scarring alopecia ในภาวะกาเริบ

1
2. Tug test เป็นการจับกลุ่มผมประมาณ 10-20 เส้น ใช้มือจับส่วนโคนและส่วน
ปลาย แล้วกระตุกดูการเปราะขาดของเส้นผม
การแบ่งประเภทของผมร่วง

Hair disorder
1. non-scarring alopecia
1.1 Telogen effluvium
พบเส้นผมระยะ anagen เข้าสู่ telogen ไวขึ้นจากนั้น 12-14 สัปดาห์ผมก็จะหลุดร่วง ทา
ให้ผมร่วงจากหนังศีรษะทั่วๆ ไป (diffuse) จนบางชัดเจน ให้ผลบวกกับ pull test ปัจจัยที่
ทาให้เกิดโรคได้แก่
• Acute blood loss
• Postpartum
• Post-febrile
• Severe infection
• Severe chronic disease
• Psychological stress
• Post surgery
• Endocrine disease
• Malnutrition (zinc/protein deficiency)
• Drugs (retinoid, anticoagulant, antithyroid, ยากันชัก และยากลุ่ม beta-
blockers)
การรักษา
กาจัดสาเหตุ เช่น รักษาโรคที่เป็นสาเหตุ, การหยุดทานยาที่ทาให้ผมร่วง, ทาน
วิตามินอาหารเสริม
16

CHAPTER
1.2 anagen effluvium
ลักษณะผมร่วงเกือบทั้งศีรษะประมาณ 80-90% ของทั้งศีรษะ มักเกิดจาก
สารเคมีหรือได้รับพิษ เช่นยาเคมีบาบัด ได้รับการฉายรังสี รวมถึง severe protein
malnutrition หากเปรียบเทียบระหว่าง telogen effluvium กับ anagen effluvium
ได้แก่
Telogen effluvium Anagen effluvium

1
Onset 2-4 เดือน 1-4 สัปดาห์
ปริมาณ 15-50% 80-90%
ลักษณะเส้นผม ปกติ แตกหัก/ผิดปกติ

Hair disorder
(Dystrophic anagen hair)

1.3 alopecia areata


ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดคาดว่าเกี่ยวกับ autoimmune เพราะเมื่อนา
ผมไปตรวจจะพบ lymphocytes ไปเกาะตามรอบๆต่อมผม เพื่อทาลาย hair-associate
antigen พบว่าความเครียดส่งผลต่อการทางานของยีนส์ที่กระตุ้นกลไกดังกล่าว
ลักษณะผมร่วงเป็นหย่อมปริมาณมาก เกิดขึ้นเร็ว เป็นวงกลมหรือรี เส้นผ่าน
ศูนย์กลางประมาณ 1 cm. โดยค่อยๆขยายตัว ทาให้เห็นหนังศีรษะชัดเจน โดยผิวหนังเป็น
ลักษณะปกติ พบ exclamation-mark hair (ผมลักษณะส่วนปลายใหญ่กว่าโคน คล้าย
เครื่องหมายตกใจ ! ) และผมร่วงอย่างรวดเร็ว
การรักษา
การรักษาขึ้นกับความรุนแรงและขนาดของรอยโรค (ตาม A.G. Messenger, 2012)
1. Topical corticosteroid
a. รอยโรคมีขนาดเล็ก พบ 1-2 วง: 0.25% desoximetasone
b. รอยโรคมีขนาดใหญ่พบจานวนมาก: 0.05% clobetasol propionate
2. ไม่สามารถรักษาด้วย Topical ได้
a. ฉีด triamcinolone acetonide 5-10 mg/ml เข้ารอยโรค
3. Topical immunogens: DNCB, SADBE, DCP
4. Psoralen plus ultraviolet light
17

CHAPTER
1.4 secondary syphilis
จะมีลักษณะเด่นคือผมร่วงเป็นหย่อมๆ ลักษณะคล้ายแมลงแทะ (moth eaten
alopecia) การรักษาคือรักษาโรค syphilis
1.5 Trichotillomania
หรือเรียกว่าโรคดึงผมตัวเอง เกิดจากการที่ผู้ป่วยมักดึงผมตัวเอง ทาให้พบเส้นผม

1
ผิดรูป หรือมีหลายระยะ หักเป็นท่อน จัดเป็นโรคทางจิตชนิดหนึ่ง รักษาโดยห้ามผู้ป่วยดึง
ผมตัวเอง หากรุนแรงอาจส่งต่อเพื่อรักษาภาวะทางจิตใจต่อไป
1.6 androgenetic alopecia
โดยปกติ testosterone จะเปลี่ยนเป็น dihydrotestosterone (DHT) โดยใช้

Hair disorder
เอนไซม์ 5-alpha reductase ซึ่ง DHT มีผลทาให้เส้นผมเปลี่ยนจาก terminal hair ไป
เป็น vellus hair เส้นผมจะอ่อน ลีบเล็กลง ต่อมขนฝ่อจนทาให้ผมหลุด โดยคนที่มีภาวะ
androgenetic alopecia ระดับ Testosterone ไม่ได้เพิ่มขึ้นแต่รูขุมขนส่วนบนของหนัง
ศีรษะมีเอนไซม์ 5 alpha reductase เพิ่มมากกว่าปกติซึ่งจะเปลี่ยน Testosterone ให้
เป็น Dihydrotestosterone รวมทั้งมีตัวรับแอนโดรเจนมากขึ้นและเอนไซม์
Cytochrome P450 aromatase ต่า ซึ่งเป็นตัวเปลี่ยน Testosterone ไปเป็น estradiol
ช่วยสนับสนุนให้เกิดภาวะผมบางจนถึงหัวล้าน
ผมร่วงเริม่ จากบริเวณหน้าผาก แบบค่อยๆเป็นค่อยๆไป จะพบได้ตั้งแต่เมื่อเริ่ม
เข้าสู่วัย การร่วงของผมจะมีลักษณะ M-shape คือเริ่มร่วงที่มมุ ข้างเข้าไปเรื่อยๆ
การรักษา
ชาย: Finasteride 1 mg/วัน + 5% Minoxidil solution ทา 2 ครั้ง/วัน
หญิง: 2% Minoxidil solution ทา 2 ครั้ง/วัน หรือการทา Low‐level laser (light)
therapy
เมื่อพิจารณาตามผลการศึกษาจะได้ ดังนี้
Minoxidil
เป็นยารักษาโรคความดันโลหิตสูงชนิดรับประทาน แต่มีรายงานการเกิดขนยาว
ตามตัวและผมดกขึ้น จึงมีการพัฒนามาเป็นยารูปแบบ topical เพื่อใช้รักษาภาวะผมบาง
โดยปกติ Minoxidil ออกฤทธิ์โดยทาให้หลอดเลือดแดงขยายตัว แต่ในกลไกของการรักษา
alopecia คาดว่าเกิดจากการกระตุ้น potassium channel ทาให้หลอดเลือดขยายตัว
ส่งผลกระตุ้นการเจริญเติบโตของเส้นผม เพิ่มเลือดไปเลี้ยงบริเวณเส้นผม และอาจออก
18

ฤทธิ์กระตุ้นต่อมผมในระยะพักโดยตรง ทาให้เพิ่มระยะเวลาในระยะ anagen phase แต่

CHAPTER
ไม่ได้มีผลให้มีการสร้างต่อมผมเพิ่มขึ้น
ประสิทธิภาพในเพศชายของยา minoxidil
จากการศึกษา 48 การศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิภาพของ minoxidil โดย 1
การศึกษาเป็น oral minoxidil, 5 การศึกษาทาในเพศหญิงและชาย และ 30 การศึกษา
เทียบกับ placebo พบว่าในการศึกษาส่วนใหญ่ minoxidil ที่ความเข้มข้น >2% วันละ 2

1
ครั้ง มีประสิทธิภาพในการเพิ่มการเจริญเติบโตของผม โดยค่าเฉลี่ย hair count อยู่ในช่วง
ระหว่าง 5.4 hairs/cm2 ถึง 29.9 hairs/cm2 ที่ 4-6 เดือน และ 15.5 hairs/cm2 ถึง 83.3
hairs/cm2 ที่ 12 เดือน ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับ
placebo

Hair disorder
สาหรับการใช้ oral minoxidil 5 mg วันละครั้งเทียบกับ topical minoxidil
พบว่าหลังใช้ 24 สัปดาห์ hair count เพิ่มมากกว่าเล็กน้อย แต่พบผลข้างเคียง
hypertrichosis 93%, pedal edema 10% และ ECG alteration 10%
ดังนั้น โดยสรุปการใช้ minoxidil ในเพศชาย คือ minoxidil 5% มีประสิทธิภาพ
ดีกว่า 2% แต่การใช้ minoxidil 3% ไม่ต่างจากการใช้ 2% และไม่สนับสนุนการใช้ oral
minoxidil
ประสิทธิภาพในเพศหญิงของยา minoxidil
จากการศึกษา 19 การศึกษาพบว่า เมื่อเปรียบเทียบการใช้ minoxidil 1% วันละ
2 ครั้ง พบว่า มีประสิทธิภาพในการเพิ่มการเจริญเติบโตของผม โดยค่าเฉลี่ย hair count
ที่ 6 เดือน เท่ากับ 15.2 hairs/cm2 จาก baseline, minoxidil 2% ค่าเฉลี่ย hair count
อยู่ในช่วงระหว่าง 21.0 hairs/cm2 ถึง 50.1 hairs/cm2 ที่ 6 เดือน, minoxidil 3%
ค่าเฉลี่ย hair count 11.9 hairs/cm2 ที่ 6 เดือน และ minoxidil 5% ค่าเฉลี่ย hair count
อยู่ในช่วงระหว่าง 13.4 hairs/cm2 ถึง 31.9 hairs/cm2 ที่ 6 เดือนซึ่งมีความแตกต่างอย่าง
มีนัยสาคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับ placebo
โดยการศึกษาของ Blume-Peytavi และคณะ พบว่า การใช้ minoxidil 5% วัน
ละครั้ง ไม่ได้เหนือกว่าการใช้ minoxidil 2% วันละ 2 ครั้ง ที่เวลา 6 เดือน และ 1 ปี
สอดคล้องกับการศึกษาของ Sheng
ดังนั้น โดยสรุปการใช้ minoxidil ในเพศหญิง พบว่า การใช้ minoxidil 5% และ
2% ไม่แตกต่างกัน
19

5-Alpha-reductase-inhibitor

CHAPTER
เป็นยาที่ออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ 5-alpha-reductase ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่เปลี่ยน
testosterone ไปเป็น dihydrotestosterone (DHT) เช่น finasteride
ประสิทธิภาพในเพศชายของยา finasteride
จาก 26 การศึกษาที่ทาในเพศชายที่มีภาวะ androgenetic alopecia โดยใช้
finasteride monotherapy พบว่า การได้รบั finasteride 1 mg วันละครั้ง เพิ่มผลรวม

1
hair count อย่างมีนัยสาคัญเมื่อเทียบกับ placebo โดยค่าเฉลี่ยที่เพิ่มจาก baseline คือ
7.0 hairs/cm2 ที่ frontal/centroparietal region (p<0.0001) และ 13.5 hairs/cm2 ที่
vertex (p<0.0001) เมื่อเทียบกับ placebo ที่ระยะเวลา 6 เดือน และค่าเฉลี่ย hair count
ที่เพิ่มจาก baseline ที่ 12 เดือน อยู่ระหว่าง 9.3 hairs/cm2 ถึง 9.6 hairs/cm2 ที่

Hair disorder
frontal/centroparietal region (p <0.01 - 0.001) และระหว่าง 7.2 hairs/cm2 ถึง 36.1
hairs/cm2 ที่ frontal/centroparietal region (p<0.05 - 0.001)
โดยสรุปได้ว่าที่ 12 เดือน การเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยที่ได้รับ finasteride อยู่
ระหว่าง 37-54% ซึ่งมีนัยสาคัญทางสถิติ และสาหรับผลการใช้ในระยะยาวที่
24,36,48,60 และ 120 เดือน ค่าเฉลี่ย hair count เมื่อเทียบกับ placebo ก็ยังมีความ
แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ประสิทธิภาพในเพศหญิงของยา finasteride
มีการศึกษาการใช้ finasteride ในการรักษาผมร่วงในหญิง postmenopausal
โดยใช้ finasteride 1 mg พบว่า ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับ
placebo และอีก 2 การศึกษาใช้ finasteride 5 mg พบว่า ค่าเฉลี่ย hail count เพิ่มขึ้น
จาก baseline 18.9 hairs/cm2 แต่มีรายงานการเกิด adverse event ได้แก่ ปวดหัว ประ
จาเดือนผิดปกติ เวียนศีรษะ และขนตามตัวเพิ่มขึ้น จากประสิทธิภาพที่ไม่ดีและ
ผลข้างเคียงมากจึงไม่แนะนาการใช้ในเพศหญิง
จึงสามารถสรุปได้ว่า finasteride แนะนา 1mg วันละครั้ง สาหรับการป้องกัน
และเพิ่มการเจริญของผมในผู้ป่วย androgenetic alopecia ในเพศชาย โดยการประเมิน
ประสิทธิภาพควรทาหลังเริ่มการรักษาอย่างน้อย 6 เดือน นอกจากนี้อาจใช้ร่วมกับ
minoxidil 2-5% ในการเพิ่มประสิทธิภาพ หรือในผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อ finasteride
1mg อาจใช้ dutasteride 0.5mg เป็น off-label use เป็น second line ในกรณีเพศหญิง
อาจเลือกใช้ minoxidil 2-5% monotherapy
20

CHAPTER
2. Scarring alopecia
สาหรับ scarring alopecia เช่น discoid lupus erythematous พบในผู้ป่วย
autoimmune ทาให้เกิดการอักเสบบริเวณหนังศีรษะและพบการหลุดร่วงของเส้นผม
หรือ scarring type tinea pedis ซึ่งมักพบใน zoophilic pathogen ในการเกิด

อ้างอิง

1
1. A.G. Messenger, J. McKillop, el al. British Association of Dermatologists’ guidelines for the
management of alopecia areata 2012. BJD. 2012:916-26.
2. V. Kanti, A. Messenger, el al. Evidence-based (S3) guideline for the treatment of androgenetic
alopecia in women and in men – short version. JEADV. 2018. 32:11-22.

Hair disorder
3. สุนิสา ไทยจินดา. ผมร่วงและศีรษะล้าน. สงขลานครินทร์เวชสาร. พ.ย.-ธ.ค. 2551. 26(6):587-99
4. วาสนภ วชิรมน และคณะ. 10+โรคผิวหนังต้องรู้. สาขาวิชาโรคผิวหนัง ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะ
แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาพพิมพ์. กรุงเทพมหานคร. 2559
5. ปรียา กุลละวณิชย์, ประวิตร พิศาลบุตร. ตาราโรคผิวหนังในเวชปฏิบตั ิปัจจุบัน = Dermatology
2020. กรุงเทพฯ : โฮลิสติก พับลิชชิง่ , 2555
6. Olsen EA, et al. A randomized clinical trial of 5% topical minoxidil versus 2% topical minoxidil
and placebo in the treatment of androgenetic alopecia in men. J Am Acad Dermatol. 2002
Sep;47(3):377-85.
7. Lucky AW, et al. A randomized, placebo-controlled trial of 5% and 2% topical minoxidil
solutions in the treatment of female pattern hair loss. J Am Acad Dermatol. 2004
Apr;50(4):541-53.
8. Blume-Peytavi U, et al. Efficacy and Safety of Once-Daily Minoxidil Foam 5% Versus Twice-
Daily Minoxidil Solution 2% in Female Pattern Hair Loss: A Phase III, Randomized,
Investigator-Blinded Study. J Drugs Dermatol. 2016 Jul 1;15(7):883-9.
9. XIAO-SHENG ZHUANG, et al. Quality of life in women with female pattern hair loss and the
impact of topical minoxidil treatment on quality of life in these patients. Exp Ther Med. 2013
Aug; 6(2): 542–546.
10. Areej Adil. The effectiveness of treatments for androgenetic alopecia: A systematic review and
meta-analysis. J AM ACAD DERMATOL. VOLUME 77, NUMBER 1
11. K.J. McClellan. Finasteride: A review of its use in male pattern hair loss. Drugs 57(1):111-26 ·
January 1999.
12. Price VH,et al. Lack of efficacy of finasteride in postmenopausal women with androgenetic
alopecia. J Am Acad Dermatol. 2000 Nov;43(5 Pt 1):768-76.
13. Rui Oliveira-Soares, et al. Adverse Effects with Finasteride 5 mg/day for Patterned Hair Loss
in Premenopausal Women. Int J Trichology. 2018 Jan-Feb; 10(1): 48–50.
VASCULAR DISORDER 1

CHAPTER
เส้นเลือดขอด
(Varicose vein)

อะไรคือเส้นเลือดขอด
เส้นเลือดขอดคือภาวะที่เส้นเลือดดาใต้ผิวหนังเกิดการสูญเสียความยืดหยุ่น อาจ

2
มองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า ลักษณะเหมือนตัวหนอนหรือไส้เดือนใต้ผิวหนังซางสามารถเกิด
กับอวัยวะภายในได้ แต่ในที่นี้จักพูดถึงเส้นเลือดขอดที่ผิวหนัง เนื่องจากต้องการให้ทราบ
เกณฑ์การปฏิบัติตัวหรือส่งต่อ แนวทางการรักษาเพื่อลดการดาเนินไปของโรค

Varicose vein
พยาธิสภาพของโรค
ภาวะหลอดเลือดขอดเป็นภาวะที่เกิดจากความผิดปกติในหลอดเลือดดา และเป็น
อาการแสดงอย่างหนึ่งของภาวะหลอดเลือดดาเรื้อรัง (chronic venous disease)ซึ่งนามา
สู่ภาวะหลอดเลือดดาบกพร่องเรื้อรัง หรือ chronic venous insufficiency (CVI) มีสาเหตุ
จากพยาธิสภาพ 2 ลักษณะ คือ เกิดจากการอุดตันของหลอดเลือดดา (venous
obstruction) หรือเกิดจากภาวะลิ้นบกพร่อง (valvular insufficiency) หรือทั้ง 2 อย่าง
ร่วมกัน โดยภาวะทั้ง 2 ส่งผลให้เลือดไม่สามารถไหลกลับเข้าสู่หัวใจได้ตามปกติ เกิดการ
ไหลย้อนกลับ ทาให้ความดันภายในหลอดเลือดดาสูงขึ้น (hypertension)
deep vein system จะมีcalf muscle ทำหน้ำที่เป็นปั๊ม คอยปั๊มเลือด และมีตัว
กั้น (valve) ให้เลือดไหลเป็นทำงเดียวคือกลับเข้ำสู่หัวใจ ประตูกลั้นเรียกว่ำ bicuspid
valve ซึ่งมีประมำณ 10-20 ตัว ปกติระบบนี้จะมีควำมดันอยู่ที่ 90 mmHg เมื่อปั๊มไล่เลือด
ไปหมด จะเหลือ 30 mmHg จำกนั้นประมำณ 30 วินำที (refilling time) จะมีเลือด
กลับมำเติมทำให้ควำมดันอยู่ที่ 90 mmHg แต่เมื่อมีควำมเสื่อมของประตูกลั้นนี้ จะทำให้
เลือดไหลย้อนลงมำได้ ผลคือมีควำมดันสูงขึ้น (hypertension) ทำให้เลือดใหม่ไม่สำมำรถ
มำเติมได้
ความดันที่สูงขึ้นทาให้ fibrinous protein ในหลอดเลือดฝอยรั่วซึมออกสู่รอบ
ข้าง จับตัวอยู่บนหลอดเลือดเรียกว่า pericapillary fibrin cuff ซึ่งเป็นตัวกระตุ้นให้เกิด
การอักเสบ โดยในการอักเสบเม็ดเลือดขาวจะออกจากเส้นเลือดมาอยู่บริเวณรอบๆหลอด
เลือดฝอย (white blood cell trapping) ปลดปล่อย proteolytic enzyme, free radical,
2

platelet activating factors และ TGF-β1 ชักนาให้เกิดการอุดตันของเส้นเลือดฝอย และ

CHAPTER
เกิดภาวะขาดเลือดของเซลล์บริเวณนั้น โดยเฉพาะเซลล์ผนังหลอดเลือดฝอย ส่งผลให้
เลือด เม็ดเลือดแดง น้าเหลืองคั่งค้างเกิด edema เมื่อเม็ดเลือดแดงตายจะปล่อยสาร
hemosiderin ทาให้ผิวหนังบริเวณนั้นมีสีคล้าขึ้น (hyperpigmentation) โดยมากมักเป็น
บริเวณรอบข้อเท้า และชักนาให้เกิด lipodermatosclerosis เมื่อเนื้อเยื่อขาดเลือดมา
เลี้ยง ขาดสารอาหาร ขาด oxygen (hypoxia) เนื้อเยื่อจะหลุดลอกจนผิวหนังตายเกิดเป็น

2
แผลเรื้อรังเกิดขึ้น

ปัจจัยเสีย่ ง

Varicose vein
1. อายุ ซึ่งในผู้ป่วยที่อายุมากขึ้นความยืดหยุ่นของหลอดเลือดจะลดลง เพิ่มความ
เสี่ยงในการขยายตัวของหลอดเลือด ทาให้ลิ้นภายในหลอดเลือดดาสูญเสียหน้าที่
ในการทางาน
2. เพศ โดยพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชายประมาณ 2 เท่า โดยเฉพาะในหญิง
ตั้งครรภ์พบความเสี่ยงเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าของผู้หญิงที่ไม่ได้ตงั้ ครรภ์
3. โรคอ้วน (obesity) โดยพบความเสี่ยงสูงในผู้ที่มี BMI มากกว่า 30 kg/m2 (หาก
พิจารณาตาม BMI กระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทย คือ มากกว่า 25 kg/m2 )
4. ประวัตคิ รอบครัวเป็นโรคหลอดเลือดดา
5. อาชีพ โดยอาชีพที่เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดเส้นเลือดขอด คืออาชีพที่ต้องยืน
นานๆ เนื่องจากในท่ายืนความดันบริเวณหลอดเลือดดาจะสูง และกล้ามเนื้อไม่
เกิดการบีบตัว

การแบ่งระดับความรุนแรง Clinical classification (CEAP)

Clinical class คาอธิบาย


C0 ไม่มีอาการแสดงของเส้นเลือดดาเรื้อรัง
C1 มีการขยายของเส้นเลือดฝอยขนาดเล็ก
C2 เส้นเลือดขอดขนาดมากกว่า 3mm
C3 มีอาการบวม (Edema)
C4a มีการเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง (pigmentation or eczema)
3

Clinical Class คาอธิบาย

CHAPTER
C4b มีการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังและชั้นใต้ผิวหนัง
(lipodermatosclerosis)
C5 มีแผลที่หายแล้วจากหลอดเลือดดาอุดตัน (healed venous
ulcer)
C6 มีแผลแบบ Active venous ulcer

2
เกณฑ์ในการส่งต่อแพทย์
1. อยู่ในภำวะแสดงอำกำร (Symptomatic) ได้แก่ ปวด คัน รู้สึกไม่สบำย บวม รู้สึก

Varicose vein
หนัก
2. สีผิวเปลี่ยนแปลง
3. Superficial vein thrombosis (ผิวหนังแข็ง ปวดบริเวณหลอดเลือด)
4. Venous leg ulcer (มีรอยแตกที่ผิวหนังใต้เข่ำลงไป โดยไม่หำยเองภำยใน 2
สัปดำห์)
5. Healed venous leg ulcer
6. Clinical class C3-C6 เพื่อฉำยภำพดูกำรอุดตันของหลอดเลือด

แนวทางการรักษา
การรักษาโดยไม่ใช้ยา : Non-pharmacotherapy
1. ลดน้าหนัก
2. ลดการทากิจกรรมหนักๆ
3. ยกขาสูงขึ้นในแต่ละวันเวลาพัก เพื่อลด leg volume พบการศึกษาใน class C3-
6
4. Compression therapy ด้วย compression stocking
จัดเป็น first-line therapy ตาม European Society for Vascular
Surgery (ESVS) 2015 ในผู้ป่วย symptomatic varicose vein เนื่องจาก
สามารถลด ambulatory venous pressure เพิ่มการไหลเวียนของเลือดใน
หลอดเลือดดา เพิ่มการไหลเวียนของเลือดบริเวณผิวหนัง (cutaneous
autoregulation) และ microcirculation เพิ่มแรงบีบตัวของกล้ามเนื้อน่อง และ
4

ช่วยลดอาการบวม มีประโยชน์ทั้งการรักษาและการป้องกันการกลับเป็นซ้าของ

CHAPTER
ภาวะ CVI
การรักษาด้วยการพันรัดขาส่วนใหญ่ใช้แรงบีบในช่วง 20 - 50 mmHg
เป็นหลัก โดยมีการศึกษาการพันรัดขาด้วยความดัน 30 – 40 mmHg สามารถลด
อาการปวด บวม ลดรอยแผล หรืออาการคล้าบริเวณผิวหนังได้อย่างมีนัยสาคัญ
ในกรณีที่ผู้ป่วยมี compliance 70 - 80% ขึ้นไป อย่างไรก็ตามแรงบีบที่ใช้จะ

2
ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรคเป็นหลัก สาหรับที่ C0-C2 ไม่ได้มคี าแนะนาแน่ชัด
ในด้านความตึง

Varicose vein
ระดับอาการทางคลินิก แรงรัด (mmHg)
พบเส้นเลือดขอด ระยะ C2-C3 20-30
เส้นเลือดขอดระยะรุนแรง C4-C6 30-40
พบการกลับมาเป็นซ้าของแผล (Recurrent ulcer) 40-50

การรักษาด้วยยา : Pharmacotherapy
สามารถแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ venoactive agents และ non-venoactive
agents สำหรับ non-veno active ได้แก่ pentoxifylline ซึ่งลดกำรกระตุ้นเม็ดเลือดขำว
Venoactive drugs ถูกแนะนาในผู้ป่วย Chronic venous disease without
ulceration (C0-C4) ที่มีอาการปวดและบวม มีการใช้อย่างแพร่หลายในแถบทวีปยุโรป
อย่างไรก็ตามยังไม่มีการรับรองให้ใช้ในอเมริกา และยังไม่ได้การรับรองจาก US FDA
เนื่องจากยังไม่มีการศึกษาทางคลินิกที่เพียงพอสนับสนุนการใช้ยากลุ่มดังกล่าวในการ
รักษาผู้ป่วย CVI โดย venoactive drugs สามารถจาแนกเป็นกลุ่มต่างๆตามตาราง
ด้านล่าง
5

กลุ่มยา ชื่อสาร แหล่งที่พบ

CHAPTER
Alpha-benzopyrones Coumarin Melilot, Woodruff
Gramma-benzopyrones Diosmin Citrus spp.
(flavonoids) Micronized purified fraction Rutaceae aurantiae
(MPFF) Sophora japonica
Rutin and Rutosides Eucalyptus spp.
Troxerutin

2
Saponins Escin Horse chestnut extract
Ruscus extract Ruscus aculeatus
Other plant extracts Anthocyans Bilberry
Pronthocyanidins Red wine, Maritime pine

Varicose vein
Extracts of ginkgo Ginkgo biloba
Triterpene fraction Centralla asiatica
Synthetic products Calcium dobesilate Synthetic
Benzaron Synthetic
Naftazon Synthetic

กลไกการออกฤทธิ์ของยากลุ่ม venoactive
1. เพิ่มการหดตัวของหลอดเลือดดา จากการยับยั้งการทาลาย noradrenaline
ส่งผลให้เลือดไหลกลับสู่หัวใจได้มากขึ้น (เพิ่ม venous return) ลดปริมาณเลือด
ในหลอดเลือดดา ลดการขยายตัวของหลอดเลือดดา
2. ยับยั้งการหลังสารสื่ออักเสบ ได้แก่ prostaglandins และ thromboxane
3. ลดการปลดปล่อย oxygen free radical จากเซลล์เม็ดเลือดขาว
4. ควบคุมระบบไหลเวียนของเส้นเลือดฝอย และการไหลเวียนของระบบน้าเหลือง
5. ยับยั้งการเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด
6. ยับยั้งการยืดเกาะระหว่างเซลล์เม็ดเลือดขาวกับ endothelial cells และยับยั้ง
การ transmigration ของเม็ดเลือดขาวสู่ผนังหลอดเลือดดา (เฉพาะ MPFF)
6

CHAPTER
ประสิทธิภาพการใช้ยาในผู้ป่วยระยะ C0-C4
1. Micronized purified flavonoid fraction (MPFF) หรือ daflon® เป็นตัวที่
มีประสิทธิภำพสูงสุดในกลุ่ม มีกำรศึกษำมำกที่สุด ผลจำก meta-analysis
พบว่ำลดทั้ง edema และ leg volume เพิ่ม venous tone ลด cramp
สอดคล้องกำร RCT ขนำดใหญ่หรือ RILIEF trial มีผู้ร่วมกำรศึกษำ 5,052

2
รำย ประสิทธิภำพเมื่อใช้ MPFF 500 mg bid นำน 2-6 เดือน
2. Rutosides ลด venous edema ได้ในบำงกำรศึกษำ
3. Horse chestnut extract ซึ่งมีสำระสำคัญคือ Aescin (reparil) เมื่อใช้ใน
ขนำดเท่ำกับ Aescin 100 mg/d พบว่ำลด edema กำรปวด และอำกำรคัน

Varicose vein
ได้อย่ำงมีนัยสำคัญเมือ่เทียบกับยำหลอก
4. Red wine extract มีสำรกลุ่ม anthrocyanin มี 1 RCT พบว่ำลด limb
volume

ประสิทธิภาพการใช้ยาในผู้ป่วยระยะ C5-C6
1. แนะนำกำรรักษำเพิ่มเติมจำกกำรรัด และทำแผล โดยใช้ MPFF หรือ
pentoxifylline 400 mg tid เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพของกำรรักษำ

จำกกำรศึกษำ systematic review ของ Martinez-Zapata MJ. และคณะ


(2016) โดยรวบรวมกำรศึกษำที่ได้รับกำรตีพิมพ์รูปแบบ randomised, double-blind,
controlled trials ที่ศึกษำด้ำน efficacy และ/หรือ safety ของ venoactive agents
เปรียบเทียบกับ placebo ในผู้ป่วย CVI ที่ stage ต่ำงๆ จำนวน 66 กำรศึกษำ คุณภำพ
ของหลักฐำนอยู่ระดับปำนกลำง (Moderate-quality)
7

ตำรำงแสดงผลกำรรวบรวมกำรศึกษำ

CHAPTER
Efficacy Reutoside MPFF Aminaftone Calcium
(RR, [CI]) dobesilate
Edema 0.72 [ 0.64, 0.81 ] 0.63 [ 0.46, 0.86 ] 0.53 [ 0.28 - 0.99 ] 0.72 [ 0.48-1.07 ]
Ulcer cured 1.28 [ 0.87, 1.86 ] 0.84 [ 0.69, 1.01 ] 0.75 [ 0.18, 3.18 ] 1.09 [ 0.69, 1.74 ]
Trophic 0.94 [ 0.71, 1.25 ] 0.87 [ 0.81, 0.94 ] 0.77 [ 0.41, 1.44 ] -
disorders

2
Pain 0.63 [ 0.48, 0.83 ] 0.82 [ 0.63, 1.08 ] 0.43 [ 0.23, 0.79 ] 0.39 [ 0.16, 0.93 ]
Cramps 0.70 [ 0.47, 1.02 ] 0.83 [ 0.70, 0.98 ] 0.56 [ 0.31, 0.99 ] 0.65 [ 0.50, 0.84 ]
Restless legs 0.85 [ 0.72, 1.01 ] 0.90 [ 0.70, 1.15 ] 0.73 [ 0.59, 0.91 ] -
Itching 0.68 [ 0.21, 2.21 ] 1.63 [ 0.51, 5.25 ] 0.53 [ 0.31, 0.91 ] -

Varicose vein
Heaviness 0.60 [ 0.48, 0.74 ] 0.60 [ 0.35, 1.05 ] 0.32 [ 0.17, 0.60 ] 0.33 [ 0.08, 1.42 ]
Swelling 0.67 [ 0.50, 0.88 ] 0.70 [ 0.52, 0.94 ] - 0.19 [ 0.08, 0.41 ]
Paraesthesia 0.55 [ 0.37, 0.83 ] 0.80 [ 0.62, 1.05 ] - 0.74 [ 0.51, 1.08 ]
Quality of life - - -10.00 [ -17.01, - -0.60 [ -2.15, 0.95 ]
(mean diff) 2.99 ]
หมำยเหตุ: พิจำรณำควำมแตกต่ำงทำงสถิติโดยเลือกช่วง 95%CI ไม่คร่อม 1.00 แต่สำหรับค่ำแตกต่ำง
ของ QoL พิจำรณำคร่อม 0

เมื่อพิจำรณำตำมหลักฐำนงำนวิจัย ตำมกำรศึกษำของ Perrin M พบว่ำปัจจุบันยัง


มีระดับหลักฐำนงำนวิจัยอยู่ประมำณต่ำถึงปำนกลำง ดังที่แสดง
ผลลัพธ์ที่วัดในการศึกษา Venoctive drug Recommendation Quality of
ตาม GRADE system evidence
บรรเทาอาการใน C0-C6 MPFF Strong Moderate
และศึกษาการลดบวม Rutosides Strong Moderate
Calcium dobesilate Weak Moderate
Horse chestnut extract Weak Low
Ruscus extracts Weak Low
ศึกษาการหายของแผลจาก MPFF Strong Moderate
venous ulcer โดยใช้
ร่วมกับการรัด
(compressive therapy)
8

ประสิทธิภาพของยารูปแบบทา ?.......

CHAPTER
ปัจจุบันมีกำรใช้ Mucopolysaccharidosis (MPS) ซึ่งเป็นสำรอนุพันธ์ heparin
เรียกว่ำ heparinoid ที่รู้จักกันดีในชื่อกำรค้ำ Hirudoid® มีกำรศึกษำ 1RCT เปรียบเทียบ
กับ heparin gel ในด้ำนกำรรักษำเส้นเลือดขอดพบว่ำ ประสิทธิภำพของ heparin gel
ดีกว่ำซึ่งสอดคล้องกับในหลำยๆกำรศึกษำ แต่ hirudoid® มีประสิทธิภำพถูกยืนยันใน
หลำยกำรศึกษำในด้ำนกำรรักษำและป้องกันกำรเกิดหลอดเลือดดำอักเสบ หรือ

2
thrombophlebitis มำกกว่ำ

กรณีศึกษา

Varicose vein
ผู้ป่วยเพศหญิง อายุ 40 ปี หนัก 52 kg สูง 160
cm ประกอบอาชีพขายอาหาร เข้ารับบริการที่ร้านยา
อาการปวดขาเมื่อยืนนานๆ ไม่เคยได้รับการรักษามา
ก่อน pain score 2-3 พบเส้นเลือดนูนเล็กน้อย
สังเกตเห็นชัดเจน บริเวณข้อพับหลังเข่าที่ขาทั้ง 2 ข้าง
เมื่อประเมินความรุนแรงของโรค chronic
venous disease โดยใช้อาการทางคลินิก (clinical
classification) ตาม CEAP classification พบว่าอยู่ใน
ระดับ C1s เนื่องจากผู้ป่วยมีหลอดเลือดดาพองโตขึ้น
คล้ายร่างแหใยแมงมุม (telangiectasia) และคดเคี้ยว
(tortuous) ร่วมกับมีอาการปวด เมื่อประเมินด้วย Venous clinical severity score
(VCSS) ผู้ป่วยรายนี้จัดอยู่ในระดับ mild จึงแนะนาการใช้ถุงน่องทางการแพทย์ที่มีแรงบีบ
รัด 20-30 mmHg และอาจแนะนาการใช้ MPFF 500 mg 1x2 นาน 3-6 เดือนร่วมด้วย
และนัดติดตามหากเข้าเกณฑ์ส่งต่อตามที่กล่าวไว้ ควรแนะนาพบแพทย์เพื่อรักษาต่อไป
9

อ้างอิง

CHAPTER
1. Kasper DL, Fauci AS, Hauser SL, Longo DL, Jameson JL, Loscalzo J. Harrison's
principles of internal medicine (19th edition.). New York: McGraw Hill Education;
2015. p.1650-53.
2. Eberhardt RT. and Raffetto JD. Chronic Venous Insufficiency. Circulation.
2014;130:333-346.

2
3. Wittens C, Davies AH, Baekgaard N, Broholm R, Cavezzi A, Chastanet S, et al.
Management of chronic vonous disease clinical practice guidelines of the
European society for vascular surgery (ESVS). Eur J Vasc Endovasc Surg.
2015;49:678-737.

Varicose vein
4. Malgor R. D. and Labropoulos N. Chronic venous disease guidelines and daily
clinical practice. Medicography, 2011: 33(3); 259-68.
5. Aziz Z, Tang WL, Chong NJ, Tho LY. A systematic review of the efficacy and
tolerability of hydroxyethylrutosides for improvement of the signs and
symptoms of chronic venous insufficiency. J Clin Pharm Ther. 2015;40:177-85.
6. Pittler MH, Ernst E. Horse chestnut seed extract for chronic venous insufficiency.
Cochrane Database Syst Rev. 2012.
7. Martinez-Zapata MJ, Vernooij RWM, Stein AT, Moreno RM, Vargas E, Capellà D,
et al. Phlebotonics for venous insufficiency (Review). Cochrane Database Syst
Rev. 2016.
8. Perrin M, Ramelet AA. Pharmacological treatment of primary chronic venous
disease: rationale, results and unanswered questions. Eur J Vasc Endovasc Surg.
2011;41:117-25.
9. นัชชญกร ปิ่นเกสร และ รัตนา เพียรเจริญสิน. คาแนะนาสาหรับผู้ป่วยที่จาเป็นต้องใส่ถุงน่อง
ทางการแพทย์. คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. 2554.
Respiratory system 1

CHAPTER
CHAPTER 3 3
การใช้ยาแก้ไอในเด็ก
Acute cough in children

ความสาคัญ
เนื่องจากหลายๆแนวทางการจัดการอาการไอในเด็กได้แนะนาให้มีการจัดการที่
แตกต่างจากการรักษาอาการไอในผู้ใหญ่ ในการจัดการอาการไอผู้ใหญ่นั้นอาจสามารถ

Acute
มองว่าเกิดจาก 3 ปัจจัยหลักได้แก่ cough variant asthma คือผู้ป่วยที่มีอาการไอแห้ง ไอ

Acutecough
มากโดยเฉพาะตอนกลางคืน แต่สมรรถภาพปอดปกติ, postnasal drip ซึ่งอาจเกิดจาก
หลายสาเหตุ เช่น common cold หรือ upper respiratory tract infection ทาให้มี
น้ามูกหรือสารคัดหลั่งไหลลงคอ กระตุ้นอาการไอ และสุดท้ายคือ Atypical GERD ได้

coughin inchildren
แต่ในเด็ก อาการไออาจมีภาวะแทรกซ้อนที่คานึงถึงมากกว่านั้น ดังนั้นบทความนี้
เป็นเพียงการแนะแนวทางเกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วยเด็กเพื่อรับการตรวจอย่างละเอียดโดย
แพทย์ และเพื่ออธิบายข้อควรคานึงความปลอดภัยเมื่อเภสัชกรจ่ายยาแก้ไอในผู้ป่วยเด็ก

children
แนวทางการแยกโรคเบื้องต้น
อาการไอเฉียบพลัน (Acute cough) คือการไอน้อยกว่า 3 สัปดาห์ ซึ่งพบว่ามัก
เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อทางเดินหายในส่วนบน ซึ่งทาให้มีอาการไอได้ถึง 2-3 สัปดาห์
Postviral cough
เป็นอาการไอที่เกิดพร้อมกับอาการอื่นๆ ของการติดเชื้อไวรัส เช่น common
cold ในระยะแรกอาการจะเริ่มด้วยคัดจมูก ระคายคอ หรือเจ็บคอเล็กน้อย จะมีจาม
น้ามูกใส ไข้ต่าๆ มักพบอาการไอร่วมด้วย1-3 วันต่อมาน้ามูกจะเริ่มเป็น mucopurulent
ซึ่งเป็นการดาเนินโรคปกติของหวัด ซึ่งจะไม่เข้าเกณฑ์ bacterial sinusitis (ศึกษาเพิ่มเติม
ได้ใน IDSA-bacterial sinusitis criteria) อาการจะเป็นอยู่ 2-7 วัน โดยอาการต่างๆ แต่
อาการไอสามารถคงอยู่ได้ถึง 2-3 สัปดาห์ โดยอาการจะค่อยๆลดลง ซึ่งสามารถพบได้ทั้ง
การไอติดต่อกันตลอด 2-3 สัปดาห์ หรือ ชนิด recurrent cough คือ อาการไอดีขึ้นหรือ
หายไปในประมาณ 1 สัปดาห์แรกที่มีอาการของหวัด (common cold) แล้วกลับมาไออีก
ครั้งในสัปดาห์ที่ 2
2

Allergic rhinitis และ post-nasal drip

CHAPTER
ผู้ป่วยมักมีน้ามูกร่วมด้วย โดยมีการไหลของนา้ มูกจากกมูกลงมาที่ลาคอทาให้
กระตุ้นการไอ มีรายงานพบว่าผู้ป่วยมักมีอาการมากขึ้นช่วงตอนกลางคืนหรือตอนนอน
และไม่มีอาการในช่วงระหว่างวัน ดังนั้นการรักษาหลักคือการกาจัดน้ามูกที่เกิดขึ้น เช่น
การรับประทานยาต้านฮีสตามีน
Cough variant asthma

3
เป็นกลุ่มอาการไอแห้ง ไอถี่ โดยเฉพาะเวลากลางคืน โดยไม่มีหอบเหนื่อย หรือ
เสียงวี๊ด ผู้ป่วยกลุ่มนี้มักมีการทางานของปอดปกติ ผู้ป่วยมักตอบสนองต่อการใช้ยาขยาย
หลอดลม จึงควรส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรับการตรวจโดยแพทย์โดยเฉพาะผู้ที่มีอาการไอมากกว่า

Acute cough in children


3 สัปดาห์
Croup syndrome
เป็นกลุ่มโรคที่มีทางเดินหายใจส่วนต้นอุดกั้นเฉียบพลันจากการติดเชื้อ จัดอยู่ใน
กลุ่มของ lower respiratory tract infection ได้แก่ acute laryngotracheobronchitis
(viral croup), acute epiglottits, bacterial tracheitis, retropharyngeal abscess

เกณฑ์การส่งต่อกรณี Acute cough


ซึ่งหากผู้ป่วยมีลักษณะอาการดังต่อไปนี้ควรส่งต่อพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย
เพิ่มเติม ได้แก่ หายใจมีเสียงวี๊ด, มีไข้ร่วมด้วยขณะที่มีอาการไอ, มีการสร้างเสมหะมากขึ้น
มากกว่า 3 สัปดาห์ และมีอัตราการหายใจสูงกว่าปกติ สามารถแบ่งตามช่วงอายุได้ดังนี้
ค่าอัตราการเต้นของหัวใจและอัตราการหายใจในช่วงปกติ ตามอายุ
อายุ อัตราการหายใจ อัตราการเต้นของหัวใจ
(ครั้งต่อนาที) (ครั้งต่อนาที)
<12 เดือน 30-40 110-160
1-4 ปี 20-30 95-140
5-12 ปี 15-20 80-120
> 12 ปี 12-16 60-100
3

แนวทางการรักษา

CHAPTER
กรณีผู้ป่วยเด็กไอเรื้อรังมากกว่า 3-8 สัปดาห์ โดยเฉพาะการไอแบบไม่มีอาการ
อื่นร่วมด้วย (isolated cough) ไม่แนะนาให้ทดลองใช้ยา ต้านฮีสตามีน, ยาขยายหลอดลม
หรือยายับยั้งการหลั่งกรด แต่ควรส่งต่อเพื่อหาสาเหตุต่อไป
การรักษาโดยไม่ใช้ยา
จัดเป็นการรักษาหลักที่ควรทาเป็นอันดับแรกเนื่องจากมีความปลอดภัยสูงและมี

3
ข้อมูลทางการวิจัยยืนยัน
oral hydration ควรดืม่ น้ามากๆเพราะจะทาให้เสมหะเหลวและถูกขับออกได้
soothing remedies ยากลุ่มนี้อาจลดอาการไอที่เกิดร่วมกับคอแห้ง สาหรับตัวที่

Acute cough in children


มีการศึกษาคือการใช้น้าผึ้ง หรือใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของน้าผึ้ง ปัจจุบันถูกรองรับโดย
WHO ในการรักษาอาการไอ จากการศึกษาพบว่าการใช้น้าผึ้งผสมนมมีประสิทธิภาพไม่
แตกต่างกับการใช้ dextromethorphan ในเด็ก
การให้คาความรู้ผู้ปกครองเป็นสิ่งที่สาคัญอีกเช่นกัน เพื่อลดความกังวล ลดภาระ
การไปโรงพยาบาลเนื่องจากมีผู้คนจานวนไม่มากที่ทราบว่าอาการไอมักหายได้เอง โดยใช้
ระยะเวลา 2-3 สัปดาห์

การใช้ยาขยายหลอดลมในเด็ก
มีการศึกษาของ Bernard DW และ Smucry JJ ไม่พบประโยชน์ในการใช้ยา
ขยายหลอดลมในการบรรเทาอาการไอในเด็กที่ไม่ได้เป็นโรคหอบหืด (asthma)

การใช้ยาแก้ไอ
ในปัจจุบันยังไม่มีการศึกษาระดับคุณภาพดีที่ยืนยันประสิทธิภาพของการใช้ยา
แก้ไอในเด็ก แต่มีแนวโน้มของผลการศึกษาคล้ายกันในการใช้ยาทั้ง Acetylcysteine,
Carbocysteine, Bromhexine, Ambroxol และ guaifenesin คืออาจจะดีกว่ายาหลอก
ในบางการศึกษา แต่สาหรับ ammonium chlorate, terpine hydrate, syrup ipecac
ไม่มีการพิสูจน์ประสิทธิภาพ
สิ่งที่ควรคานึงคือการศึกษาในเด็ก มักทาในเด็กอายุมากกว่า 2 ปี หรือมีสัดส่วน
ประชากรกลุ่มอายุช่วง 2 ปีไม่มากนัก อีกทั้งยังพบรายงานการทาให้อาการแย่ลง
(respiratory paradoxical adverse drug reaction) เพิ่มขึ้นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 6 ปี
ที่ได้รับยากลุ่ม Acetylcysteine และ Carbocysteine และพบ case report กรณีการใช้
4

CHAPTER
carbocysteine ในเด็กอายุ 24 เดือน เช่นกัน อย่างไรก็ตามสาหรับ bromhexine หรือ
ambroxol ก็จัดเป็นกลุ่มที่มีการศึกษาในเด็กไม่มากนัก จึงไม่สามารถรับรองความ
ปลอดภัยได้เช่นกัน
สาหรับยาขับเสมหะที่มีการศึกษาในเด็ก และ WHO แนะนาให้ใช้ในเด็ก ได้แก่
guaifenesin หรือ glyceryl guaiacolate แต่ต้องระวังผลข้างเคียงจากการให้ขนาดสูงได้
สาหรับการใช้ dextromethorphan ปัจจุบันยังไม่มีการศึกษาที่ปรียบเทียบกับ

3
ยาหลอก (placebo) ในกลุ่มประชากรเด็ก จากผลการศึกษาทาให้ผู้ป่วยอายุมากกว่า 6 ปี
ขึ้นไปพบว่าประสิทธิภาพไม่แตกต่างจากยาหลอก ซึ่งในปี 2017 มีการประชุมเรื่องการใช้
ยาแก้ไอในเด็กของ FDA ได้กล่าวบทบาทของ กลุ่มยากดการไอ (cough suppressant) ว่า

Acute cough in children


ไม่แนะนาให้ใช้โดยทั่วไป เว้นแต่กรณีที่ เด็กมีภาวการณ์ไอที่ส่งผลต่อการนอนหลับหรือทา
ให้อาเจียน, อาการไอทาให้กระดูกซี่โครงหัก หรือ อาการไอมากส่งผลให้เกิด hypoxia
ปัจจุบันยังไม่มีแนวทางสรุปแน่ชัดถึงการใช้ยาแก้ไอว่ากลุ่มใดจะมีประสิทธิภาพ
และความปลอดภัยมากกว่า ดังนั้นเภสัชกรควรคานึงถึงความปลอดภัยและหลักฐาน
งานวิจัยร่วมด้วยในการดูแลผู้ป่วยเด็ก สาหรับขนาดยาในเด็กแตกต่างกันในแต่ละ
เอกสารอ้างอิง ซึ่งเภสัชกรสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือเพิ่มเติม

ขนาดยาแก้ไอในเด็ก
Acetylcysteine 1m-2y : 100 mg แบ่ง 12 hr
2y ขึ้นไป: 200 mg แบ่ง 12 hr
Ambroxol 1.5-2 mg/kg/day แบ่ง q 6-8 hr
Bromhexine 0.6-0.8 mg/kg/day แบ่ง q 8 hr
Carbocysteine 1 เดือน- 2 yr: 20-30 mg/kg/day แบ่ง 2-3 ครั้ง
>2-5 yr 62.5-125 mg แบ่ง 4 ครั้ง
6-12 yr: 250 mg แบ่ง 3 ครั้ง
>12 yr: 500 mg แบ่ง 3 ครั้ง

Glyceryl guaiacolate <2 y: 12 mg/kg/day แบ่ง q 4 hr


2-5 y: 50-100 mg ,max 600 mg/day
6-11 y: 100-200 mg ,max 1.2 g/day
>12 y: 200-400 mg, max 2.4 g/day
5

การใช้ยาต้านฮีสตามีน

CHAPTER
ไม่มปี ระสิทธิภาพในการลดน้ามุกและอาการไอในเด็กที่เป็นหวัด (common
cold) แต่แนะนายารับประทานต้านฮีสตามีนหรือ intranasal antihistamine ในกรณีที่
เกิดจาก allergic rhinitis

อ้างอิง

3
1. Shields MD, et al. Recommendations for the assessment and management of
cough in children. Thorax 2008;63(3),piii1-5.
2. Department of Health and Ageing Therapeutic Goods Administration. Review of
cough and cold medicines in children. Australian government . April 2009.

Acute cough in children


3. Expert roundtable meeting. Use of cough suppressants in children. April 2017.
4. Chalumeau M, Dujivestijn YCM. Acetylcysteine and carbocysteine to treat acute
upper and lower respiratory tract infections in children without chronic broncho-
pulmonary disease. Cochrane database of systematic review. 2013;5
5. Alastair DH, et al. Acute cough in children. BMJ 328,2004.
6. Mallet P, et al. Respiratory paradoxical adverse drug reactions associated with
acetylcysteine and carbocysteine systemic use in paediatric patients: a national
survey. PLoS One. 2011;6(7):e22792.
7. Goldman DR. Honey for the treatment of cough in children. Can Fam Physician.
2014 Dec; 60(12): 1107–10.
8. สมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย. โรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบหายใจในเด็ก
6

CHAPTER
การใช้ยาต้านฮีสตามีนในเด็ก
Focus on Non-sedative antihistamines and safety in
pediatric

3
บทนา
เนื่องจาก allergic disorder นั้นไม่ได้เกิดเพียงจากาการกระตุ้น H1 receptor

Antihistamine in psoriatic
เท่านั้น แต่ยังเกิดจากการหลังสารสื่ออักเสบหลายชนิด (inflammation effect) ทั้งชนิดที่
กระตุ้นผ่าน receptor และแบบที่ไม่อาศัย receptor เช่น การสัมผัสสารกระตุ้นใน
ปริมาณที่สูงมากพอกระตุ้นการปลดปล่อย H1, PGD2, Trypase, kinins และ cytokine
อื่นๆจาก Mast cell หรือ basophil ทั้งชนิดที่เป็นการการะตุ้นผ่านระบบภูมิคุ้มกัน หรือไม่
ก็ตาม หรือการกระตุ้นกระบวนการอนุมูลอิสระ โดยอาศัย receptor ต่างๆช่วยในการ
ทางานเพื่อสร้างสารกลุ่ม ICAM-I, VCM-I, NFKB
สาหรับยาต้าน histamine นอกจากจะสามารถยับยั้ง H1 receptor ได้แล้ว มีการศึกษา
พบว่าการใช้ ยาต้าน Histamine ก่อนกระตุ้นการแพ้พบว่า สามารถลดระดับ VCM-I,
NFKB และอื่นๆ ซึ่งเป็นสารสื่ออักเสบได้ และยังทาให้เกิด down-regulation ของ
receptor ที่กระตุ้นสารสื่ออักเสบ ซึ่งผลของการลด pro-inflammation หรือ down-
regulation ของยาแต่ละตัวจะแตกต่างกันออกไปทาให้ผู้ป่วยอาจตอบสนองต่อยาไม่
เหมือนกัน
และเนื่องจากหลายแนวทางการรักษาไม่แนะนาการใช้ 1st-genreation
antihistamines (sedative-antihistamine) ในกรณีผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 2 ปี บทความนี้
จึงมุ่งเรื่องการใช้ 2nd-genreation antihistamines ในเด็กเพื่อทดแทนการใช้ยากลุ่ม
sedative-antihistamine
7

เภสัชจลนศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์ของยาต้านฮีสตามีน

CHAPTER
สาหรับกลุ่ม sedative-antihistamine มีค่าครึ่งชีวิตค่อนข้างนานเช่น
chlorpheniramine นาน 20-36 ชั่วโมง และ hydroxyzine 16-24 ชั่วโมง แต่กลับมี
duration ที่สั้น ซึ่งสาหรับ off-set ของยากลุ่มนี้ถูกอธิบายว่า ระยะเวลาการออกฤทธิ์ของ
ยาขึ้นอยู่กับระดับยาในเยื่อเยื่อที่ต้องการออกฤทธิ์ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับระดับยาในเลือด และ
สาหรับค่าระยะเวลาการออกฤทธิ์ที่รายงานมักเป็นยการศึกษาการดูผื่นแดงมากกว่าการ

3
ใช้ในข้อบ่งใช้ลดน้ามูก
ซึ่งสาหรับกลุ่ม non-sedative จะมีระดับยาใน tissue มากกว่าและยังมี active
metabolite ซึ่งทาให้ยาสามารถออกฤทธิ์ได้นานกว่ากลุ่ม sedative antihistamine

Antihistamine in psoriatic
ยา ค่าครึ่งชีวิต PROTEIN ONSET OF ระยะเวลา
(ชั่วโมง) BINDING ACTION การออก
(%) (ชั่วโมง) ฤทธิ์
(ชั่วโมง)
CETIRIZINE 6.5-10 93 0.7 24
DESLORATADINE 14-34 73-76 3-4 24
FEXOFENADINE 14.4 60-70 1-2 24
LEVOCETIRIZINE 5.508.5 96 0.5 >24
LORATADINE 4.5-12 98 3-4 24

Roongapinun S และคณะได้ศกึ ษาผลของ 95 % inhibitory จากการกระตุ้น


histamine ในการเกิดผื่นที่ผิวหนังพบว่า cetirizine ออกฤทธิ์เร็วสุดและมีประสิทธิภาพ
มากที่สุด (in vitro) ซึ่งกลุ่มของยาต้านฮีสตามีน มีผลที่เรียกว่า residual action กล่าวคือ
เมื่อหยุดยากลุ่มต้านฮีสตามีนไปแล้ว แต่ผลของยาจะคงอยู่ประมาณ 6-7 วัน ดังนั้นหากจา
เป็นต้องทา challenge test ควรทาหลังหยุดยาต้านฮีสตามีน 6-7 วัน
ในอดีตยากลุ่มต้านฮีสตามีนถูกห้ามใช้ในผู้ป่วยหอบหืด เนื่องจากมีข้อกังวลผล
ของ anticholinergic อาจลดการทางานของหลอดลมรวมถึงอาจทาให้สารคัดหลั่งข้น
เหนียวมากขึ้น ต่อมา American Academy of Allergy, Asthma & Immunology
8

(AAAAI committee) ได้ยกเลิกข้อนี้เนื่องจากผลของ anticholinergic จากยากลุ่มต้าน

CHAPTER
ฮีสตามีน ต่อการทางานของหลอดลมและ airway secretion ไม่มากนัก
สอดคล้องกับการศึกษต่อมาพบว่า non-sedative มีประสิทธิภาพในการช่วย
ชะลอการเกิด asthma ได้ โดยเฉพาะกลุ่มใหม่ๆที่มีฤทธิ์ anti-inflammation สูง
แต่สาหรับการรักษา urticarial vasculitis หรือ chronic urticaria การได้รับยา
ต้านฮีสตามีนกลับไม่ได้ผลในการรักษา แต่การใช้ร่วมกับกลุ่ม H2 antagonist กลับเพิ่ม

3
ประสิทธิภาพการรักษามากขึ้น
อีกการรักษาที่น่าสนใจคือการใช้กลุ่มต้านฮีสตามีนชนิด sedative ในผู้ใหญ่ที่
เป็น common cold พบว่ามีประโยชน์ในการบรรเทา nasal symptom ได้เล็กน้อย แต่
กลับไม่พบประโยชน์ของการใช้ antihistamine / decongestant ในเด็ก

Antihistamine in psoriatic
Non-sedative anti-histamines

Loratadine
Onset ใน allergic rhinitis 42 นาที – 1 ชั่วโมง และใน wheel and flare 0.75
ชั่วโมง ขณะที่ cetirizine 0.25 ชั่วโมง Loratadine ถูกยืนยันฤทธิ์ anti-cholinergic ใน
หลายๆการศึกษา และสามารถลดสารสื่ออักเสบได้หลายตัว เช่น ICAM-I expression ใน
nasal epithelial cell , ECP, EPO และหากใช้เกิน 4 สัปดาห์ ช่วยลด IL-5, ECP ในสาร
คัดหลั่งจากจมูก
สาหรับประสิทธิภาพทางคลินิกในมนุษย์ พบว่ายากลุ่มนี้ให้ผลการรักษาที่ไม่
แตกต่างกันทั้ง loratadine, cetirizine, fexofenadine, mizolastine” แต่ในผลใน in
vitro ในความสามารถในการจับกับ Histamine-1 receptor แตกต่างดังนี้
Desloratadine > CPM > hydroxyzine > fexofenadine และสาหรับผลต่อ H2
receptor นั้น desloratadine มีผลน้อยที่สุด
9

Desloratadine

CHAPTER
มีการยืนยันฤทธิ์ลดการอักเสบ โดยไม่มีผลต่อ cardiac rhythm ในการศึกษาใน
มนุษย์ นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์ mild nasal decongestant และสามารถใช้ในเด็กได้
ดังนี้
อายุ ขนาดยาที่ใช้

3
6-12 เดือน 1 mg od
1-5 ปี 1.25 mg od
6-11 ปี 2.5 mg od
12 ปีขึ้นไป 5 mg od

Antihistamine in psoriatic
Cetirizine
ค่าครึ่งชีวติ ในคนปกติ 7-11 ชั่วโมง แต่ในเด็กอายุน้อยกว่า 6 ปี พบว่ามีการกาจัด
ยาไวกว่าผู้ใหญ่ทาให้มีบางการศึกษาแนะนาการใช้ cetirizine ในเด็กต่ากว่า 6 ปี เป็น
0.25 mg/kg bid
การศึกษาแบบ in vitro และ in vivo และ การศึกษาในมนุษย์พบว่าสามารถลด
การรวมกลุ่มของ eosinophil ที่เนื้อเยื่อตาขาวและลด LTB4, LTC4 จาก leukocyte และ
ยังลด nasal inflammation ในเด็กผ่านการลด ICAM-I ใน nasal epithelial cell
สาหรับความปลอดภัยมีการศึกษายืนยันว่า การใช้ 0.25 mg/kg od หรือ bid ใน
เด็ก 6-11 เดือนว่ามีความปลอดภัยเทียบเท่ายาหลอก (F. Estelle, et al. 2003) ใน
ประเทศฮ่องกง journal of pediatric Respiratory and Critical Care แนะนาว่า ในเด็ก
6 เดือนขึ้นไปสามารถใช้ cetirizine หรือ 3rd generation ได้อย่างปลอดภัย เนื่องจากมี
การรายงานการใช้ sedative แล้วพบว่ากลับมีอาการรุนแรงขึ้นในเด็กอายุ 6-11 เดือน

Levocetirizine
เนื่องจาก Levocetirizine มีค่า Vd ต่าทาให้ลดการกระจายไปยังเนื้อเยื่อที่ไม่
ต้องการ เป็นการลดพิษที่ขึ้นกับขนาดยาได้Levocetirizine ยังสามารถลดการเกิด
exotoxin-induced eosinophil trans- endothelial migration ในปอด ผิวหนัง หลอด
เลือด ซึ่งทาให้มีฤทธิ์ anti-inflammation และเป็น mild decongestant ได้
10

Fexofenadine

CHAPTER
เป็น high selective peripheral H1 receptor ทาให้ไม่มีฤทธิ์ sedative เลย
โดยไม่ว่าจะใช้ขนาดที่สูงกว่าการรักษาก็ตาม มีประโยชน์ในการลด nasal congestion
ผ่านการลด pro-inflammation ต่างๆ เมื่อเปรียบกันพบว่า fexofenadine มีฤทธิ์ลด
nasal congestion หรือ eye syndrome มากกว่า loratadine แต่ผลต่อ rhino
conjunctivitis เท่ากับ cetirizine

3
US-FDA กาหนดให้ใช้ในเด็กอายุ 6 ปีขึ้นไป แต่ขนาดที่ใช้ในการศึกษามีดังนี้

อายุ ขนาดยาที่ใช้ COMMENT


<2ปี 15 mg bid ข้อบ่งใช้ chronic idiopathic urticaria เท่านั้น

Antihistamine in psoriatic
2-5 ปี 30 mg bid ความปลอดภัยเทียบเท่า placebo
6-11 ปี 30-60 mg bid 30 mg bid ก็มีประสิทธิภาพลด nasal contestion ได้
60 mg bid มีความปลอดภัยเทียบเท่ายาหลอก
อ้างอิง
1. Cuvillo DA, et al. Use of antihistamines in pediatrics. J Investig Allergol
Clin Immunol 2007; Vol. 17, Suppl. 2: 28-40.
2. Fitzsimons R,et al. Antihistamine use in children. Arch Dis Child Educ
Pract Ed 2015;100:122–131.
3. Cuvillo DA,et al. Comparative pharmacology of the H1 antihistamines.
J Investig Allergol Clin Immunol 2006; Vol. 16, Supplement 1:3-12.
4. Roongapinun S,et al. Comparative efficacy of wheal-and-flare
suppression among various non-sedating antihistamines and the
pharmacologic insights to their efficacy. J Med Assoc Thai. 2004
May;87(5):551-6.
5. Simon REF,et al. H1 Antihistamines: Current Status and Future
Directions. World Allergy Organ J. 2008 Sep; 1(9): 145–155.
11

CHAPTER
Acute cough associate common cold (CACC) ตาม
CHEST2016
1. ประสิทธิภาพของยา acetylcystein และ carbocysteine ในการลดอาการไอจาก
acute cough assosiate common cold (CACC)
ปัจจุบันมีการศึกษารูปแบบ RCT ไม่มากนักซึ่งให้ผลการศึกษาที่แตกต่างกัน และ

3
มีรูปแบบระเบียบวิธวี ิจัยที่แตกต่างกัน จึงยากต่อการสรุปและนาไปใช้ แต่มี 1 systematic
reviews ของ Chalumeau และ Duijvestijn ที่รวม 6 RCT พบว่าอาจมีประโยชน์ในการ
ลดอาการไอในวันที่ 6-7

Acute cough
แต่อย่างไรก็ตามเมื่อ CHEST2017 ได้ pooled analysis ข้อมูลพบว่าช่วยลด
อาการไอได้อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ลดอาอารไอลง 0.37 วัน (0.12-1.20) แต่มีระดับ
งานวิจัยที่ต่ามากและ bias สูงมาก และอาการไอมักดัขึ้นหลัง 5 วันของการติดเชื้อ จึงอาจ
ถือว่าไม่มีนัยสาคัญทางคลินิก ขณะที่ยาแก้ไอตัวอื่นมีการศึกษาน้อยกว่ามาก
อย่างไรก็ตามมีข้อมูลรายงานการเกิด paradoxical ในเด็กอายุต่ากว่า 2 ปี ที่ใช้
ยา acetylcysteine และ carbocysteine ซึ่งทาให้มีการหลั่งเสมหะมากขึ้นทาให้ต้องรับ
การรักษาในโรงพยาบาลหรือนอนโรงพยาบาลนานขึ้น

2.ประสิทธิภาพของ decongestants และ antihistamines ในการลดระยะเวลาไอจาก


CACC
มีการศึกษา systematic reviews ของ De Sutter และคณะพบว่าการใช้
combination ของ antihistamine/ analgesic, decongestants/analgesic ให้
ผลการรักษาไม่แตกต่างกับยาหลอกในด้านการไอ แต่เมื่อใช้ยารูปแบบร่วมของ
dextromethorphan, doxylamine, paracetamol และ ephedrine มีประโยชน์ในการ
ลดอาการไอในผู้ใหญ่ ขณะที่ผลการศึกษาในเด็ก (อายุน้อยกว่า 12ปี) กลับไม่แตกต่างกับ
ยาหลอกหรือไม่ได้รักษาในด้านประสิทธิภาพของการลดอาการไอใน CACC
มีการศึกษาของ Dicpinigatis แสดงผลด้านการเพิ่ม cough thredshold ใน viral
infection cough ซึง่ แสดงผลการยับยั้ง reflex การไอได้ในการใช้ diphenhydramine
(Mean log C5 0.4 +-.55 SD; p<0.01 เมื่อเทียบกับยาหลอก)
12

3.ประสิทธิภาพของ NSAIDs กับ อาการไอ

CHAPTER
ในปี 2006 CHEST ได้แนะนา Naproxen ในด้านประสิทธิภาพลดอาการไอและ
อาการอักเสบ ขณะที่จากข้อมูลต่อมาเมื่อรวม RCT ทั้ง 2 การศึกษาเข้าด้วยกันทาให้ได้
Mean diffecrent -0.05 (-0.66-0.56) ทาให้ในปี 2016 CHEST ไม่แนะนาการใช้ NSAIDs
เพื่อหวังผลลดอาการไอจาก CACC

4.ประสิทธิภาพของน้าผึ้งกับอาการไอในเด็ก 1-18ปี

3
มีอาการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของน้าผึ้งในด้านการลดอาการไอ กับ
dextromethorphan และ diphemhydramine ในประชากรกลุ่มนี้พบว่า น้าผึ้งไม่ว่าจะ
รูปแบบใดช่วยลดอาการไอได้เท่ากับ dextromethorphan และเหนือกว่า

Acute cough
diphemhydramine จึงสามารถแนะนาการใช้น้าผึ้งในประชากรเด็กที่อายุมากกว่า 1 ปี
ได้

5. ประสิทธิภาพของ Zinc ในการไอ


จากการศึกษา zinc lozenges ในผู้ใหญ่ 2RCT และเด็ก 1 RCT พบว่าอาจช่วย
ลดระยะเวลาการไอและระยะเวลาการเป็นหวัดได้เมื่อเทียบกับยาหลอก -46% (-28%,-
64%) โดยแนะนาขนาดตั้งแต่ 75 mg/วันขึ้นไป โดยเริ่มภายใน 24 ชั่วโมงของการเป็น
หวัดในผู้ป่วยสุขภาพดีไม่มีโรคร่วม

6.ยาแก้ไออื่นๆ
เนื่องจากการศึกษา RCT ของยาแก้ไอในปัจจุบันมีความคลุมเครือในด้าน
ผลการรักษา และระเบียบวิธีวิจัยที่ไม่สามารถ pool ข้อมูลรวมกันได้ อีกทั้งยังมีผล
การศึกษาที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละการศึกษา จึงไม่สามารถสรุปหรือแนะนาการรักษา
ด้วยยา Expectorants หรือ Mucolytics ได้ ซึ่งผู้อ่านอาจจาเป็นต้องประเมินวรรณกรรม
ของยาแก้ไอก่อนนาไปใช้ด้วยตนเองในแต่ละการศึกษา

reference: https://journal.chestnet.org/arti…/S0012-3692(17)31408-3/pdf
Neurological system 1

CHAPTER
การจัดการภาวะบ้านหมุนในร้านยา
(Vertigo management in pharmacy)

บทนา
การมึนหัว (Dizziness) เวียนศีรษะเป็นกลุ่มอาการที่พบได้บ่อยในร้านยา ซึ่งเภสัช

4
กรจาเป็นที่ต้องมีทักษะในการคัดกรองโรคเพื่อส่งต่อผู้ป่วยในกรณีที่รุนแรงหรือเป็นกลุ่ม
อาการที่ควรพบแพทย์ เช่น
Dysequilibrium: กรณีผู้ป่วยมีความรู้สึกทรงตัวไม่ได้ (Off-balance or wobbly)

Vertigo management in pharmacy


Lightheadedness : กรณีผู้ป่วยมีความรู้สึกถูกตัดจากสิ่งแวดล้อมร่วมกับการ
วิงเวียน (Feeling disconnected with the environment)
Presyncope: กรณีมีความรู้สึกคล้ายกับจะหมดสติ สูญเสียการรับรู้ (losing
consciousness) ซึ่งอาจสัมพันธ์ภาวะ orthostatic hypotension สามารถพิจารณากับ
ค่าความดันผู้ป่วยโดยเปรียบเทียบค่าวัดความดันขณะท่านอนและท่านั่งหรือยืน หาก
Systolic blood pressure ลดลงมากกว่า 20 mmHg, Diastolic blood pressure ลดลง
มากกว่า 10 mmHg หรือมีอัตราการเต้นหัวใจเพิ่มขึ้นมากกว่า 30 ครั้งต่อนาที หากพบ
ภาวะ orthostatic hypotension อาจต้องดูประวัติการซื้อยาหรือการใช้ยาร่วมด้วย และ
ควรส่งต่อแพทย์ในกรณี presyncope เพื่อรักษาโยแพทย์ต่อไป
สาหรับภาวะบ้านหมุน (False of motion, spinning sensation) เรียกว่า
Vertigo ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่ peripheral vertigo และ central
vertigo

เกณฑ์ส่งต่อโรงพยาบาลของภาวะ vertigo
ในกรณีร้านยาสามารถดูแลผู้ป่วยกลุ่มที่เป็น peripheral vertigo ที่ไม่รุนแรง
ผู้ป่วยกลุ่มนี้มักมีอาการตอนตื่นนอน ทั้งนี้เนื่องจาก central vertigo เกิดจากความ
ผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลางซึ่งจาเป็นต้องรักษาในโรงพยาบาล สาหรับเกณฑ์ใน
การพิจารณา central vertigo ได้แก่
2

CHAPTER
1. มีอาการปวดหูร่วมด้วย
2. มีอาการทางระบบประสาท: อ่อนแรง การได้ยินหรือการมองเห็นผิดปกติ
กล้ามเนื้อหดเกร็ง มือสั่น การเคลื่อนไหวผิดปกติหรือการรับรู้และการสั่ง
การผิดปกติ
3. อาการรุนแรงไม่สามารถเดินหรือยืนได้
4. อาการติดต่อกันมากกว่า 1 สัปดาห์โดยอาการไม่ดีขึ้น

4
5. มีปัจจัยเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด อาจทาให้เกิดการอุดตันของ
หลอดเลือด อาจพิจารณาตาม Stroke sign หรือ FAST ได้
และสาหรับ peripheral vertigo ที่ควรส่งต่อเพื่อรับการรักษาในโรงพยาบาล

Vertigo management in pharmacy


ได้แก่
1. กลุม่ ประชากรที่ภมู ิคุ้มกับต่าหรือใช้ยากดภูมิคุ้มกัน เนื่องจากมีความ
เสี่ยงในการติดเชื้อในหูชั้นในและภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ
2. อาการรุนแรงและไม่ทุเลาลง
3. มีเสียงดังในหูแบบรุนแรง
ภาวะหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกันคือ migrainous vertigo หรืออาการวิงเวียน
ระหว่างเกิดไมเกรน ซึง่ สามารถวินิจฉัยแยกโรคได้จาก เกณฑ์การเกิดไมเกรนของ IHS ได้
การรักษาคือการรักษาไมเกรนและการใช้ยาเพื่อป้องกันการเกิดไมเกรนนั่นเอง

ประเภทของ peripheral vertigo


1. acute labyringthitis หรือบางการศึกษาจะรวมกับคาว่า acute vestibular
neuronitis คือการติดเชื้อมักเป็นเชื้อไวรัสในหูชั้นใน จึงสัมพันธ์กับประวัติการ
ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนทาให้เชื้อเคลื่อนที่มายังหูชั้นใน มักหายเองได้ใน 2-
3 สัปดาห์ อาการจะรุนแรงมากที่สุดในวันแรกที่เริ่มมีอาการและจะดีขึ้นอย่าง
รวดเร็ว ในระยะแรกมักมีอาการเวียนศีรษะแต่ละครั้งเป็นหลักวันและจะลดลง
เป็นครั้งละไม่กี่วินาทีในระยะที่ใกล้หายซึ่งถูกกระตุ้นด้วยการเปลี่ยนท่าทางของ
ศีรษะ อาจพบการได้ยินเสียงผิดปกติ และเสียงดังในหูได้
2. Benign paroxysmal positional vertigo คือการที่หินปูนในหูหลุดออกมาทาให้
กระตุ้นการรับรู้ผ่านทางหูชั้นใน ต้องตรวจวินิจฉัยโดยแพทย์ด้วยวิธี Dix-
Hallpoke maneuver สาหรับการรักษาคือการทากายภาพ (Epley maneuver)
3

ร่วมกับการใช้ยา สาหรับภาวะนี้มักมีอาการครั้งละวินาที-นาที โดยมักเป็นซ้าได้

CHAPTER
โดยมีรายงาน 15% ต่อปี อาจมีการทรงตัวลาบากได้เล็กน้อย แต่ไม่มีการได้ยิน
ผิดปกติหรือมีเสียงในหูเหมือนภาวะอื่น
3. Meniere’s disease หรือน้าในหูไม่เท่ากัน อาการจะค่อยๆรุนแรงขึ้นและจะ
ค่อยๆลดลงต่อมา เริ่มแรกอาจมีอาการครัง้ ละมากกว่า 1 ชั่วโมงแต่จะลดลงเหลือ
ไม่กี่วินาทีในระยะหลัง คล้ายกับ acute labyrinthitis คือมีอาการได้ยินผิดปกติ

4
หรือมีเสียงในหูร่วมด้วย สามารถหายเองได้ ลักษณะแน่นคือรู้สึกแน่นหู (fullness
in ear)

Vertigo management in pharmacy


ภาพแสดงความแตกต่างของโรค

การรักษา
ประสิทธิภาพของยาที่ใช้ในการรักษา peripheral vertigo ที่จัดเป็นกลุ่ม
vestibular suppressant medicine สาหรับยา antihistamine มีอยู่ 3 ตัว ได้แก่
ยา ขนาดยา ความง่วง ฤทธิ์ต้าน PREGNANCY
อาเจียน CATEGORY
MECLIZINE 12-50 mg q4-8 h ++ + B
DIMENHYDRINATE 25-100 mg q4-8 h + ++ B
PROMETHAZINE 12.5-25 mg q 4-12 +++ ++ C
h
ขณะที่ยังมียากลุ่ม benzodiazepine ที่จัดเป็นกลุ่ม vestibular suppressant
medicine เช่น lorazepam, diazepam ส่วนสาหรับกลุ่มที่อาเจียนเด่นยาในกลุ่มนี้ที่
แนะนาได้แก่ metoclopramide, ondansetron, prochlorperazine
4

สาหรับยาอื่นๆที่มีการใช้นั้น จาเป็นต้องพิจารณาความเหมาะสมกับภาวะและ

CHAPTER
การศึกษาต่อไป เนื่องจากมีความแตกต่างทั้งลักษณะประชากรและขนาดยารวมถึง
ระยะเวลาทาให้ผลลัพธ์แต่ละการศึกษาต่างกัน จึงยากต่อการสรุปและแนะนาช่วงขนาด
ยาหรือ regimen ที่เหมาะสม

ประสิทธิภาพการใช้ยาในประชากรที่ไม่ได้ระบุชนิดของ peripheral

4
vertigo
การศึกษาประเภท RCT ในปี 2017 พบว่าการได้รบั ยา betahistine 48 mg/day
นาน 2 เดือน พบว่าแม้ว่าหลังหยุดยาไปแล้ว 2 เดือน ผู้ป่วยมีอาการทางคลินิกดีขึ้นทั้งใน

Vertigo management in pharmacy


ด้านความรุนแรงและความถี่ลดลง ในระหว่างใช้ยาและหยุดยาไป 2 เดือนเมื่อเทียบกับ
กลุ่มยาหลอก แต่ในปี2016 มีการศึกษาของ Cochrane ในด้านขนาดยา betahistine
พบว่าทั้งกลุ่มที่ได้รับ betahistine น้อยกว่า 48 mg/day (16-48 mg/day) ระยะเวลา
ตั้งแต่ 2 สัปดาห์- 3 เดือน เปรัยบเทียบกับยาหลอกพบว่าสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการ
รักษาทั้งด้านลดความรุนแรง ความพี่ และระยะเวลาที่เป็นได้มากกว่ายาหลอก (RR 2.11
CI:1.03-4.30) สอดคล้องกับการใช้ betahistine ขนาดมากกว่า 48 mg/day (RR 1.45
CI:1.0-1.94) อย่างไรก็ตามไม่มีการเทปรียบเทียบระหว่างการใช้ betahistine มากกว่า
48 mg/day กับกลุ่มน้อยกว่า 48 mg/day
ในแง่การเปรียบประสิทธิภาพระหว่าง betahistine กับ flunarizine เมื่อใช้เป็น
ยาเดี่ยวพบว่าการใช้ betahistine 48 mg/day ให้ผลการรักษาด้านการเพิ่ม physical
function ที่ดีกว่า flunarizine 10 mg วันละ 1 ครั้ง เมื่อใช้ติดต่อกันนาน 8 สัปดาห์
Bodla (2011) ทาการเปรียบเทียบการใช้ betahistine 48 mg/day กับ cinnarizine 75
mg/day นาน 4 สัปดาห์ พบว่ากลุ่มที่ได้รับ betahistine ให้ผลการลดความรุนแรงของ
โรคได้มากเป็น 2 เท่าเมื่อเทียบกับกลุ่ม cinnarizine
สาหรับการใช้ยา combination therapy สาหรับ peripheral vertigo ในปี
2005 พบว่าการใช้ betahistine 36 mg/day ให้ผลน้อยกว่าการใช้ cinnarizine 20
mg/day ร่วมกับ dimenhydrinate 40 mg tid นาน 4 สัปดาห์
จากผลการศึกษา กรณีไม่ทราบชนิดของ peripheral vertigo การใช้ยากลุ่ม
vestibular suppressant medicine เช่น dimehydrinate คงมีความเหมาะสม หากจะ
ใช้ยากลุ่มอื่นอาจพิจารณา betahistine ขนาดตัง้ แต่ 16 mg/day ขึ้นไป นาน 2 สัปดาห์
5

ขึ้นไป เมื่ออ้างอิงจากการศึกษาข้างต้น สาหรับการใช้ร่วมกับกลุ่ม calcium channel

CHAPTER
blocker อาจจาเป็นต้องอ้างอิงเป็นแต่ละการศึกษาเฉพาะ

ประสิทธิภาพการใช้ยาในประชากร Benign paroxysmal positional


vertigo (BPPV)
การรักษาหลักของ BPPV คือการทากายภาพ ที่เรียกว่า Epley maneuver อาจ

4
ใช้เป็นการรักษาเดี่ยวหรือร่วมกับ vestibular suppressant medicine จึงอาจต้องส่งต่อ
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษา เนื่องจากการทา Epley maneuver ให้ผลการรักษาที่ดีกว่า
การได้รับ betahistine แต่อย่างไรก็ตามการได้รับยาก่อนทากายภาพจะเพิ่ม

Vertigo management in pharmacy


ความสามารถในการทากายภาพให้กับคนไข้ และการใช้ยาหลังการทากายภาพมี
ประสิทธิภาพมากกว่าการทา Epley maneuver อย่างเดียว

ประสิทธิภาพการใช้ยาในประชากร Meniere’s disease (MD)


การรักษาหลักของ MD คือการจากัดสารอาหารที่มีรสเค็ม จากัดโซเดียม หรือการ
ใช้ยาขับปัสสาวะเมื่อแพทย์ประเมินถึงความจาเป็น
สาหรับประสิทธิภาพยากลุ่มอื่น เช่น betahistine และ calcium channel
blockers มีความแตกต่างกันออกไป ดังนี้
ในปี 2002 มีการศึกษาการใช้ betahistine 12 mg tid ร่วมกับ cinnarizine 20
mg bid นาน 2 เดือน ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพกาไรด้ยินมากกว่ากลุ่ม betahistine เดี่ยว
แต่ผลของ vertigo symptom ไม่แตกต่างกัน
ในปี 2011 มีการทบทวนประสิทธิภาพของ betahistine ต่อ MD ในการศึกษา
ของ Cochrane พบว่ามีความแตกต่างและระดับคุณภาพการศึกษาที่ไม่ดีนักทาให้ไม่
สามารถรวมข้อมูลร่วมกันได้ แต่มีแนวโน้มว่า betahistine ไม่มีบทบาทต่อการรักษา MD
และในปี 2014 มีการศึกษาพบว่า betahistine 48 mg/day ร่วมกับ cinnarizine
20 mg bid นาน 1 เดือน ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพมากกว่ากลุ่ม betahistine 48 mg/day
เดี่ยว ในทุกด้าน
จากการรวบรวมงานวิจัยทาให้ไม่สามารถระบุถงึ ประโยชน์ที่แน่ชัดของยากลุ่มอื่น
ได้ ดังนั้นในแนวทางปฏิบัติการรักษาโรค MD จึงเน้นไปที่การรักษาหลักตามที่กล่าวไว้
ข้างต้น
6

ประสิทธิภาพการใช้ยาในประชากร Acute Labyrinthitis

CHAPTER
เนื่องเป็นภาวะที่ใช้เวลาไม่นานจะหายเองได้ ทาให้ไม่ค่อยมีการศึกษาใน
ประชากรกลุ่มนี้ ทั้งนี้เนื่องจากพยาธิสภาพของโรคเกิดจากการอักเสบของการติดเชื้อ มัก
เป้นกลุ่มไวรัส ซึ่งมักใช้กลไกของร่างกายในการรักษา แต่การศึกษาในปี 1974-1981 มี
การศึกษาใช้ flunarizine 10 mg ต่อวัน นาน 4-12 สัปดาห์ พบว่าสามารถลดความรุนแรง
ได้มากกว่ายาหลอก และจากการวัด Electronystagmography ช่วยลดการเกิดระยะ

4
กระตุ้นได้มากกว่ายาหลอกเชานกัน
อย่างไรก็ตามเป็นการศึกษาในปีที่นานมาแล้ว จึงอาจไม่สามารถยืนยัน
ประสิทธิภาพของยากลุ่มนี้ได้เช่นกัน การรักษาอาจจาเป็นต้องอ้างอิงประสิทธิภาพจาก

Vertigo management in pharmacy


ประชากรกลุ่มทีไ่ ม่ได้แยกประเภทของ peripheral vertigo แทนเนื่องจากประชากรกลุ่ม
นี้จะถูกรวมอยู่ในการศึกษากลุ่มดังกล่าว

ประสิทธิภาพการใช้ยา flunarizine กับภาวะ migrainous vertigo


ในระยะเวลาที่ผ่านมามีการแนะนาการใช้ flunarizine ในการเป็นยาป้องกันไม
เกรน ทาให้ในปี 2013 มีการศึกษาเพื่อยืนยันประสิทธิภาพของ flunarizine ต่อการปวด
หัวไมเกรนพบว่า เมื่อใช้ flunarizine 10 mg วันละครั้ง นาน 12 สัปดาห์ เพิ่มไปกับการ
ใช้ paracetamol 1 gram ร่วมกับ betahistine 48 mg/day นาน 2 วัน เมื่อมีอาการ
ปวดไมเกรน พบว่ากลุ่มที่ได้รบั flunarizine ติดต่อกันมีผลลดความถี่การเกิด vertigo และ
ลดความรุนแรงของ vertigo ได้อย่างมีนัยสาคัญเมื่อเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับ flunarizine
ในการป้องกัน อย่างไรก็ตามเมื่อประเมินผลความถี่และความรุนแรงของการปวดหัวไม
เกรนนั้น การได้รับ flunarizine กลับไม่มีประโยชน์ในด้านการป้องกันการปวดหัวได้
ดังนั้นหากจุดประสงค์เพื่อลดการเกิด vertigo ในช่วงที่เกิดไมเกรนอาจจะมี
ประโยชน์จากยากลุ่มนี้ แต่หากใช้เพื่อป้องกันการปวดหัวไมเกรน การได้รับยากลุ่มอื่นอาจ
มีประโยชน์มากกว่า อ้างอิงตามคาแนะนาของ The 2012 AHS/AAN Guidelines for
Prevention of Episodic Migraine
7

การเกิด Extrapyramidal symptom กับ Flunarizine

CHAPTER
เนื่องจากมีรายงานการกดการทางานของระบบประสาทส่วนกลางที่บริเวณ
substantia nigra ซึ่งเป็นส่วนควบคุมการเคลื่อนไหวแบบนอกอานาจจิตใจ
(Extrapyramidal) มีสารสื่อประสาทที่สาคัญคือ dopamine ซึ่งมีรายงานพบความเสี่ยง
มากขึ้นในผู้ได้รับยา flunarizine มากขึ้น 8 เท่าเมื่อเทียบกับกลุ่มที่ไม่ใช้ flunarizine และ
เพิ่มขึ้น 3.4 เท่าในกลุ่มที่ได้รับยา cinnarizine และยังสัมพันธ์กับอายุที่เพิ่มขึ้นกับ

4
ระยะเวลาที่สัมผัสยาอีกด้วย
เมื่อพิจารณาการขึ้นทะเบียนของยา Flunarizine พบว่าถูกแนะนาในกรณี
vertigo ขนาดเริ่มต้น 10-20 mg/วัน ไม่เกิน 30 mg/day และในกรณีป้องกัน
migrainous vertigo เริ่มต้น 10 mg/day เมื่อผู้ป่วยตอบสนองต่อการรักษาให้ปรับการใช้

Vertigo management in pharmacy


ยาเหลือ 5 วันต่อสัปดาห์ โดยเว้นเวลาใช้ยา 2 วันต่อสัปดาห์ อย่างไรก็ตามควรใช้ขนาด
ต่าสุดที่ตอบสนองและระยะเวลาสั้นที่สุดเพื่อป้องกันการเกิดExtrapyramidal symptom
โดยมีคาแนะนา

อ้างอิง
1. RANDY SWARTZ, PAXTON LONGWELL,. Treatment of Vertigo. American Family
Physician. 71, 2005
2. RONALD H. LABUGUEN. Initial Evaluation of Vertigo . American Family Physician .73,
2006
3. ROBERT E. POST. LORI M. DICKERSON. Dizziness: A Diagnostic Approach. American
Family Physician .82, 2010
4. Parfenov VA, et al. (2017) Effectiveness of betahistine (48 mg/dayay) in patients with
vestibular vertigo during routine practice: The VIRTUOSO study. PLoS ONE
12(3):e0174114
5. Kamran Ashfaq. Comparison between Semonts Maneuvere and Beta Histine in the
Treatment of Benign Paroxysmal Positional Vertigo. Int J Sci Stud 2015;3(4):98-102.
6. ปารยะ อาศนะเสน. โรคตะกอนหินปูนในหูชั้นในหลุด. ภาควิชาโสตนาสิกลาริงซ์วิทยา Faculty of
Medicine Siriraj Hospital.
7. James A, Burton MJ. Betahistine for Ménière’s disease or syndrome (Review). Cochrane
Library,2011, Issue 3
8. Robert W. Baloh. Vestibular Neuritis. N Engl J Med 2003;348:1027-32.
8

9. R. Teggi, et al. Association of cinnarizine and betahistine in prophylactic therapy for

CHAPTER
Ménière's disease with and without migraine. Acta Otorhinolaryngol Ital. 2014 Oct; 34(5):
349–353.
10. C. DELLA PEPA, et al. Betahistine in the treatment of vertiginous syndromes: a meta-
analysis . ACTA OTORHINOLARYNGOL ITAL 26, 208-215, 2006.
11. Lepcha A,et al. Flunarizine in prophylaxis of migrainous vertigo: a randomized
controlled trial. Eur Arch Otorhinolaryngol. 2013.

4
12. Wouter L, et al. Flunarizine in the treatment of vertigo. Journal of laryngology and
otology. 1983;97,p 697-704.
13. Kanmeshwaran M, Sarda K. Therapeutic interventions in vertigo management. Int J
Otorhinolaryngol Head Neck Surg. 2017;3(4):777-85.

Vertigo management in pharmacy


14. Murdin L, Hussain K, Schilder AGM. Betahistine for symptoms of vertigo (Review).
Cochrane Database of Systematic Reviews. 2016;6.
15. Jhang MK,et al. Extrapyramidal symptoms after exposure to calcium channel blocker-
flunarizine or cinnarizine. Eur J Clin Pharmacol. 2017; 73(7): 911–916.
Musculoskeletal disease 1

CHAPTER
ไซอาติก้า
(Sciatica)

อะไรคืออาการปวดแบบไซอาติก้า
Sciatica คือ อาการปวดร้าวลงขาตามแนวของเส้นประสาท sciatic (ซึ่งเป็น

5
เส้นประสาทที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย) นั่นแสดงถึงว่าได้เกิดพยาธิสภาพที่ไปกด ทับ เบียด
อักเสบ หรือทาให้ตึงแก่เส้นประสาท sciatic และรากประสาทที่มารวมเป็นเส้นประสาท

Sciatica
เส้นนี้ โดยเฉพาะ ventral rami ของ L4, L5 และ S1 nerve roots อย่างไรก็ตาม
สาเหตุและพยาธิสภาพของ sciatica ยังสามารถเกิดได้ในหลายตาแหน่ง ดังรูป หรือ
อาจจะเรียกว่าเป็นการปวดหลังส่วนล่าง low back pain 1,2
2

CHAPTER
นิยาม
1. อาการปวดหลังเฉียบพลัน (Acute low back pain) หมายถึงอาการปวด
หลังที่มีอย่างน้อยต่อเนื่องน้อยกว่า 6 สัปดาห์
2. อาการปวดหลังกึ่งเฉียบพลัน (Subacute low back pain) หมายถึงอาการ
ปวดหลังที่มีต่อเนื่องมากกว่า 6 สัปดาห์แต่ไม่เกิน 3 เดือน

5
3. อาการปวดหลังเรื้อรัง (Chronic low back pain) หมายถึงอาการปวดหลัง
ที่มีอย่างต่อเนื่องมากกว่า 3 เดือน

การรักษา

Sciatica
การรักษาเริ่มต้นด้วยการให้ผู้ป่วยนอนพัก จากการศึกษาพบว่า การให้ผู้ป่วย
นอนพักบนเตียง 2-3 วัน จะให้ผลการรักษาดีกว่าการนอนพักยาว 1 สัปดาห์ คือเมื่อผู้ป่วย
เริ่มดีขึ้นควรให้ผู้ป่วยมีการขยับตัวลุกนั่งและยืนทันที โดยให้หลีกเลี่ยงการก้มหลัง และอาจ
แนะนาให้ใช้ผ้าคาดเอว (lumbar support)3

การรักษาด้วยยา
ตามแนวทางการรักษา Low back pain and sciatica NICE guidance 20174

1. ยา NSAIDs ชนิดรับประทาน โดยให้พิจารณาตามปัจจัยเสี่ยงของผู้ป่วย ได้แก่ GI,


การทางานของตับ/ไต, รวมทั้งอายุของผู้ป่วย [Based on moderate to very
low quality evidence from randomised controlled trials and the
experience and opinion of the GDG]
2. พิจารณาให้ weak opioids (with or without paracetamol) ในการรักษา
acute low back pain กรณีที่ NSAIDs มีข้อห้ามใช้ หรือ รักษาไม่ได้ผล [Based
on the experience and opinion of the GDG]
3. ไม่ใช้ opioids ในการรักษา chronic low back pain [Based on moderate
to very low quality evidence from randomised controlled trials]
4. ไม่ใช้ Acetaminophen เดี่ยวๆ ในการรักษา [Based on low to very low
quality evidence from randomised controlled trials]
3

CHAPTER
หากการรักษาในขั้นต้นไม่ได้ผลให้พิจารณาการรักษาโดยอ้างอิงการรักษาแบบ
Neuropathic pain in adults: pharmacological management in non-specialist
settings: NICE 20135 โดยมีคาแนะนาดังต่อไปนี้

ยาที่แนะนาสาหรับ All neuropathic pain ยกเว้น trigeminal neuralgia


(การปวดเส้นประสาทใบหน้า)

5
1. ยาทางเลือกแรกได้แก่ amitriptyline, duloxetine, gabapentin หรือ
pregabalin ตัวใดตัวหนึ่ง

Sciatica
2. หากเลือกยาในทางเลือกแรก 1 ตัวแต่ไม่ได้ไม่ได้ผล หรือ ดื้อต่อยา (tolerated) ให้
เลือกยาที่เหลือในทางเลือกแรก และเปลี่ยนอีกครั้ง หากเลือกตัวที่ 2 แล้วยังไม่
ได้ผล
ตัวอย่าง เลือก amitriptyline เป็นทางเลือกแรก จากนั้นหากไม่ได้ผล ให้เปลี่ยนเป็น
duloxetine หรือ gabapentin ตามลาดับ
3. ใช้ tramadol สาหรับ acute rescue therapy
4. แนะนา capsaicin cream สาหรับผู้ป่วยที่อาการปวดเฉพาะที่ หรือ ปฏิเสธ หรือ
ดื้อต่อยาชนิดรับประทาน

การทบทวนวรรณกรรมกับยาที่เกี่ยวข้อง

1. NSAIDs
จากการศึกษา Drugs for relief of pain in patients with sciatica:
systematic review and meta-analysis 20126 ซึ่งเป็นการทบทวนวรรณกรรมและ
การวิเคราะห์อภิมานเกี่ยวกับยาที่ใช้สาหรับบรรเทาอาการปวดในผู้ป่วย sciatica ซึ่งผล
การศึกษามีดังต่อไปนี้
4

CHAPTER
5
จากการทบทวนวรรณกรรมจะได้ว่า ยาในกลุ่ม NSAIDs ที่มีการศึกษาและพบว่ามี

Sciatica
ประสิทธิภาพเหนือกว่า placebo อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ในการลดการปวดคือ
Meloxicam 7.5 mg ส่วนยาอื่นๆ diclofenac 50-100 mg, lornoxicam 8 mg และ
piroxicam 20 mg ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ

นอกจากนี้จากการศึกษา Nonsteroidal Anti-inflammatory Drugs for Sciatica


Systematic review and meta-analysis. 20177 ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบ NSAIDs กับ
placebo และ active drug ตัวอื่นๆ ในการลดปวด ซึ่งพบว่า NSAIDs ลดอาการปวด
อย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับ placebo

แต่เมื่อพิจารณาการศึกษาที่คัดเข้ามาและพบว่าการศึกษาที่มีความแตกต่างอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับ placebo ได้แก่ยา Meloxicam 7.5/15 mg (max dose
15 mg) ระยะเวลาในการรักษา 7 วัน (Dreiser 2001)
5

2. Amitriptyline

CHAPTER
จากการศึกษา Efficacy of Low-Dose Amitriptyline for Chronic Low
Back Pain A Randomized Clinical Trial 20188 ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบ Low-
dose amitriptyline (25 mg/d) และ active comparator (benztropine
mesylate, 1 mg/d) ระยะเวลา 6 เดือน โดยผลลัพธ์หลักได้แก่ pain intensity และ

5
ผลลัพธ์รองได้แก่ disability ผลการศึกษาพบว่า low-dose amitriptyline (25
mg/d) สามารถลดการปวด (pain intensity) ไม่ได้มากกว่าตัวเปรียบเทียบ ทั้งในเดือน
ที่ 3 (adjusted difference, -1.05; 95% CI, -7.87 to 5.78) และเดือนที่ 6

Sciatica
(adjusted difference, -7.81; 95% CI, -15.7 to 0.10) แต่สามารถเพิ่ม disability
อย่างมีนัยสาคัญในเดือนที่ 6 เมื่อเทียบกับ placebo (adjusted difference, −1.62;
95% CI, −2.88 to −0.36)

นอกจากนี้ยังมีการศึกษาเปรียบเทียบระหว่าง pregabalin และ amitriptyline


ในผู้ป่วย chronic low backache10 ผลการศึกษาพบว่าสามารถ improvement in
pain (57.3% Vs 39.2%; P=0.01) และ disability (65% Vs 49.5%; P=0.03) ซึ่ง
amitriptyline ให้ผลดีกว่า pregabalin โดยในการศึกษาให้ amitriptyline 12.5 mg
ก่อนนอน 2 สัปดาห์ ตามด้วย 25 mg 4 สัปดาห์ และปรับขนาดยาเป็น 50 mg,
Pregabalin 75 mg วันละ 2 ครั้ง 2 สัปดาห์ จากนั้น 150 mg วันละ 2 ครั้ง และปรับ
เป็น 300 mg วันละ 2 ครั้ง

จะเห็นว่า amitriptyline จะมีประโยชน์ในการปวดแบบ Chronic ซึ่งจาก


การศึกษาอาจเริ่มตั้งแต่ amitriptyline ขนาดต่า (25 mg/day) จนถึง 50 mg/day
6

3. Anticonvulsant

CHAPTER
จากการศึกษา Drugs for relief of pain in patients with sciatica:
systematic review and meta-analysis 20126 ซึ่งผลการศึกษาสาหรับยาในกลุ่ม
anticonvulsant คล้ายคลึงกับการศึกษา anticonvulsants in the treatment of low
back pain and lumbar radicular pain: a systematic review and meta-

5
analysis9 ในการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการลดปวดของผู้ป่วยที่มีอาการปวด low
back pain/lumbar pain และ sciatica เปรียบเทียบกับ placebo ซึ่งพบว่า ทั้ง
gabapentin, pregabalin และ topiramate มีประสิทธิภาพในการลดปวดไม่แตกต่าง

Sciatica
กับ placebo อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ทั้งในระยะ short term, intermediate term
และ chronic แต่เมื่อพิจารณา การศึกษาที่คัดเข้ามาและพบว่าการศึกษาที่มีความ
แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับ placebo ในการรักษาแบบ short term
ได้แก่ยา gabapentin ขนาด 900-3600 mg/day
7

CHAPTER
นอกจากนี้ยังมีการศึกษาเกี่ยวกับ muscle relaxant11สาหรับอาการปวดหลัง
ทั้งที่เป็นยาในกลุ่ม benzodiazepine และ non-benzodiazepine พบว่า
benzodiazepine ที่มีการศึกษาแล้วพบว่ามีประสิทธิภาพเหนือกว่า placebo ได้แก่
diazepam IM ตามด้วย diazepam 5 วัน และ non-benzodiazepine ได้แก่ 60 mg
orphenadrine IV, tizanidine 2-4 mg TID x 7 days แต่ไม่มีในร้านยา

5
อ้างอิง

Sciatica
1. DEGENERATIVE DISEASES OF THE LUMBAR SPINE [Internet]. Med.cmu.ac.th.
2019 [cited 25 February 2019]. Available from:
http://www.med.cmu.ac.th/dept/ortho/en/images/education/Dr.Torpong/PDF%
20new_58/Degenerative%20Diseases%20of%20the%20Spine.pdf Pazirandeh S.
Overview of vitamin D [Internet]. Waltham (MA):
2. UpToDate; 2011-2018. [cited 2019 Feb 19]. Available from:
https://www.uptodate.com/contents/overview-ofvitamind?source
=history_widget
3. เอกสารคําสอนเรื่องอาการปวดหลังส่วนล่าง (Low Back Pain) [Internet].
Med.mahidol.ac.th. 2019 [cited 25 February 2019]. Available from:
https://med.mahidol.ac.th/ortho/sites/default/files/public/file/pdf/low_back_ch
aiwat55.pdf
4. NICE Bernstein I, Malik Q, Carville S. Low back pain and sciatica: summary of
NICE guidance. BMJ. 2017;:i6748.
5. Neuropathic pain in adults: pharmacological management in nonspecialist
settings [Internet]. Nice.org.uk. 2019 [cited 25 February 2019]. Available from:
https://www.nice.org.uk/guidance/cg173/resources/neuropathic-pain-in-adults-
pharmacological-management-in-nonspecialist-settings-pdf-35109750554053
6. Pinto R, Maher C, Ferreira M. Drugs for relief of pain in patients with sciatica:
systematic review and meta-analysis. BMJ. 2012;344:e497-e497.
7. Rasmussen-Barr E, Held U, Grooten W. Nonsteroidal Anti-inflammatory Drugs for
Sciatica. SPINE. 2017;42(8):586-594.
8. Urquhart D, Wluka A, van Tulder M. Efficacy of Low-Dose Amitriptyline for
Chronic Low Back Pain. JAMA Internal Medicine. 2018;178(11):1474.
8

9. Enke O, New H, New C. Anticonvulsants in the treatment of low back pain and

CHAPTER
lumbar radicular pain: a systematic review and meta-analysis. Canadian Medical
Association Journal. 2018;190(26):E786-E793.
10. Kalita J, Kohat A, Misra U. An open labeled randomized controlled trial of
pregabalin versus amitriptyline in chronic low backache. Journal of the
Neurological Sciences. 2014;342(1-2):127-132.
11. van Tulder M, Touray T, Furlan A, Solway S, Bouter L. Muscle Relaxants for

5
Nonspecific Low Back Pain: A Systematic Review Within the Framework of the
Cochrane Collaboration. Spine. 2003;28(17):1978-1992.

Sciatica
9

CHAPTER
De Quervain’s disease

การอักเสบเรื้อรังของเส้นเอ็นบริเวณที่ลอดผ่านปลอกเส้นเอ็น ซึ่งเป็นตําแหน่งที่
รับนํ้าหนักและมีการเสียดสีมากกว่าบริเวณอื่น ๆ โดยปกติ บริเวณที่มีการเสียดสีมากจะมี
เยื่อหุ้มเส้นเอ็นที่หุ้มทั้งด้านในผนังของปลอกเส้นเอ็นและด้านนอกของเส้นเอ็น เพื่อช่วย

5
ลดการเสียดสีที่เกิดจากการใช้งาน การอักเสบเรื้อรังที่เกิดขึ้นบริเวณนี้ เป็นผลจากการใช้
งานมากเกินไป ทําให้เยื่อหุ้มเอ็นทั้งสองฝั่งหนาตัวขึ้น ทําให้ช่องว่างในปลอกเส้นเอ็นตีบ
แคบลง ทําให้เส้นเอ็นที่ลอดผ่านเคลื่อนไหวได้ยากขึ้น เรียกภาวะนี้ว่า Stenosing

De Quervain’s disease
นิยาม
De Quervain’s disease จัดเป็นภาวะ stenosing tenosynovitis ซึ่งเป็นการ
อักเสบเรื้อรังของเส้นเอ็นบริเวณ first extensor compartment (ประกอบด้วยเส้นเอ็น 2
เส้น คือ abductor pollicis longus (APL) และ extensor pollicis brevis (EPB))
บริเวณตาแหน่งปุ่มกระดูก radial styloid ของข้อมือบริเวณโคนนิ้วหัวแม่มือ

การตรวจร่างกาย
ผู้ป่วยต้องมีการกดเจ็บ (tenderness) บริเวณปุ่มกระดูก radial styloid การ
ตรวจร่างกายที่จาเพาะ แพทย์จะใช้วิธีคือ Finkelstein’s test
10

CHAPTER
5
อาการ
ผู้ป่วยจะมีอาการปวดข้อมือบริเวณ radial styloid (บริเวณข้อมือด้านนอก) อาจ
สังเกตพบการอักเสบคือบวม-แดง-ร้อนร่วมด้วย จะรู้สึกปวดบริเวณข้อมือร้าวขึ้นไปที่แขน

De Quervain’s disease
อาการเป็นมากขึ้นเมื่อมีการใช้งานมือและนิ้วหัวแม่มือซ้าๆ โดยไม่มี
ประวัติอุบัติเหตุนามาก่อน อาการปวดอาจเกิดทีละน้อย ต้นไม้ การตอกค้อน แม่ครัว นัก
ดนตรี ช่างไม้ พนักงานบริษัท

การรักษา
1) Nonsurgical treatment
• Splints : การพันผ้าและการเข้าเฝือก
• การทํากายภาพบําบัดโดยใช้ความร้อนหรือนํ้า (Hydrotherapy) : ช่วยลดอาการ
ปวด
• NSAIDs :
ข้อมูลจากการศึกษา Consensus on a Multidisciplinary Treatment
Guideline for de Quervain Disease, 2014 แนะนําการใช้ยากลุ่ม COX-I inhibitors
มากกว่ากลุ่ม COX-II inhibitors โดย COX-I inhibitors กล่าวถึงเพียงประสิทธิภาพจาก
การใช้ยา Diclofenac ซึ่งเป็นการใช้ยานาน 2 สัปดาห์
แต่อย่างไรก็ตามจากการทบทวนวรรณกรรมเพิ่มเติม ยังไม่มีการศึกษาใดที่
รายงานประสิทธิภาพของการใช้ NSAIDs ตัวใดว่ามีประสิทธิภาพเด่นกว่าตัวอื่นๆ ที่
ชัดเจน และจําเพาะต่อการรักษา De Quervain’s disease
• Corticosteroids : รูปแบบ injection ฉีดบริเวณ tendon sheath เพื่อลดอาการ
ปวด และบวม ตัวยาที่มีรายงานในการศึกษาแบบ RCT คือยา Cortisone
• การหลีกเลี่ยงการใช้งานข้อมือ สําหรับข้างที่มีอาการ
11

2) Surgical treatment

CHAPTER
พิจารณาการผ่าตัดเมื่ออาการรุนแรง และไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยวิธี
Nonsurgical treatment ซึ่งเป็นการตัด Annular ligament ที่หุ้มเอ็นกล้ามเนื้อ
ออก

คาแนะนา

5
แนะนําให้ผู้ป่วยทุกรายทํากายบริหาร ตาม
https://tci-thaijo.org/index.php/simedbull/article/download/164962/119523/

De Quervain’s disease
เอกสารอ้างอิง
1. ประวิทย์ กิติดํารงสุข. Soft tissue rheumatism [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: ภาควิชาออร์โธปิ
ดิกส์ คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย [2 กุมพาพันธ์ 2562]. ที่มา :
https://bit.ly/2Wyz6Sk.
2. Our knowledge of orthopaedics. Your best health. [Internet]. Frozen Shoulder -
Adhesive Capsulitis - OrthoInfo - AAOS. [cited 2019 Feb 2]. Available from:
https://orthoinfo.aaos.org/en/diseases--conditions/de-quervains-tendinosis/
3. Huisstede BMA, Coert JH, Friden J, Hoogvliet P. Consensus on a Multidisciplinary
Treatment Guideline for de Quervain Disease: Results From the European
HANDGUIDE Study. Physical Therapy. 2014;94(8):1095–110.
12

CHAPTER
โรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ
Carpal tunnel syndrome (CTS)

Carpal tunnel syndrome (CTS) เป็นกลุ่มอาการหนึ่งใน office syndrome ที่


เกิดจากการทํากิจกรรมที่มีการใช้ข้อมือติดต่อกันเป็นเวลานาน ทําให้เส้นประสาทหลัก

5
ของมือถูกกดทับภายในข้อมือ ผู้ป่วยจะรู้สึกเจ็บ ชา บริเวณมือหรือแขน หากไม่ได้รับการ
รักษาหรือปล่อยให้โรคดําเนินต่อไปจะนําไปสู่การเกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรงได้1-2

สาเหตุและพยาธิสภาพ

Carpal tunnel syndrome


Carpal tunnel เป็นช่องที่อยู่ของกลุ่มเส้นประสาทและเส้นเอ็นบริ เวณข้ อ มื อ
ด้ า นฝ่ า มื อ ประกอบไปด้ ว ย tendons และ median nerve ภายนอกมี transverse
carpal ligament ปกคลุมอยู่ ดังรูปที่ 1 การใช้ข้อมือมาก หรือมีการกระดกข้อมือขึ้น-ลง
อย่างต่อเนื่องซ้าๆเป็นเวลานาน ทาให้ช่อง Carpal tunnel ตีบแคบลง หรือทาให้เกิดการ
อักเสบของเนื้อเยื่อใน carpal tunnel ส่งผลให้เกิดการกดทับ median nerve และเกิด
เป็น Carpal tunnel syndrome ได้ 1-3

รูปที่ 1 แสดงตาแหน่งและส่วนประกอบของ Carpal tunnel4


13

อาการของ CTS

CHAPTER
1. ผู้ป่วยจะมีอาการปวด ชาบริเวณฝ่ามือและนิ้วมืออาจมีอาการข้างเดียวหรือทั้ง 2 ข้าง
มักจะมีอาการเด่นชัดในมือข้างที่ถนัด โดยเฉพาะนิ้วโป้ง ชี้ กลาง และนิ้วนาง1-3, 5
2. มีอาการอ่อนแรงของมือ และนิ้วมือ เช่น กํามือได้ไม่แน่นหยิบจับของแล้วหล่นง่าย1-3, 5
3. อาจมีอาการปวดร้าวไปที่แขนหรือไหล่ได้ 3, 5

5
4. มีอาการปวดมากขึ้นตอนเช้าหลังตื่นนอน หรือตอนกลางคืน อาจรบกวนการนอนหลับ
ทําให้ตื่นขึ้นมากลางดึกได้ 1-3
5. อาการมักจะดีขึ้นเมื่อสะบัดข้อมือ 1-3

Carpal tunnel syndrome


หากไม่ได้รับการรักษา ปล่อยให้โรคดําเนินไปเรื่อยๆ จะทําให้กล้ามเนื้อ ฝ่อ ลีบ
โดยเฉพาะกล้ ามเนื้อบริ เวณโคนนิ้วโป้ง (thenar atrophy) และเกิดความพิการของ
ข้อมือและเส้นประสาทอย่างถาวรได้ 1,3

ภาวะที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อ CTS ที่พบได้บ่อย ได้แก่


1. ช่วงอายุที่พบได้บ่อยคือ 35-40 ปี 1
2. ตั้ ง ครรภ์ หรื อ หมดประจํ า เดื อ น ซึ่ ง จะเกิ ด ของเหลวคั่ ง ในร่ า งกายจากการ
เปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมน จนทําให้ median nerve ถูกกดทับ 3,5-6
3. เพศหญิงพบได้บ่อยกว่าเพศชาย 3 เท่า เนื่องจากเพศหญิงจะมีขนาดของ carpal
tunnel แคบกว่าของเพศชาย
4. มีข้อมือค่อนข้างกลม ผู้ที่เคยกระดูกหักหรือกระดูกเคลื่อนบริเวณข้อมือ 1,5-6
5. มี ป ร ะ วั ติ โ ร ค gout, type2 Diabetes mellitus, hypothyroidism,
autoimmune disorders เช่น rheumatoid arthritis 1,5-6
6. ผู้ที่มีภาวะอ้วน (obesity) หรือมีนํ้าหนักเกินเกณฑ์ (high body mass index)
1,5-6

7. ผู้ที่ใช้ข้อมือกระดกขึ้นลงบ่อยๆ หรือทํางานที่มีการสั่นสะเทือนของมือและแขน
อยู่เป็นเวลานาน ซึ่งพบโรคนี้ได้บ่อยในอาชีพแม่บ้าน เชฟ พนักงานขุดเจาะถนน
14

CHAPTER
ก่อสร้าง ช่างตัดผม นักดนตรีและพบมากในกลุ่มคนทํางานที่ใช้คอมพิวเตอร์
ต่อเนื่องเป็นเวลานาน1, 3, 5-7

การวินิจฉัย CTS
การวิ นิ จ ฉั ย ต้ อ งอาศั ย ข้ อ มู ล จากการซั ก ประวั ติ อาการ ปวด ชา บริ เ วณ

5
นิ้วหัวแม่มือหรือนิ้วชี้หรือนิ้วกลาง มีการใช้มือหรือมีการกระดกข้อมือขึ้นลงต่อเนื่องนานๆ
และภาวะที่เป็นปัจจัยเสี่ยงร่วมกับการตรวจร่างกาย ได้แก่

Carpal tunnel syndrome


1. การแยกการรับความรู้สึ กสัม ผั สระหว่ าง 2 จุด (2 point discrimination) จะ
กว้างขึ้นในบริเวณนิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้ และนิ้วกลาง 3,5,6
2. การตรวจ Tinel’s sign โดยการเคาะเบาๆ
บริเวณข้อมือตรงตําแหน่งของ median nerve
ผู้ป่วยจะรู้สึกเสียวแปล๊บ (tingling sensation)
ไปที่นิ้วกลาง นิ้วชี้ และนิ้วหัวแม่มือ (ผลบวก)
3,5,6
ดังรูป
3. การตรวจ Durkan’s test โดยการกดบริเวณ
carpal tunnel 30 วินาที จะรู้สึกปวด ชาไปที่
นิ้วกลาง นิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือ (ผลบวก) 3,5,6 ดัง
รูป

4. การตรวจ Phalen's test โดยงอข้ อ มื อ 90


องศาเป็ น เวลา 1 นาที ผู้ ป่ ว ยจะมี อ าการชา
หรืออาการปวดบริเวณฝ่ามือและนิ้วมือ 3,5,6 ดัง
รูป
5. การตรวจทางสรี ร วิ ท ยาไฟฟ้ า Electromyography and Nerve Conduction
Velocity Tests (EMG/NCV) จะพบความเร็ ว ในการนํ า กระแสประสาทของ
median nerve ลดลง ซึ่งใช้ตรวจในบางรายเพื่อยืนยันผล 3,5,6
15

CHAPTER
6. การตรวจด้วยรังสีวิทยา ได้แก่ Ultrasound, X-rays และ Magnetic resonance
imaging (MRI) scans เพื่ อ ใช้ วิ นิ จ ฉั ย แยกโรคจากโรคอื่ น ๆ เช่ น arthritis,
ligament injury, fracture และดูโครงสร้างของข้อมือ ดูการกดทับของ median

ระดับความรุนแรง

5
สามารถแบ่งระดับความรุนแรงของ CTS ได้จากอาการของผู้ป่วย ได้ 3 ระดับ ดัง
ตารางที่ 1

Carpal tunnel syndrome


ตารางที่ 1 ระดับความรุนแรงของ CTS 9
Severity Duration Two-point Weakness Atrophy Electromyography* Nerve
discrimination conduction
test studies*

Mild Shorter than Normal Absent Absent No denervation No to mild


one year velocity
decrease
Moderate Shorter or Possible Minimal Minimal No to mild No to mild
longer than abnormality presence presence denervation velocity
one year decrease
Severe Longer than Marked Marked Marked Marked denervation Marked velocity
one year abnormality presence presence decrease
* หากมีผลการตรวจ

การรักษา CTS

แบ่ง เป็น การรักษาที่ไม่ใช่การผ่าตัด (Nonsurgical therapy) และ การรักษา


ด้วยการผ่าตัด (surgical)

1. การรักษาที่ไม่ใช่การผ่าตัด (Nonsurgical therapy) เป็นการรักษาเพื่อบรรเทาอาการ


จาก CTS นิยมใช้เป็นทางเลือกแรก
16

1.1 ให้ยาบรรเทาอาการปวด เช่น paracetamol และยาต้านการอักเสบกลุ่ม Non-

CHAPTER
steroidal anti-inflammatory drug (NSAID) เช่น ibuprofen, naproxen 2-3,
5-7, 9

1.2 การฉีดยาเสตียรอยด์ (steroid Injection) เข้าใน carpal tunnel เพื่อลดปวด


และการอักเสบ เหมาะกับผู้ที่มีอาการระดับ mild-moderate หรือยังอยู่ในช่วง
ระยะต้น (early stage) มีลักษณะคือ มีอาการน้อยกว่า 1 ปี อาการชาไม่เป็น

5
ตลอดเวลา ไม่มีการฝ่อของกล้ามเนื้อโคนนิ้วโป้ง (thenar atrophy) ไม่มีอาการ
อ่ อ นแรง และ ตรวจ two-point discrimination ได้ ผ ลปกติ 5-7 โดยนิ ย มใช้
Triamcinolone acetonide 10 mg/ml ขนาด 1 ml ร่ ว มกั บ 1% lidoocaine

Carpal tunnel syndrome


ขนาด 1 ml6 ซึ่งจะมีสิทธิภาพดีในการฉีดครั้งแรก ส่วนการฉีดในครั้งถัดไปไม่พบ
ความแตกต่าง ดังนั้นจึงควรฉีดไม่เกิน 2 ครั้ง ส่วนการให้เสตียรอยด์รู ป แบบ
รั บ ประทานไม่แ นะนํ า เนื่ อ งจากมี systemic side effects มากขึ้ น ด้ ว ย และ
ประสิทธิภาพด้อยกว่าการให้แบบฉีด 10, 11

1.3 ก า ร ใ ช้ ย า อื่ น ๆ ไ ด้ แ ก่ , Oral diuretics, Botulinum toxin injections,


Iontophoresis ยังไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดด้านประสิทธิภาพ 9, 10, 11

1.4 Vitamin B6 (pyridoxine) ในผู้ ป่ ว ย CTS บ าง ร ายเกิ ด ภ าว ะ pyridoxine


deficiency แต่ ยั ง ไม่ มีห ลั กฐานความสั มพั น ธ์ กั บการเกิด CTS ที่ แ น่ ชั ด 7, 10 มี
การศึ ก ษาแนะนํ า ให้ ใ ช้ vitamin B6 ในขนาด 200 mg/day นาน 4-6 week
เนื่องจากพบว่าผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น และไม่เกิดอาการข้างเคียง 12 แต่การศึกษา
เปรียบเทียบประสิทธิภาพของ Vitamin B6 กับ placebo พบว่าไม่แตกต่างกัน 9
ดังนั้นอาจสรุปได้ว่า สามารถใช้เป็นทางเลือกเสริมได้หากผู้ป่วยต้องการเนื่องจาก
ไม่เกิดผลเสีย แต่ควรพิจารณาถึงความคุ้มค่าและประสิทธิภาพด้วย

1.5 ใส่อุปกรณ์ช่วยพยุงข้อมือ (Wrist splinting) เพื่อจัดวางให้ median nerve อยู่


ในตําแหน่งที่เหมาะสม โดยเฉพาะช่วงเวลานอน มีการศึกษาพบว่าวิธีนี้สามารถ
ช่วยบรรเทาอาการ โดยมีรายงานว่า 30-70% ของผู้ป่วยที่ใช้วิธีนี้มีอาการที่ดีขึ้น
17

ในเวลาเพียงไม่กี่เดือน แต่อย่างไรก็ตามหลักฐานประสิทธิภาพของการรักษาด้วย

CHAPTER
วิธีนี้ยังไม่ชัดเจน7, 10, 11

2. การรักษาด้วยการผ่าตัด (surgical) เป็นทางเลือกสุดท้ายเมื่อการรักษาอื่นๆ ไม่ได้ผล


หรือมีอาการของโรคแย่ลงจนรบกวนชีวิตประจําวัน จําเป็นต้องได้รับการรักษาโดยการ
ผ่าตัด ซึ่งมี 2 วิธี 3, 5-7, 10

5
2.1. Endoscopic surgery เป็นการผ่าตัดผ่าตัดด้วยกล้องขนาดเล็กที่ข้อมือ เพื่อไป
ตัด ligament ใน carpal tunnel ซึ่งจะมีอาการปวดน้อยกว่าการแบบเปิดแผล
ผ่านทางฝ่ามือ
2.2. Open surgery เป็ น การผ่ า ตั ด แบบเปิ ด แผลจากฝ่ า มื อ บริ เ วณเหนื อ carpal

Carpal tunnel syndrome


tunnel เป็นการตัด deep transverse carpal ligament เพื่อคลายการกดรัด
median nerve ดังรูปที่

การออกก าลั ง กายเพิ่ ม การเคลื่ อ นไหวของเอ็ น และกล้ า มเนื้ อ


(tendon gliding exercise)14

ตั้งข้อมืออยู่ในแนวตรง เหยียดนิ้วทั้งหมดค้าง
1
ไว้ 15 วินาที ทํา 10 ครั้ง ทําซํ้า 5 รอบ/วัน

2 ให้ ข้ อ มื อ อยู่ ใ นแนวตรง งอข้ อ กลางและข้ อ


ปลายของนิ้วมือ หรือทํามือมะเหงกค้างไว้ 5
วินาที ทํา 10 ครั้ง ทําซํ้า 5 รอบ/วัน
18

CHAPTER
ตั้งข้อมืออยู่ในแนวตรง กํามือค้างไว้ 5 วินาที
3
ทํา 10 ครั้งทําซํ้า 5 รอบ/วัน

5
ตั้งข้อมืออยู่ในแนวตรง งอนิ้วตามรูปค้างไว้ 5
4

Carpal tunnel syndrome


วินาที ทํา 10 ครั้ง ทําซํ้า 5 รอบ/วัน

ให้ข้อมือเหยียดไปด้านหลัง นิ้วโป้งอยู่ในแนว
5 ตรง เหยี ย ดนิ้ ว ที่ เ หลื อ ตรงตามรู ป ค้ า งไว้ 5
วินาที ทํา 10 ครั้ง ทําซํ้า 5 รอบ/วัน

ให้ข้อมือเหยียดไปด้านหลัง นิ้วโป้ง เหยียดไป


ด้านหลัง เหยียดนิ้วที่เหลือตรงตามรูปค้างไว้ 5
6 วินาที ทํา 10 ครั้ง ทําซํ้า 5 รอบ/วัน

หงายมือจนสุด ข้อมือ นิ้วโป้ง และนิ้วที่เหลือ


7 เหยียดไปด้านหลังตามรูป ค้างไว้ 5 วินาที ทํา
10 ครั้ง ทําซํ้า 5 รอบ/วัน
19

CHAPTER
หงายมือจนสุด ข้อมือ นิ้วโป้ง และนิ้วที่เหลือ
เหยียดไปด้านหลังตามรูป ใช้มืออีกด้านดึง ยืด
8
นิ้วโป้งเหยียดออก ค้างไว้ 5 วินาที ทํา 10 ครัง้
ทําซํ้า 5 รอบ/วัน

5
Carpal tunnel syndrome
เอกสารอ้างอิง
1. ทิ พ วรรณ สิ ท ธิ . Carpal tunnel syndrome (โรคการกดทับ เส้น ประสาทบริเวณข้อมือ)
[อินเทอร์เน็ต]. นครปฐม: คณะกายภาพบาบัด มหาวิทยาลัยมหิดล; 2555 [เข้าถึงเมื่อ 30
ม ก ร า ค ม 2562]. เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก
http://www.pt.mahidol.ac.th/knowledge/?p=196&fbclid=IwAR0HuzJOf
2. American college of rheumatology empowering rheumatology professionals.
GA: American college of rheumatology; ©2018[updated 2017 March; cited 2019
Jan 30]. Available from: https://www.rheumatology.org/I-Am-A/Patient-
Caregiver/Diseases-Conditions/Carpal-Tunnel-Syndrome/fbclid/IwAR2zdrxtzo--
duo3iytsh0ywRtNLsf5SoRy1ARsbMFS1b3HesHLsp8Ar8lg
3. Orthoinfo. IL: American Academy of Orthopaedic Surgeons; ©1995-2019
[updated 2016 July; cited 2019 Jan 30]. Available from:
https://orthoinfo.aaos.org/en/diseases--conditions/carpal-tunnel-
syndrome/?fbclid=IwAR17UrDV4Sfuzpho5p1aeo2GNJq31XHEeHxbFuXNBFCoKL
1LssJKLyt7WeI
4. MAYO CLINIC. MN. Mayo Foundation for Medical Education and Research
(MFMER); © 1998-2019 [cited 2019 Jan 30]. Available from:
https://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/carpal-tunnel-
syndrome/multimedia/carpal-tunnel-anatomy/img-20007899.
5. WebMD. GA: WebMD LLC; ©2005 – 2019 [cited 2019 Jan 30]. Available from:
https://www.webmd.com/pain-management/carpal-tunnel/default.htm
20

6. คณิตศ์ สนั่นพานิช. เอกสารคาสอนกระบวนวิชา พ. อธ. 501 (323501) Common Hand

CHAPTER
Disease. เชียงใหม่:ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2550.
7. Franklin GM, Friedman A. Work-Related Carpal Tunnel Syndrome Diagnosis and
Treatment Guideline. Phys Med Rehabil Clin N Am. 2015:1-15
8. Lake Oswego Plastic Surgery. OR; ©2013 Tuan A. Nguyen [cited 2019 Jan 30].
Available from:
http://www.lakeoswegoplasticsurgery.com/hand/hand_carpal_tunnel_syndro

5
me_diagnosis_additional_tests.html.
9. LeBlanc KE, Cestia W. Carpal Tunnel Syndrome. Am Fam Physician.
2011;83(8):952-8.

Carpal tunnel syndrome


10. Hermiz SJ, Kalliainen LK. Evidence-Based Medicine: Current Evidence in the
Diagnosis and Management of Carpal Tunnel Syndrome. 2017
11. Middleton SD, Anakwe RE. CLINICAL REVIEW Carpal tunnel syndrome. BMJ. 2014
Nov 6;349: g6437.
12. Holm G, Moody LE. Carpal tunnel syndrome: current theory, treatment, and
the use of B6. J Am Acad Nurse Pract. 2003 Jan;15(1):18-22.
13. Doctors’ Home Treatment for Carpal Tunnel Syndrome. UT; 2018 First Hand
Medical [ cited 2 0 1 9 Feb 24] . Available from:
https://www.mycarpaltunnel.com/carpal-tunnel-surgery/recovery-times.shtml.
14. สุพรรณี ใจวงศ์ศรี. โรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ (Carpal Tunnel Syndrome)
[อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ] . 2557 [เ ข้ า ถึ ง เ มื่ อ 28 กุ ม ภ า พั น ธ์ 2562]. เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก :
https://goo.gl/kyxRoV
Nutrition and supplements 1

ลักษณะอาการแสดงของโรคเกี่ยวกับเล็บและสารอาหาร

CHAPTER
(Nutrition and nail disease)

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับเล็บ
เล็บประกอบด้วย keratin ที่มีลักษณะเฉพาะตัว ซึ่งสามารถเจริญได้ประมาณ 2-

6
3 mm ต่อเดือน โดยรวมใช้เวลาประมาณ 6-9 เดือนถึงจะเจริญเต็มที่ เมื่อพิจารณาตาม
ลักษณะกายภาพของเล็บได้ตามที่แสดงตามภาพ เล็บประกอบด้วย hair-type
keratin หรือ hard-keratin ประมาณ 80-90% และ epithelial-type keratin หรือ soft-

Nutrition and nail disease


keratin ประมาณ 10-20% และพบปริมาณสารประกอบซัลเฟอร์ 10%w/w ซึ่งเป็น
องค์ประกอบสาคัญนการเกิดพันธะ disulfide bond ใน matrix protein สาหรับ
calcium พบเพียง 0.2% เท่านั้นซึ่งไม่ได้เป็นองค์ประกอบสาคัญที่ทาให้เล็บมีลักษณะแข็ง
นอกจากนี้ยังพบสารกลุ่มไขมันได้แก่ glycolic และ stearic acid ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ทา
ให้เล็บมีคุณสมบัติในการป้องกันน้า (water-resistant) และพบน้าประมาณ 18% ซึ่ง
พบว่าหากมีปริมาณน้าลดลงกว่า 16% จะทาให้เกิด brittle nail (เล็บไม่เรียบ) ได้
สาหรับแร่ธาตุหลัก
ในเล็บได้แก่ แมกนีเซียม,
แคลเซียม, เหล็ก, สังะสี,
โซเดียม และ ทองแดง

ภาพลักษณะเล็บปกติใช้เป็นอ้างอิงในหนังสือเล่มนี้
2

ลักษณะการผิดปกติของเล็บ

CHAPTER
1. Longitudinal melanonychia

พบลักษณะเส้นตรงสีเข้มจากบริเวณ nail plate เนื่องจากมี


การทางานของ melanocyte ในการสร้างเม็ดสี melanin ใน matrix
มากขึ้น พบความสัมพันธ์กับการขาดสารกลุ่ม vitamin D, vitamin

6
B12

2. Muehrcke’s line (Leukonychia striata)

Nutrition and nail disease


เป็นลักษณะการพบสีขาวพาดในลักษณะเป็น
band ซึ่งเมื่อกดบริเวณดังกล่าวหรือเพิ่มความดันจะทาให้
รอยขาวนี้หายไป
พบในผู้ป่วยที่มี hypoalbuminemia โดยเฉพาะผู้
ที่มีโรคประจาตัวโรคไตเรื้อรัง, nephrotic syndrome
สามารถรักษาด้วยการทาให้ระดับ albumin กลับสู่ปกติ
นอกจากนี้ยังพบรายงานในผู้ที่มีโรคประจาตัวซึ่งทาให้ระดับ
สังกะสี (Zn) ในเลือดลดลงอีกด้วย

3. Mee’s line
ลักษณะคล้ายกับ Muehrcke’s line แตกต่างที่ Mee’s line ไม่จาง
หายไปเมื่อลงน้าหนักหรือเพิ่มความดัน จึงจัดเป็น true leukonychia ซึ่งพบใน
ผู้ป่วยที่มีภาวะพิษจากสารหนู (arsenic poisoning)

4. Transverse leukonychia
ลักษณะสีขาวบน nail plate เป็น band มักพบ
ในบริเวณเดียวกันในหลายนิ้ว มักพบในโรคที่มีความ
เกี่ยวข้องกับการดูดซึมสารอาหารในทางเดินอาหาร
ผิดปกติรวมถึง pellagra (ขาดวิตามิน B3: niacin) และ
calcium ในเลือดต่า และการใช้ยาเคมีบาบัดบางชนิด เช่นกลุ่ม anthracyclines
3

CHAPTER
5. Leukonychia punctate
กลุ่มลักษณะสีขาวบน nail plate ซึ่งไม่เข้ากับ
ลักษณะอื่นตามที่กล่าวมาข้างต้น ส่วนมากเกิดจากการ
กระทบกระเทือน (trauma) จึงอาจไม่จาเป็นต้องรักษา

6. ภาวะ Onycholysis

6
คือการแยกของ nail plate ออกจาก nail bed
มักเกิดจาก การกระทบกระเทือน (trauma), contact

Nutrition and nail disease


dermatitis รวมถึง irritant dermatitis หรือ การขาด
ธาตุเหล็ก, วิตามินบี3 ซึ่งมักถูกพิจารณาคลาดเคลื่อน
เนื่องจากคล้ายกับ onychomycosis หรือการติดเชื้อราที่
เล็บ หรือ การติดเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งสามารถแยกได้จาก
การซักประวัติความอับชื้น หรือลักษณะการลามร่วมด้วย

7. Onychomycosis
มักมีเล็บที่เป็นโรคเพียงประมาณ 1 - 3 เล็บ โดยเล็บที่ติดเชื้ออาจพบ
ลักษณะหนาตัวขึ้น มีขุยหนาใต้เล็บ มีสีเล็บที่เปลี่ยนแปลงไป หรือเล็บที่แยกตัว
ออกมาจากฐานเล็บ (onycholysis) อาจเห็นเป็นโพรงหรือช่องว่างใต้เล็บ โดย
จาเป็นต้องอาศัยการตรวจทางห้องปฏิบัติการในการวินิจฉัย เนื่องจากมีสาเหตุอื่น
ที่ทาให้มีรอยโรคคล้ายกัน เช่น สะเก็ดเงินที่เล็บ, irritant dermatitis หรือ การ
ติดเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งอาจทาให้ผู้ป่วยได้รับความเป็นพิษที่ตับ หรือเกิดอัตรกิริยา
ระหว่างยาโดยไม่จาเป็น
สาหรับการติดเชื้อแลคทีเรียกลุ่ม Pseudomonas aeruginosa มักมี
ลักษณะคือมีสี greenish-yellow บริเวณรอยโรค ซึ่งคล้ายกับการติดเชื้อรากลุ่ม
candida spp แต่การติดเชื้อรากลุ่มนี้มักมี edema บริเวณฐานเล็บและมีร่อง
เกิดขึ้นที่เล็บ และมีสีคล้าเป็นบริเวณหนึ่ง
4

CHAPTER
6
Pseudomonas aeruginosa infections Candida albicans infection

สาหรับ Onychomycosis อาจแบ่งตามลักษณะการลามของเชื้อได้เป็น


7.1 Distal/lateral subungual onychomycosis (DLSO)

Nutrition and nail disease


เกิดจากการติดเชื้อเริ่มจาก nail matrix จากปลายเล็บหรือข้างเล็บแล้วแพร่เข้า
โคนเล็บแบบนี้มักเกิดจาก T. rubrum, T.mentagrophyte.

7.2 Proximal SO (PSO)


ลักษณะ nail matrix ใต้โคนเล็บขาวขุ่น มักพบในคนติดเชื้อ HIV แบบนี้มักเกิด
จาก T. rubrum, T. mentagrophyte.

7.3 Superficial white onychomycosis (SWO)


ปื้นขาว ขุ่นขาวเหลืองบางๆบนแผ่นเล็บ ไม่หนาและไม่มี onycholysis คือการ
แยกกันของ nail plate กับ nail bed

(DLSO) (PSO) (SWO)


5

เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการรักษาเชื้อราที่เล็บ ตาม dipiro pharmacotherapy ได้

CHAPTER
ดังนี้
ประสิทธิภาพของการรักษาเชื้อราที่เล็บ
Ciclopirox 8% topical 32% เมื่อใช้นาน 1 ปี
Terbinafine 76 ±3%
Itraconazole pulse therapy 63 ±7%

6
Itraconazole continuous 59 ±5%
Fluconazole 60 ±6%
griseofulvin 48 ±5%

Nutrition and nail disease


8. Psoriasis : สะเก็ดเงิน
พบ onycholysis และ oil spot จุดสีน้าตาลที่เล็บ (salmon
color) พบ pitting และ subungual hyperkeratosis ที่บริเวณ
hyponychium
การรักษา: ให้รักษาร่วมกับผื่นสะเก็ดเงิน หากพิจารณา
steroids แบบทาระยะยาว เพื่อเลี่ยง ADR สามารถพิจาณราแบบ
Pulse therapy เช่น ทา steroid เสา-อาทิตย์ ส่วนวันอื่นใช้
vitamin-D3 /immunosuppressive topical หรือมักใช้ steroid
ผสม vitamin D3

9. clubbing
ลักษณะพบมุมระหว่าง proximal nail fold กับ nail plate
มากกว่า 180 องศา (ภาวะปกติ 160 องศา) พบความสัมพันธ์กับ
การมี nitrogen waste เช่น BUN ในเลือดสูงขึ้น หรือการไม่
สมดุลระหว่างสารอาหารกลุ่ม ฟอสฟอรัส สารหนู alcohol พิษ
จากตะกั่ว ภาวะvitamin A ในเลือดสูง และ cretinism ซึ่งทาให้
ขาด iodine
6

10. koilonychia

CHAPTER
เรียกอีกอย่างว่า spoon-shaped nail plates พบได้ใน iron-deficiency
anemia, postgastrectomy, Plummer-Vinson syndrome สา หรับการขาด
สารอาหารที่เกี่ยวข้องได้แก่ riboflavin, pellagra, vitamin C

11. Hepalonychia

6
เรียกว่า soft nail หรือเล็บเปราะ มักเกี่ยวข้องกับลักษณะอาชีพ หรือ
การสัมผัสสารระคายเคือง หรือโรคบางอย่างเช่น hypochromic anemia,
Rheumatoid arthritis และเกี่ยวกับการขาดสารจาพวก Vitamin A, B6, C, D
และแคลเซียม

Nutrition and nail disease


12. Beau’s lines

เป็น transverse groove หรือร่องตัดขวาง เกิดจากการ


เจริญของเล็บที่ matrix ผิดปกติ มักพบความสัมพันธ์กับ
การขาดโปรตีน หรือ pellagra และเกี่ยวข้องกับระดับ
hypocalcemia, chronic alcoholism

13. Onychorrhexis

หรือเรียกว่า senile nail พบร่องตื้นลักษณะเป็นแบบ


longitudinal ridges พบว่าเกิดจาก aging process นอกจากนี้ยังพบ
ในผู้ป่วย Rheumatoid arthritisม iron-deficiency anemia และ
zinc-deficiency
7

14. Onychomadesis

CHAPTER
หรือการเกิด onycholysis แบบบสมบูรณ์โดยเริ่มจาก
nail plate’s proximal end รู้จักกันในชื่อ nail shedding
สาเหตุเหมือนกับ การเกิด Beau’s lines และยังรายงานว่าพบ
ในผู้ป่วยมือเท้าปากอีกด้วย

6
15. Trachyonychia
เรียกว่า เล็บหยาบ (rough nail plate) พบลักษณะ
เป็น สีเทา (gray opacity), ขรุขระ (brittle: fragilities
unguium) และบริเวณปลายเล็บแยกจากกัน (split free

Nutrition and nail disease


end) , ร่องตื้นลักษณะเป็นแบบ longitud inal ridges และ
พื้นผิวเล็บเหมือนกระดาษทราย
พบมากในคนอายุมากกว่า 60 ปีสาเหตุหลักเกิดจาก
การขาดความชุ่มชื้น สูญเสียน้า

การใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารกับเล็บ
ยาใช้ภายนอก
หลักสาคัญในการรักษา brittle nail คือการให้ความชุ่มชื้นกับเล็บ การ
ทา essential oil ซึ่งตามการศึกษาของ R Baran แนะนา low molecular mass
natural oils เช่นการทาน้ามันมะกอก (squalene), น้ามันราข้าว หรือ jojoba oil
ซึ่งเป็นกลุ่มที่สามารถดูดซึมได้ดีที่เล็บ
ยารับประทาน
สาหรับการรับประทานอาหารเสริมนั้นมีการศึกษาจานวนไม่มาก
นักศึกษาผลของการรักษา brittle nail โดยใช้การศึกษาดังนี้
Zuan ทาการศึกษาการรับประทานเหล็กเสริมทั้งในบุคคลที่ไม่มีภาวะ
ขาดเล็กพบประสิทธิภาพเล็กน้อยเมื่อใช้ติดต่อนาน 6 เดือน
Campbell, McEwan รายงานอาจพบประโยชน์จากการใช้ pyridoxine
25-30 mg/d และ Ascorbic acid 2-3 g./d
8

แต่การศึกษาส่วนใหญ่มักทาใน Biotin ซึ่งมีการใช้รักษาภาวะ horse

CHAPTER
hoofs ในม้า จึงคาดว่าอาจพบประโยชน์เดียวกันในคน Hochman พบว่าการใช้
Biotin 2.5 mg/d นาน 6-15 เดือนพบว่าเล็บหนาขึ้น 25% สอดคล้องกับ
การศึกษาอื่นเมื่อใช้ Biotin 1.0- 3.0 mg/d นาน 2 เดือน พบการหนาตัวขึ้น แต่
เมื่อหยุดใช้ประมาณ 10 สัปดาห์พบว่าเล็บกลับมามีภาวะ brittle เหมือนก่อน
การรักษา

6
หมายเหตุ: ผู้อ่านควรค้นหาภาพเล็บที่ผิดปกติจากผู้ป่วยจริงเพื่อความเข้าใจมากขึ้น

อ้างอิง

Nutrition and nail disease


1. R Baran,D Schoon. Nail fragility syndrome and its treatment. Journal of Cosmetic
Dermatology, 3, 131–137.
2. Cashman WM, et al. Nutrition and nail disease. Clinics in Dermatology (2010) 28,
420–425.
3. Hochman LG, Scher RK, Meyerson MS. Brittle nails: response to daily biotin
supplementation. Cutis 1993;51:303-5
4. Dipiro TJ, et al. Pharmacotherapy 9th edition.
5. ปรียา กุลละวณิชย์, ประวิตร พิศาลบุตร. ตาราโรคผิวหนังในเวชปฏิบัติปัจจุบัน dermaology
2020. ตุลาคม 2555.
6. ผศ.พญ.จรัสศรี ฬียาพรรณ. โรคเชื้อราที่เล็บ. คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล
มหาวิทยาลัยมหิดล
7. กฤษฏิ์ วัฒนธรรม. Community pharmacy4th edition. 2016.
9

CHAPTER
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในการศึกษาทางคลินิก
(Review clinical trial in supplements)

บทนา

6
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาแห่งประเทศไทยได้กาหนดคาจากัดความ
ของผลิตภัณฑ์อาหารเสริม ดังนี้
1. ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อสุขภาพ (functional food)

Nutrition and nail disease


2. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อสุขภาพ (dietary supplements)
3. โภชนเภสัชภัณฑ์ (nutraceuticals)
ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อสุขภาพ (functional food) ซึ่งเป็นคาเรียกที่ได้รับ
การยอมรับโดยทั่วไปในหมู่นักวิชาการนานาชาติ มีความหมายว่า เป็นผลิตภัณฑ์อาหารที่
เมื่อบริโภคเข้าสู่ร่างกายแล้วจะสามารถทาหน้าที่อื่นให้กับร่างกาย นอกเหนือจากในเรื่อง
ของรสสัมผัส (Sensory Function) ซึ่งมีการกาหนดการเป็น
1. ต้องมีสภาพทางกายภาพเป็นผลิตภัณฑ์อาหารที่แท้จริงคือ ไม่อยู่ในรูปแคปซูล
หรือเป็นผงเหมือนยา และเป็นอาหารที่ได้หรือดัดแปลงจากวัตถุดิบธรรมชาติ
2. สามารถบริโภคเป็นอาหารได้เป็นประจาไม่มีข้อจากัดด้านปริมาณเหมือนยา
3. มีส่วนประกอบที่ให้ผลโดยตรงในการเสริมการทางานของระบบต่างๆ ในร่างกาย
และป้องกันโรค
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อสุขภาพ (dietary supplements) เป็นอาหารที่กิน
เพื่อเสริมอาหารที่มีอยู่แล้ว เพื่อเสริมสร้างกลไกการทางานของร่างกายและช่วยให้มี
สุขภาพแข็งแรงมากขึ้น เช่น วิตามิน เกลือแร่ สมุนไพร เป็นต้น. รูปแบบของผลิตภัณฑ์จะ
มีลักษณะเป็นแคปซูล เม็ด หรือผง
เนื่องจากการศึกษาทางคลินิกของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในปัจจุบันมีจานวนมาก
และมีความแตกต่างระหว่างการศึกษามาก ทาให้การรวมผลการศึกษาทาได้ค่อนข้างยาก
ผู้เขียนจึงสรุปในลักษณะของ PICO แต่ละการศึกษาที่เลือกมา ซึ่งอาจเป็นแนวทางในการ
ค้นคว้าต่อสาหรับผู้ที่สนใจ
1

การศึกษาที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome
1. Fish oil ประกอบด้วย ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม 1.ปรับพฤติกรรม+น้ามัน ปรับพฤติกรรม 1.อาการปวดข้อ
-α-linolenic acid (ALA) (Primary osteoarthitis) ปลาขนาด 1,000 mg 2.ความสามารถในการใช้ข้อเข่า
- Eicosapentaenoic acid (EPA) ชาวไทย เพศชายและเพศ หรือ 3.สมรรถภาพของข้อเข่าโดยวัดอัตราเร็วการเดินบนพื้นราบ 100 เมตร
- Docosahesaenoic acid (DHA) หญิง อายุ 40-75 ปี จานวน 2.ปรับพฤติกรรม+ขนาด 4.เวลาที่ใช้ในการขึ้น-ลง บันได 3 ขั้น
75 คน (แบ่งเป็น 3 กลุ่ม 2,000 mg รับประทานวัน พบว่า กลุ่มทดลองทั้งสองกลุ่มที่สมรรถภาพของข้อเข่าดีขึ้น อาการปวดข้อน้อยลง
ชื่อการศึกษา “Efficacy and Safety
กลุ่มละ 25 คน) ละ 1 ครั้ง ติดต่อกันนาน เดินได้ดีขึ้นบนพื้นราบ และใช้เวลาในการขึ้น-ลงบันไดน้อยลง แตกต่างอย่างมี
of Fish Oil in Treatment of Knee
8 เดือน นัยสาคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับกลุ่มควมคุม
Osteoarthritis”
แต่กลุ่มที่ได้ขนาด 2000 mg ไม่ได้แตกต่างจากลุ่มที่ได้ 1000 mg

ชื่อการศึกษา “Effects of fish oil- Suboptimal fish oil capsule 2 g corn oil capsule 2 g Primary endpoint : การเปลี่ยนแปลงของ Suboptimal cardiovascular health
derived fatty acids on suboptimal cardiovascular health (182 mg EPA+129 mg รับประทานครั้งละ 2 Secondary endpoint : metabolic index level, cardiovascular risk และ
cardiovascularhealth: A (Suboptimal DHA) รับประทานครั้ง แคปซูล วันละ 2 ครั้ง Suboptimal health status
multicenter, randomized, double- health+Metabolic ละ 2 แคปซูล วันละ 2 ติดต่อกันนาน 3 เดือน พบว่า จานวนกลุ่มตัวอย่างที่เปลี่ยนจาก Suboptimal cardiovascular health ไป
blind, placebo controlled trial” disorder) อายุ 18-60 ปี ครั้ง ติดต่อกันนาน 3 เป็น optimal cardiovascular health ในกลุ่มที่ได้รับ fish oil มากกว่ากลุ่ม control
จานวน 422 คน เดือน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
metabolic index level พบว่า BMI ในกลุ่มที่ได้รับ fish oil ลดลงมากกว่ากลุ่ม
control อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ส่วนค่าอื่นๆ ไม่แตกต่างกัน
จานวนกลุ่มตัวอย่างที่เปลี่ยนจาก Suboptimal health status ไปเป็น optimal
cardiovascular status ในกลุ่มที่ได้รับ fish oil มากกว่ากลุ่ม control

Review clinical trial in supplements 6 CHAPTER


2

ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome


2. Omega 3 & DHA ผู้ป่วยที่มีภาวะ Rosuvastatin 20 mg/ Rosuvastatin 20 mg/ Efficacy endpoint: TG leve, non HDL-Cl, total cholesterol, VLDL-C, Apo A1,
ชื่อการศึกษา “Efficacy and Safety hypertrigyceridemia แม้ day + Omega3 4 g/day day ระยะเวลา 8 สัปดาห์ Apo B ในกลุ่ม intervention ลดลงมากกว่ากลุ่ม control อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
of Adding Omega-3 Fatty Acids จะได้รับ statin อายุ 19-80 ระยะเวลา 8 สัปดาห์ หลังจากผ่านไป 8 สัปดาห์
in Statin-treated Patients with ปี (TG>=300 mg/d, Safety end point: CPK, ALT ในทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างจาก baseline Adverse
Residual LDL>=100 mg/dl และ<= Each 1 g of ω-3 event ในทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน
Hypertriglyceridemia: ROMANTIC 160 mg/dl สาหรับผู้ที่ไม่ได้ (DHA 380 mg, EPA 460
(Rosuvastatin-OMAcor iN residual statin มาเป็นเวลา 4 wks) mg)
hyperTrIglyCeridemia), a
Randomized,
Double-blind, and Placebo-
controlled Trial”

3. Lutein อายุ 40-70ปี มีพ่อหรือแม่ ประกอบด้วย lutein placebo ประกอบด้วย macular pigment optical density (MPOD) หลังจากผ่านไป 6 เดือน พบว่า MPOD
ชื่อการศึกษา “Effect of Dietary เป็น neovascularAMD (5mg), zeaxanthin paraffin ระหว่าง 2 กลุ่ม ไม่แตกต่างกัน
Supplementation With Lutein, หรือ Early Treatment (1mg), vit C(90mg), vit
Zeaxanthin, Diabetic Retinopathy E (15mg), Zn(7.5mg),
and ω-3 on Macular Pigment” Study (ETDRS) Cu (<0.5mg),
resveratrol (0.5mg)
ครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2
ครั้ง นาน6 เดือน
3

ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome


4. Grape seeds Inclusion: กลุ่มตัวอย่างอายุ The RGSE group placebo group ได้รับยา Outcome: HDLC, LDL-C, TG, TC, body weight SBP
ชื่อการศึกษา “The effect of red 21–64 ปี และ received capsules หลอกที่มีลักษณะคล้ายกัน DBP ผลการศึกษาระหว่างกลุ่ม placebo และ RGSE groups พบว่าไม่แตกต่างกัน
grape seed extract on serum mild to moderate containing 200 mg/day ที่ประกอบด้วยแป้งและ แต่ผลการศึกษาในกลุ่มเดียวกันหลัง 8 สัปดาห์พบว่า ระดับไขมัน TC TG LDL ลดลง
paraoxonase activity in patients hyperlipidemia of RGSE เป็นเวลา 8 เซลลูโลสให้ในจานวนที่ และ HDL Apo-A เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ
with mild to moderate (triglycerides, TG > 150 สัปดาห์ เท่ากัน
hyperlipidemia” mg/dl; and total
cholesterol, TC > 200 ( grape seed capsules
mg/dl) ประกอบด้วย : dicalcium
Exclusion: severe phosphate, gelatin,
hyperlipidemia (TG > microcrystalline
300 mg/dl; TC > 250 cellulose และ 100 mg
mg/dl), เป็นเบาหวาน, of RGSE. Each capsule
ควบคุมความดันไม่ได้ contained the
BMI > 30 kg/m2, heart equivalent of 5–8
failure,โรคตับ โรคไตเรื้อรัง grape seeds)
ได้รับยาลดไขมันอื่นๆ กินเจ
ดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่
4

ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome


5. Zinc Inclusion :ผู้ป่วย alopecia zinc sulphate identical placebo ดู hair regrowth ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ระดับ
areata รพ.แห่งหนึ่งใน capsules ขนาด 5 capsules, แบ่ง 3 ครั้ง/วัน 1) Grade 0: No hair regrowth
ชื่อการศึกษา “Oral Zinc Sulphate in ประเทศอิรัก โดยเป็น mg/kg/day แบ่ง 3 ครั้ง/ เป็นระยะเวลา 3 เดือน 2) Grade 1:Partial hair regrowth มีผมสั้นๆบางๆ
Treatment of Alopecia Areata alopecia areata มา >= 1 วัน จากนั้นทาการ Cross 3) Grade 2:Complete hair regrowth with terminal hair (coarse,
(Double Blind; Cross-Over Study)” ปี จานวน 100 คน เป็นระยะเวลา 3 เดือน over อีก 3 เดือน pigmented,and long)
Exclusion : ผู้ป่วย จากนั้นทาการ Cross ในกลุ่มที่ได้รับ zinc sulphate capsules ก่อน เมื่อผ่านไป 3 เดือน พบว่า
alopecia totalis, over อีก 3 เดือน มี 22 คน (59.45%) =grade 2 , มี 5 คน(13.51%) = grade 1 และ 5 (13.51%)
universalis, ophiasis, และมี10คน(27.02%)=grade 0
sisaipho, Down’s เมื่อswitchไปใช้ placebo อีก 3 เดือน(จนถึงเดือนที่6) พบว่า hair growth ยังคง
syndrome with AA, เหมือนกับตอน 3 เดือนแรก (not significance between month 3th and 6th)
diabetic patients The serum zinc levelsเพิ่มขึ้น ในช่วงที่ได้รับ zinc sulphate และลดลงในชวงที่ได้
จานวนทั้งหมด 67 คน placebo แต่ยังสูงกว่า baseline อย่งมีนัยสาคัญทางสถิติ
ในกลุ่มที่ได้รับ Placebo ก่อน เมื่อผ่านไป 3 เดือน พบว่า
มี 3 คน (10%) =grade 2
เมื่อswitchไปใช้ zinc sulphate capsules อีก 3 เดือน(จนถึงเดือนที่6) พบ
complete hair growth มากขึ้น อย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติ
The serum zinc levelsเพิ่มขึ้น ในช่วงที่ได้รับ zinc sulphate อย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิติเมื่อเทียบกับ baseline
เมื่อเปรียบเทียบระหว่าง 2 กลุ่ม ในช่วง 3 เดือนแรก พบว่า complete hair
regrowth ต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
5

ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome


6. Calcium and vitamin D หญิงวัยหมดประจาเดือน 1,000 mg elemental ผู้ที่ไม่ได้ calcium และ ในผู้ที่ไม่ได้รับ Calcium หรือ vitamin D supplement กับ ได้รับ calcium และ
ชื่อการศึกษา “Health risks and จานวน 36,282 คน อายุ calcium carbonate vitamin D supplement vitamin D supplement
benefits from calcium and ระหว่าง 50–79 ปี plus 400 IU of vitamin พบว่า HR ของการเกิด hip fracture
vitamin D supplementation: D3 daily โดยการติดตามตั้งแต่่ 5 ปีขึ้นไป 0.62 (95 % confidence interval (CI), 0.38–
Women's Health Initiative clinical 1.00)
trial and cohort study” >> การศึกษา CT and OS พบว่าข้อมูลมีความสอดคล้องกัน HR = 0.65 (95 % CI,
0.44–0.98).
>>supplementation effect ไม่พบว่าเกิดความเสี่ยงของ MI, CVD, colorectal
cancer หรือ total mortality

7. CoQ10 Inclusion : ผู้ป่วยที่มี co Q10 และ placebo 50 mg วัด: Pain Severity Score (PSS),The Pain Interference Score (PIS)
statin related muscle supplementation (50 twice daily) ในกลุ่มที่ได้รับ co Q10 พบว่า PSS,PIS ลดลงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับ
ชื่อการศึกษา “Coenzyme Q10 pain อายุ 40-65 ปี ใช้ mg twice daily) เป็นเวลา 30 วัน baseline
Supplementation Decreases statin มานานกว่า 6 เดือน เป็นเวลา 30 วัน กลุ่ม placebo พบว่า ไม่แตกต่างกับ baseline
Statin-Related Mild-to-Moderate Exclusion :สงสัยว่าเกิด เมื่อเปรียบเทียบ 2 กลุ่ม พบว่า กลุ่ม intervention มีค่าPSS, PIS ลดลงมากกว่ากลุ่ม
Muscle myopathy จากสาเหตุอื่นๆ control อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
Symptoms: A Randomized Clinical ป่วยเป็นโรค ใช้
Study” coQ10 Supplementation
หรือ anticoagulant
therapy ทาใน 50 คน
6

ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome


ชื่อการศึกษา “A Randomized Trial Inclusion: ผู้ป่วยอายุ 20 ปี simvastatin 20 mg/d + simvastatin 20 mg/d + -BPI pain severity and interference scores เพิ่มขึ้นในทั้ง 2 กลุ่ม
of Coenzyme Q10 in Patients with ขึ้นไป ที่เกิด myalgia with CoQ10 (600 mg/d placebo ระยะเวลา 8 -ไม่มีความเปลี่ยนแปลงของ muscle strength หรือ VO2max ในทั้ง 2 กลุ่ม (all
Confirmed Statin Myopathy” หลังจากใช้ statin เป็นเวลา ubiquinol) ระยะเวลา 8 wks p>0.10).
8 wks (จานวน 41 คน) wks -no difference in time to pain onset ในทัง้ 2 กลุ่ม
Exclusion: cancer(5ปีก่อน
หน้า),
hypo,hyperthyroidism,
hepatic disease, renal
disease และ ใช้
corticosteroid

8. vitamin B complex 3680 adults with กลุ่มที่ได้รับวิตามินขนาด กลุ่มที่ได้รับวิตามินขนาด unadjusted risk ratio ของการเกิด stroke, CHD event, หรือ death คือ 1.0
ชื่อการศึกษา “Lowering nondisabling cerebral สูง (the high-dose ต่า( the low-dose (95% confidence interval [CI], 0.8-1.1) และโอกาสเกิด event ใน 2 ปี มีโอกาส
Homocysteine in Patients With infarction formulation (n=1827)) formulation (n=1853)), 18.0% ในกลุ่ม high-dose และ 18.6% ในกลุ่ม low-dose
Ischemic Stroke to Prevent แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มทีได้ ประกอบด้วย 25 mg of ประกอบด้วย 200 µg of โอกาสเสี่ยงเกิด ichemic stroke ใน 2 ปีคือs 9.2% ในกลุ่ม high-dose และ 8.8%
Recurrent Stroke, Myocardial high-dose formulation pyridoxine(vitB6), 0.4 pyridoxine, 6 µg of ในกลุ่ม low-dose (risk ratio, 1.0; 95% CI, 0.8-1.3)
Infarction, and Death The (n=1827) mg of cobalamin, และ 20 µg
Vitamin Intervention for Stroke และ low-dose cobalamin(vitB12), และ of folic acid
Prevention (VISP) Randomized formulation (n=1853) 2.5 mg of folic acid
Controlled Trial”
7

ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome


9 vitamin C Inclusion: วิตามิน C 1 g, 3g, or 3g vitamin C วันละ 0.03 g outcome: score symptoms daily, ไม่มีอาการหรือมีอาการรุนแรง severity (1,
ชื่อการศึกษา “Mega-dose vitamin C อาสาสมัครอายุ 18 ปีขึ้นไป with additives ("BioC") mild; 2, moderate; or 3, severe) ไอ คัดจมูก เจ็บคอ systemic symptoms ไข้
in treatment of the common ไม่ตั้งครรภ์หรือกาลัง เริ่มทานตั้งแต่เป็นหวัดจน ปวดศีรษะ รู้สึกไ่่ม่ดี หรืออาการอื่นๆ ประเมินที่ 7, 14, และ28 วัน
cold: a randomised controlled วางแผนจะตั้งครรภ์ ไม่ทาน ครบ 2 วัน The trial ผลคือ ไม่มีความแตกต่างกันในการลด duration หรือ severity ใน 4 กลุ่ม
trial” vitamin supplements ไม่ continued for 18
ทาน vitamin C หรือ months
echinacea หรือ zinc หรือ
สมุนไพรจีนในช่วงเริ่มเป็น
หวัด

ชื่อการศึกษา “Vitamin C for นาเข้าทุกการศึกษาในเด็ก Vitamin C ตั้งแต่ 0.2 g/d placebo Outcome:
preventing and treating the ผู้ใหญ่ และคนสูงอายุทใี่ ช้ ทั้งแบบวันเดียวและการใช้ อุบัติการณ์การเกิดหวัด: เมื่อรวมทุกการศึกษา 0.25-2 g/d นานตัง้ แต่ 2 สัปดาห์-5ปี
common cold (Cochrane Review)” vitamin C ติดต่อกันระยะเวลาหนึ่ง พบว่าลดการเกิดหวัดได้ 5% หรือ RR= 0.95 (0.92-0.98, p=0.001)
ระยะเวลาเกิดหวัด : ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่สามารถลดระยะเวลาการเป็นหวัดในแต่ละ
ครั้งได้อย่างมีนัยสาคัญ
แต่ผลไม่แตกต่างกับยาหลอกในทุกผลลัพธ์เมื่อเริ่มทานวันแรกของการเป็นหวัด
แต่อย่างไรก็ตามแนวโน้มหลายการศึกษาที่นามาไปในทางไม่แตกต่างกับยาหลอกแต่
ผลการคานวณแบบ meta-analysis กลับแตกต่างซึง่ เป็นข้อจากัดของงานวิจัย
8

ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome


10.vitamin A Inclusion: ผู้ป่วย Retinoic acids (RAs) Placebo Outcome:
relapsing-remitting MS 25,000 IU daily เป็น 1) MFIS วัด fatiques
ชื่อการศึกษา Effect of Vitamin A (RRMS) อายุ 20-45 ปี, เวลา 6 เดือน 2) BDI-II วัด depression
Supplementation on Fatigue and EDSS 0-5, ไม่ได้มีประวัติ จากนั้น Retinoic acids พบว่า Total MFIS (p=0.004) and its subscales for physical (p=0.02),
Depression in Multiple Sclerosis เกิด relapse ใน3 เดือนก่อน (RAs) 10,000 IU daily cognitive (p=0.02), and psychosocial (p=0.02) function, improved
Patients: หน้า, modified fatigue เป็นเวลา 6 เดือน significantly
A Double-blind Placebo-controlled impact scale (MFIS)>20 , BDI-II (p=0.01) improved significantly
Clinical Trial” minimaldepression
(beck depression
inventory-II (BDI-II)
<15), ไม่ได้ให้นมบุตร,ได้รับ
interferon beta 1a
injection อย่างน้อย 3
เดือนก่อนเริ่มการศึกษา,
BMI 18.5-30
Exclusion : ติด alcohol,
dsyphagia, MI, Stroke,
แพ้ vit A, DM, IBS,
liver/pancrease disorder
รวมทั้งหมดเท่ากับ 101 คน
9

ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome


11.vitamin E เกณฑ์คัดเข้า: ได้รับ vit.E แบบ placebo จากการศึกษาทั้งหมด 18 ผู้เข้าร่วมที่มีสุขภาพดีทั้งหมด 142,219 คน (71,116 in
ชื่อการศึกษา “Vitamin E 1)ใช้วิตามิน E 6 เดือนขึ้นไป synthetic หรือ natural vitamin E intervention groups and 71,103 in control groups)
Supplementation and Mortality in และไม่ได้รับอาหารเสริม of 23–800 IU/day Fixed effect และ random effects analysis ของ 18 trials ไม่สัมพันธ์กับ
Healthy People: A Meta-Analysis อื่นๆ เช่น antioxidants Mortality (relative risk 1.01, 95 % confidence interval 0.97 – 1.05, p=0.65).
of Randomised Controlled Trials” หรือยาที่ประกอบไปด้วย
vit.E
2) มีการใช้ vit.E แบบ
synthetic หรือ natural
3) ผู้ชายและผู้หญิงที่ไม่
ตั้งครรภ์
4)non-systemicmedical
conditions, such as knee
osteoarthritis
เกณฑ์การคัดออก:
1)การศึกษาที่เลือกผู้ป่วยที่
เกิดโรครุนแรง
2) การศึกษาที่ทาในประเทศ
กาลังพัฒนาเนื่องจากอาจ
เกิดความเสี่ยงต่อการขาด
สารอาหาร
10

ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome


12.Evening primrose oil เกณฑ์คัดเข้า : ผู้ป่วยนอกที่ capsule ขนาด 735 mg placebo capsule -primary outcome : Eczema Area Severity Index (EASI) วัดที่เดือนที่ 0,1,2,3,4
ชื่อการศึกษา Effect of Evening ได้รับการวินิจฉัยเป็น mild (ประกอบด้วย EPO 450 ประกอบด้วย soybean - secondary outcome : TEWL, skin hydration, VAS (visual analog scale) for
Primrose Oil on Korean Patients AD (ตาม Diagnostic mg ซึ่งเท่ากับ GLA 40 oil 450 mg puritus และ adverse effect วัดที่เดือนที่ 0,1,2,3,4 และวัด IgE เดือนที่ 0,4
With criteria ของ Hanifin and mg) ขนาดที่ใช้
Mild Atopic Dermatitis: A Rajka ) มี EASI score ≤ อายุ 2-12 ปี : 4 เม็ดต่อ
พบว่า EASI score ในกลุ่ม intervention ลดลงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับ
Randomized, Double-Blinded, 10 และเข้ารับการรักษาใน วัน
Placebo-Controlled Clinical Study” รพ.แห่งหนึ่งในประเทศ อายุมากกว่า 12 ปี: 8 เม็ด กลุ่ม placebo ในเดือนที่ 4
เกาหลี ตั้งแต่เดือนสิงหาคม ต่อวัน ค่า secondary outcome อื่นๆ no significance
พ.ศ. 2557 ถึง กรกฎาคม
พ.ศ. 2559
เกณฑ์คัดออก : ผู้ที่เป็นโรค
ผิวหนังชนิดอื่นๆ ผู้ที่มีโรค
ทาง systemic หรือโรค
เรื้อรังที่ควบคุมไม่ได้

13.เห็ดหลินจือสกัด Inclusion: อายุมากกว่า 18 1.capsule 3g of placebo capsule 3 g primary outcome: HbA1C, FPG
ปี มี high fasting serum anoderma lucidum รับประทานวันละ 8 secondary outcome: BP,TG, เส้นรอบเอว,BMI,totalcolesterol,HDL,LDL
ชื่อการศึกษา “A double-blind, glucose หรือ แคปซูล (เช้า 4 แคปซูล พบว่า no significance ในทัง้ 3 กลุ่ม
randomised, ≥ 6.1 mmol/L, และมีอย่าง 2.capsule 3g of ก่อนนอน 4 แคปซูล)
placebo-controlled trial of น้อย 2 ข้อตาม(NCEP-ATP anoderma เป็นเวลา 16 wks
11

ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome


Ganoderma lucidum for the III) diagnostic criteria lucidum+Cordyceps
treatment of cardiovascular risk for metabolic syndrome sinensis
factors of metabolic syndrome” (fasting serum
triglycerides ≥ 1.7 รับประทานวันละ 8
mmol/L, blood แคปซูล
pressure ≥ 130/85 (เช้า 4 แคปซูล ก่อนนอน
mmHg, waist 4 แคปซูล)
circumference > 102 or เป็นเวลา 16 wks
88 cm and HDL chol < 1
or 1.3 mmol/L for men
and women). ได้รับการ
วินิจฉัยเป็น DM type 2
Exclusion: แพ้เห็ด,ตั้งครรภ์
ให้นมบุตรกินเห็ดหลินจือส
กัด หรือถั่งเช่าสกัดมาหรือใช้
insulin ภายใน 12 เดือนที่
ผ่านมา ,มะเร็ง, โรคหัวใจ
,ตับ,ไต ใช้ anticoagulant
หรือมี hypoglycaemic
ใน 3 เดือนที่ผ่านมา
12

ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome


14.กระเทียมสกัด เกณฑ์คัดเข้า :ผู้ป่วย ที่ 4 capsules daily of placebo Primary outcome : วัดความดัน systolic และ diastolic blood pressure ที่ 4, 8
ชื่อการศึกษา“Aged garlic extract ควบคุมความดันไม่ได้ (SBP Kyolic® (Garlic High และ 12 สัปดาห์เทียบกับ baseline
lowers blood pressure in patients ≥ 140 or DBP ≥ 90 mm Potency Everyday ผลคือ SBP สัปดาห์ที่ 12 ไม่แตกต่างกันในทัง้ 2 กลุ่มแต่ subgroup ในกลุ่มที่ความดัน
with treated but uncontrolled Hg ที่ถูกบันทึกไว้ภายใน 12 Formula 112, มากกว่าหรือเท่ากับ 140 แตกต่างจากกลุ่มอื่น (mean difference in SBP ± SE:
hypertension: A randomised เดือนที่ผ่านมา) ที่ได้รับยา Wakunga/Wagner®) −10.2 ± 4.3, p = 0.0361)
controlled trial” ACEIs/ARBs/CCB/diuretic containing 960 mg of Tolerability: 24% ในกลุ่มที่ได้รับกระเทียมมีอาการเรอเปรี้ยว reflux test
และไม่มีแผนการเปลี่ยนยา aged garlic extract sensation ในขณะที่กลุ่มPlacebo ก็เกิด ADR เช่นเดียวกัน 8% (p=0.25)
ระหว่างเข้าร่วมการศึกษา (AGE) and 2.4 mg acceptability: การให้ทาน 4 แคปซูลต่อวันกินง่าย(93%)และเป็นที่ยอมรับ(92%)
เกณฑ์คัดออก: unstable Sallylcysteine (SAC) for ราคาประมาณ 1.2 ดอลลาร์/วัน
other medical conditions 12 weeks
or serious illness, e.g. ขนาดต่อวันเทียบเท่ากับ
dementia, terminal 2.5 g of fresh garlic
illness, recent
bereavement,multiple
chronic conditions,
secondary hypertension,
recent significantmedical
diagnosis, or pregnancy
อ่านเขียน ภาษาอังกฤษไม่ได้
13

ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome


15.ใบมะรุม inclusion: ผู้ป่วย32 รายที่ 8 capsules (4 grams) placebo outcome: FPG and HbA1C ระหว่างกลุ่มไม่แตกต่างกัน และหลังให้ยาเทียบกับ
ชื่อการศึกษา“Effect of Moringa เพิ่งเริ่มเป็นเบาหวานโดย of MO leaf baseline ก็ไม่ต่างกัน
oleifera Leaf Capsules on เป็นมาไม่เกิน 5 ปี, อายุ capsulebefore
Glycemic Control in Therapy- ระหว่าง 20 - 70 ปี, breakfast and dinner
Na\ve Type 2 Diabetes Patients: A hemoglobin A1C (HbA1C) เป็นเวลา 4 สัปดาห์
Randomized Placebo Controlled น้อยกว่า 9%, และ FPG
Study” น้อยกว่า 200mg/dl
Exclusion : เบาหวานชนิด
อื่นๆ, ใช้ยาลดน้าตาลภายใน
2 เดือนก่อนเข้าร่วม
การศึกษา CrCl
60ml/min./1.73m2 มีค่า
ALT AST สูงมากกว่า 2 เท่า
ของค่าปกติ และ เป็น
โรคหัวใจหรือมีภาวะการ
เจ็บป่วยที่รุนแรง หรือ
ตั้งครรภ์
14

ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome


16.Spirulina ผู้ชายจานวน 160 คน อายุ Spirulina was Group-I ประกอบด้วย Glycosylated hemoglobin
ชื่อการศึกษา “Effect of 45-60 ปี supplemented for 12 40 volunteers who Serum Cholesterol
Supplementation of Spirulina on weeks (90 days) of 2 were treated as Triglycerides
Blood Glucose, Glycosylated capsules (Each control without FBG ลดลง: statistically significant ในกลุ่มที่ได้รับ spirulina ยกเว้นกลุ่ม control
Hemoglobin and Lipid Profile of capsules 500 mg spirulina แต่ระหว่างกลุ่มไม่แตกต่างกัน
Male NonInsulin Dependent glascobrand) per day supplementation HDL เพิ่มขึ้น: statistically significant ในกลุ่มที่ได้รับ spirulina ยกเว้นกลุ่ม control
Diabetics” Group-II ผู้ที่ถูกวินิจฉัย แต่ระหว่างกลุ่มไม่แตกต่างกัน
ว่าเป็นเบาหวาน แต่จะให้
ปรับแค่พฤติกรรม ไม่ได้
ยาหรืออาหารเสริมอื่นๆ
Group-III ได้รับยา
เบาหวานร่วมกับปรับ
พฤติกรรม
Group-IV ได้ยาเบาหวาน
ได้ insulin และปรับ
พฤติกรรม

17.Glutathione ตัวอย่างคนสุขภาพดี ไม่สูบ กลุ่มที่ 1 ได้รับ GSH 250 placebo (470 mg outcome:
“Randomized controlled trial of บุหรี่ อายุ 30–79 ปี ไม่ได้ mg/day cellulose) primary outcome: วัด GSH levels ในเลือด erythrocytes, plasma,
oral glutathione supplementation รับ antioxidant กลุ่มที่ 2 ได้รับ GSH เป็นเวลา 6 เดือน lymphocytes และ exfoliated buccal mucosal cells
15

ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome


on body stores of glutathione” supplement มาอย่างน้อย 1000 mg/day โดยทาการวัดที่ 1 3 6 ผลปรากฏว่า ที่ 6 เดือน GSH levels เพิ่มขึ้น 30–35 % ใน
1 เดือน เป็นเวลา 6 เดือน erythrocytes, plasma และ lymphocytes และ 260 % ใน buccal cells ในกลุ่มที่
ได้รับ GSH 1000 mg/day (P< 0.05).
GSH level เพิ่มขึ้น 17 and 29 % ใน blood และ erythrocytes, ตามลาดับในกลุ่ม
ที่ได้รับ GSH 250 mg/day (P< 0.05). และระดับ GSH ก็จะกลับไปสู่ baseline เมื่อ
หยุดทานไป 1 เดือน

Glutathione and its antiaging and ประชากรไทย เพศหญิง 60 Glutathione (GSH): placebo orally for 12 Melanin index : ไม่แตกต่างกันกับ placebo ในทั้ง 2 กลุ่ม มีเพียงประชากรอาย
antimelanogenic effects คน อายุ 20-50 ปี สุขภาพดี (250 mg/d) หรือรูปแบบ weeks. มากกว่า 40 ปี (7 คน) มี melanin index ลดลงเฉพาะบริเวณหน้าแขนที่โดนแดด แต่
งดอาหารเสริมใดๆ 2 ออกซิไดซ์(GSSG) (250 บริเวณอื่นๆของร่างกายไม่แตกต่างกับยาหลอก
สัปดาห์ก่อนทาการศึกษา mg/d), นาน 12 สัปดาห์ Transepidermal water loss (TEWL) และ Water contents (Corneometer):
แตกต่างเฉพาะบริเวณหน้าแขนด้านขวาที่โดนแดดในกลุ่ม (GSSG) และแขนซ้ายของ
กลุ่ม (GSH) ที่ไม่โดนแดดเท่านั้น
Elasticity , Wrinkle: ริ่งริ้วรอยไม่แตกต่างกับยาหลอก

18.Gotu kola ผู้เข้าร่วมการศึกษา28 คนมี 250, 500, 750mg/day ยาหลอก outcome


ชื่อการศึกษา “positive modulation อายุเฉลี่ย 65 ปี ต้องไม่ได้ร้ับ of plant extract เป็น 1) จะประเมินความตั้งใจจดใจจ่อ(The event related potentials (ERP) using odd-
of cognition and mood in the สมุนไพร หรือยาใดๆที่ เวลา 2 เดือน ball paradigm)
healthy elderly volunteer following เกี่ยวข้องกับการทางานของ พบว่า บัวบกขนาด 750 mg/day วัดคลื่น N100 amplitude พบว่าแตกต่างอย่างมี
the administration of centella ระบบประสาท ไม่กินกาแฟ นัยสาคัญเมื่อเทียบกับ baseline
16

ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome


asiatica” หรือแอลกอฮอล์อย่างน้อย 2) วัด % ความแม่นยาของ reaction ต่างๆ
12 hr ก่อนเข้าร่วม 3) วัด alert factor ของ750 mg เพิ่มขึ้นซึ่งต่างอย่างมีนัยสาคัญ
การศึกษา 4) วัด content factor ไม่ต่างระหว่างกลุ่ม
Exclusion ผู้ที่สูบบุหรี่ 5) วัด calm factor เพิ่มขึ้นซึ่งแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ
มากกว่า 10 มวนต่อวัน

19.Rice bran oil& Rice germ oil screen ผู้เข้าร่วมการศึกษา กลุ่มทดลองให้ใช้ น้ามันรา ส่วนกลุ่มควบคุมใช้ น้ามัน Outcome:
ชื่อการศึกษา“ Study on Effect of ทั้งหมดจานวน 232 คน แต่ ข้าวและน้ามันดอก ดอกทานตะวันและ จากการวัดผลในวันที่ 30 ที่มีการใช้ RBSO พบว่า สามารถลดระดับโคเลสเตอรอลใน
Rice bran and Sunflower oil blen เหลือผู้ที่ผ่านเกณฑ์การคัด ทานตะวัน (80:20 ratio ground nut เลือด LDL ทั้งในกลุ่มที่มีไขมันสูง (8 and 7 % ตามลาดับ)และกลุ่มไขมันปกติ (4และ
on Human lipid profile” เข้าทั้งหมด 48 คน มีผู้ที่เป็น with 5000 ppm of 5% ตามลาดับsig) ภายใน 30 วัน นอกจากนี้ ยังลดระดับ VLDL-C และ TG ในกลุ่ม
hyperlipidemia 32 คน Lryzanol) ที่มีไขมันในเลือดสูง ได้ (17 และ 15% ตามลาดับsig) แต่พบว่าระดับ HDL-C ไม่มีการ
((Total Cholesterol (TC)> #ทั้งสองกลุ่มมีการ เปลี่ยนแปลงในทั้งสองกลุ่ม
200 mg/dl and/ or ประเมิน lifestyle ในวันที่
Triglycerides (Tgl) > 150 0 30 60 โดยใช้
mg/dl) แบบสอบถาม Health &
และ normolipidemic Lifestyle questionnaire
subjects (TC < 200 mg (HLSQ) ประเมินเกี่ยวกับ
/dl and Tgl <150 mg /dl) nutrition habits, fitness
มีอายุอยู่ในช่วง 25-60 ปี activities, stress,
ผู้เข้าร่วมการศึกษาต้องไม่มี substance abuse/
17

ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome


ประวัติการป่วยเรื้อรัง เช่น dependency, cardiac
เบาหวาน ตับอักเสบ ไต risk factors, cancer risk
ไทรอยด์ หรือหัวใจหผิดปกติ factors, safety habits
ไม่ดื่มสุราและไม่สูบบุหรี่ ไม่ etc.
รับประทานยาทีส่งผลต่อ
ระดับไขมัน ไม่มีประวัติการ
ใช้ น้ามันราข้าว Safflower
oil Vanaspati หรือ Ghee
ในการทาอาหาร

20. L-Carnitine ผู้หญิงอ้วนวัยใกล้หมด L-carnitine กลุ่มควบคุมได้รับ 1)การวัดสัดส่วนของร่างกาย


“Effect of L-Carnitine ประจาเดือน ที่เป็น DM supplementation ให้ 2 placebo ร่วมกับทาน น้าหนัก BMI รอบเอว
Supplementation on Metabolic type 2 อายุระหว่าง 20-50 g วันละ 2 ครั้ง(เช้า-เย็น) อาหารที่มี calories ต่า รอบสะโพก อัตราส่วนรอบเอวต่อรอบสะโพก
Status in Obese Diabetic Women ปี ที่มี BMI มากกว่า 30 เป็นเวลา 8 สัปดาห์ #low calories diet = ลด body fat ผลปรากฏว่าไม่มีความแตกต่างของตัวแปรใดๆเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม
With Hypocaloric Diet” และไม่ไม่ได้เข้าร่วม ร่วมกับทานอาหารที่มี จานวน calories ลง 500 2)ทาการวัดFasting Blood Glucose, Insulin Resistance and Lipid Profile(FBS,
โปรแกรมลดน้าหนักในช่วง calories ต่า Kcal จากจานวนที่ควร cholessterol, TG, HDL,LDL, HOMA-IR
6 เดือนที่ผ่านมา และ ได้รับต่อวัน ผลปรากฏว่า ค่า FBSและHOMA-IR ระหว่างสองกลุ่มแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ
น้าหนักต้องคงที่ไม่แกว่ง
มากกว่า 1 kg จานวน 60
คน
18

ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome


21.Cod liver oil Inclusion : เด็กอายุ 6 เด็กอายุ 1 ปีขึ้นไป กลุ่มควบคุมเป็น medical primary outcome : จานวน upper respiratory tract visits
เดือน – 5 ปี ซึ่งเข้ารับการ Cod liver oil 1 ช้อนชา/ record control secondary outcome: จานวน others illness visits
ชื่อการศึกษา “EFFECT OF DAILY รักษาในสถานพยาบาล 2 day พบว่า กลุ่มทดลองมีจานวน visits จาก upper respiratory tract ลดลงอย่างมี
COD LIVER OILAND A แห่ง ใน United State (ประกอบด้วย ALA 45- นัยสาคัญทางสถิติ
MULTIVITAMIN-MINERAL ในช่วง ตุลาคม-ธันวาคม 50 mg, EPA 460 -500 แต่กลุ่มควบคุม no significance
SUPPLEMENT WITH SELENIUM 2002 mg DHA 500-550 mg)
ON UPPER RESPIRATORY TRACT Exclusion : เด็กที่รักษาตัว Vitamins and ทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มีจานวน visits จาก others illness หลังจากได้รับ
PEDIATRIC VISITS BY YOUNG, ในคลินิกหรือสถานพยาบาล minerals ½ ช้อนโต๊ะ/ supplement ไม่แตกต่างจากเดิม
INNER-CITY, LATINO CHILDREN: อื่นๆ ร่วมด้วย, แพ้ปลา , day (ประกอบด้วย
RANDOMIZED PEDIATRIC SITES” feeding disorder, มะเร็ง, vitamin A 4,500-5,000
HIV , immundeficiency IU, Vitamin D 600-700
syndromes IU และ Vitamin E 31
IU)
เด็กอายุ 6 เดือน ถึง 1 ปี
ให้ในปริมาณครึ่งหนึ่ง
ของเด็กอายุ 1 ปีขึ้นไป
ระยะเวลาการศึกษา 6
เดือน
19

ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome


ชื่อการศึกษา “Cod liver oil (n-3 Inclusion: ผู้ป่วย SSMO1 10 g/day (10 Identical air-filled primary outcome : relative reduction of daily NSAIDs >30%
fatty acids) as an non-steroidal Rheumatoid arthitis อายุ capsules) placebo capsules secondary outcome: disease activity ได้แก่ DAS-28-CRP, HAQ, VAS for pain
anti-inflammatory 18 ปีขึ้นไป ที่มีอาการ capsules 1000 mg ระยะเวลาการศึกษา 9 พบว่า กลุ่มทดลองมีจานวนผู้ป่วยที่สามารถลดขนาดการใช้ NSAIDs ในหนึ่งวัน
drug sparing agent in rheumatoid stable ได้รับยาต่อเนื่องมา ประกอบด้วย 150 mg เดือน มากกว่า กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
arthritis” อย่างน้อย 3 เดือน และใช้ EPA ค่า disease activity อื่นๆ ในทั้ง 2 กลุ่ม ไม่แตกต่างกัน ยกเว้น VAS ที่ significant
NSAIDs ระยะเวลาการศึกษา 9 improvement ในกลุ่มทดลอง
Exclusion: RA ที่จาเป็นต้อง เดือน
เปลี่ยนขนาดการรักษา,
ได้รับ prednisolone >7.5
mg/day, มีโรคร่วมในระดับ
รุนแรง, ได้รับ EPA EFA
เป็นอาหารเสริม
รวมมีผู้เข้าร่วมการศึกษา
ทั้งหมดจานวน 97 คน

22. Astaxanthin Study-1: ผู้หญิงชาวญี่ปุ่น Astaxanthin 3 mg bid ไม่มี พบว่าสามารถลดจุดของริ้วรอยที่ลึกที่สุด (p<0.01) ค่าเฉลีย่ ความลึกของ
“Cosmetic benefits of astaxanthin อายุ 20-55 ปี จานวน30 ร่วมกับ 5% w/w ริ้วรอยในจุดที่ลึกที่สุด (p<0.01) ความกว้างของริ้วรอยในจุดที่ลึกที่สุด (p<0.01)
on humans subjects” คน มีช่วง wash out 8 w astaxanthin H. pluvialis และความลึกของริ้วรอยในทุกจุดบนใบหน้า (p<0.05) แต่ไม่มีผลเพิ่มความชุ่มชื้นของ
ก่อนทาการศึกษา open- extract, เช้า เย็น ผิวหนัง
label และ non-controlled
20

ชื่อเรื่อง Population Intervention Control Outcome


Study-2: ชายญี่ปุ่นอายุ 20- Astaxanthin 3 mg bid placebo พบว่าสามารถลดสัดส่วนพื้นที่ของทุกริ้วรอยได้อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และไม่มีผล
60 ปี จานวน 36 คน ต่อชุ่มชื้นของผิวหนังเช่นเดียวกับ study-1
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
1

อ้างอิง

CHAPTER
1. Peanpadungrat P. Efficacy and Safety of Fish Oil in Treatment of Knee Osteoarthritis. J Med
Assoc Thai. 2015;98(3):S110-4.
2. Zeng Q,et al. Effects of fish oil-derived fatty acids on suboptimal cardiovascularhealth: A
multicenter, randomized, double-blind, placebo controlled trial. Nutr Metab Cardiovasc Dis.
2017;27(11):964-970.
3. Kim CH,et al. Efficacy and Safety of Adding Omega-3 Fatty Acids in Statin-treated Patients

6
with Residual Hypertriglyceridemia: ROMANTIC (Rosuvastatin-OMAcor iN residual
hyperTrIglyCeridemia), a Randomized, Double-blind, and Placebo-controlled Trial. Clin Ther.
2018 Jan;40(1):83-94.
4. Korobelnik JF,et al. Effect of Dietary Supplementation With Lutein, Zeaxanthin, and ω-3 on
Macular Pigment: A Randomized Clinical Trial. JAMA Ophthalmol. 2017 :135(11):1259-1266.

Review clinical trial in supplements


5. Argani H,et al. The effect of red grape seed extract on serum paraoxonase activity in
patients with mild to moderate hyperlipidemia. Sao Paulo Med J. 2016 May 13;134(3):234-9.
6. Sharquie KE,et al. Oral Zinc Sulphate in Treatment of Alopecia Areata (Double Blind; Cross-
Over Study). J Clin Exp Dermatol Res 3:150.
7. Prentice RL,et al. Health risks and benefits from calcium and vitamin D supplementation:
Women's Health Initiative clinical trial and cohort study. Osteoporos Int. 2013 Feb;24(2):567-
80.
8. Skarlovnik A. Coenzyme Q10 supplementation decreases statin-related mild-to-moderate
muscle symptoms: a randomized clinical study. Med Sci Monit. 2014 Nov 6;20:2183-8.
9. Toole JF,et al. Lowering homocysteine in patients with ischemic stroke to prevent recurrent
stroke, myocardial infarction, and death: the Vitamin Intervention for Stroke Prevention
(VISP) randomized controlled trial. JAMA. 2004 Feb 4;291(5):565-75.
10. Audera C,et al. Mega-dose vitamin C in treatment of the common cold: a randomised
controlled trial. Med J Aust. 2001 Oct 1;175(7):359-62.
11. Hemilä H, Chalker E. Vitamin C for preventing and treating the common cold. Cochrane
Review2013.
12. Bitarafan S, et al. Effect of Vitamin A Supplementation on fatigue and depression in Multiple
Sclerosis patients: A Double-Blind Placebo-Controlled Clinical Trial. Iran J Allergy Asthma
Immunol. 2016 Feb;15(1):13-9.
13. Curtis AJ, et al. Vitamin E Supplementation and Mortality in Healthy People: A Meta-Analysis
of Randomised Controlled Trials. Cardiovasc Drugs Ther. 2014 Dec;28(6):563-73.
14. Chung BY, et al. Effect of Evening Primrose Oil on Korean Patients With Mild Atopic
Dermatitis: A Randomized, Double-Blinded, Placebo-Controlled Clinical Study. Ann Dermatol.
2018 Aug;30(4):409-416.
15. Klupp NL, et al. A double-blind, randomised, placebo-controlled trial of Ganoderma lucidum
for the treatment of cardiovascular risk factors of metabolic syndrome. Sci Rep. 2016 Aug
11;6:29540.
2

CHAPTER
16. Ried K,et al. Aged garlic extract lowers blood pressure in patients with treated but
uncontrolled hypertension: a randomised controlled trial. Maturitas. 2010 Oct;67(2):144-50.
17. Taweerutchana R,et al. Effect of Supplementation of Spirulina on Blood Glucose,
Glycosylated Hemoglobin and Lipid Profile of Male NonInsulin Dependent Diabetics. Evid
Based Complement Alternat Med. 2017;2017:6581390.
18. Richie JP Jr,et al. Randomized controlled trial of oral glutathione supplementation on body
stores of glutathione. Eur J Nutr. 2015 Mar;54(2):251-63.
19. Weschawalit S,et al. Glutathione and its antiaging and antimelanogenic effects. Clin Cosmet

6
Investig Dermatol. 2017; 10: 147–153.
20. Wattanathorn J, et al. Positive modulation of cognition and mood in the healthy elderly
volunteer following the administration of Centella asiatica. J Ethnopharmacol. 2008 Mar
5;116(2):325-32.

Review clinical trial in supplements


21. Kennedy A,et al. Study on Effect of Rice bran and Sunflower oil blen on Human lipid profile.
Indian J. Applied & Pure Bio.2010;25(2), 375-84
22. Allipour B,et al. Effect of L-Carnitine Supplementation on Metabolic Status in Obese Diabetic
Women With Hypocaloric Diet. Health Scope. 2014 February; 3(1): e14615 .
23. Linday LA,et al. Effect of daily cod liver oil and a multivitamin-mineral supplement with
selenium on upper respiratory tract pediatric visits by young, inner-city, Latino children:
randomized pediatric sites. SAnn Otol Rhinol Laryngol. 2004 Nov;113(11):891-901.
24. Galarraga B, et al. Cod liver oil (n-3 fatty acids) as an non-steroidal anti-inflammatory drug
sparing agent in rheumatoid arthritis. Rheumatology (Oxford). 2008 May;47(5):665-9.
25. Tominaga K,et al. Cosmetic benefits of astaxanthin on humans subjects. actabp.pl2012.

You might also like