You are on page 1of 8

เวชบันทึกศิริราช บทความทั่วไป

การสร้างข้อสอบปรนัย
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ นายแพทย์เชิดศักดิ์ ไอรมณีรตั น์
ภาควิชาศัลยศาสตร์, คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพมหานคร ๑๐๗๐๐.

ข้อสอบปรนัย (multiple-choice question) รูปแบบพื้นฐานของข้อสอบปรนัย


เป็นรูปแบบการประเมินผลที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ข้อสอบปรนัยคือข้อสอบชนิดทีม่ คี �ำ ถามแล้วมีตวั
ในวงการแพทยศาสตรศึ ก ษาเนื่ อ งด้ ว ยคุ ณ สมบั ติ ที่ ดี เลือกให้ผสู้ อบเลือกตัวเลือกทีเ่ หมาะสมเพือ่ ตอบคำ�ถามดัง
หลายประการด้วยกัน ได้แก่ ประสิทธิภาพในการประเมิน กล่าว ข้อสอบปรนัยสามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ รูปแบบ๘
ความรู้ปริมาณมากในเวลาอันสั้น ผลการประเมินที่ไม่มี ได้แก่
ผลกระทบจากความรู้สึกส่วนตัวของผู้ตรวจให้คะแนน ๑. ข้อสอบถูกผิด (True/false item)
คะแนนที่มีความเที่ยงสูง รวมถึงผลการวิจัยจำ�นวนมาก ในข้ อ สอบประเภทนี้ จ ะมี ข้ อ ความให้ ผู้ ส อบ
ที่สนับสนุนความถูกต้องของผลการประเมินด้วยข้อสอบ พิจารณาว่าถูกหรือผิด ในยุคแรกข้อสอบเหล่านี้แต่ละ
ปรนัย๑-๒ ข้อสอบปรนัยที่พัฒนาขึ้นอย่างดีนั้นสามารถ ข้อจะแยกเป็นอิสระจากกัน ผู้สอบตัดสินใจว่าข้อความ
วัดความรู้ได้ทั้งระดับการจดจำ� การทำ�ความเข้าใจ และ แต่ละข้อถูกหรือผิดโดยไม่เกี่ยวข้องกับข้อความในข้ออื่น
การประยุกต์ความรู้ไปใช้ในการดูแลคนไข้๓-๔ อย่างไรก็ ต่อมามีผู้พัฒนาข้อสอบเป็นชุดของข้อความ (multiple
ดีผลการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของข้อสอบปรนัยที่ true/false หรื อ K-type item) โดยในแต่ ละข้ อจะมี
พัฒนาขึ้นใช้ในโรงเรียนแพทย์หลายแห่งพบว่าข้อสอบ สี่ข้อความ ผู้สอบต้องพิจารณาว่าแต่ละข้อความถูกหรือ
จำ�นวนไม่น้อยมีลักษณะที่ไม่เหมาะสม๕-๖ ข้อสอบปรนัย ผิด แล้วทำ�การเลือกตัวเลือกที่บรรยายจำ�นวนข้อความ
ที่ถูกพัฒนาขึ้นอย่างไม่ถูกหลักการนั้นส่งผลเสียหลาย ที่ถูกต้องได้อย่างเหมาะสม (เช่น ตอบ ก. เมื่อข้อความที่
อย่าง เช่นทำ�ให้ข้อสอบยากขึ้นโดยไม่จำ�เป็น ทำ�ให้ผู้ ๑,๒, และ ๓ ถูกต้อง, ตอบ ข. เมื่อข้อความที่ ๑ และ ๓
สอบเกิดความสับสน ทำ�ให้ผู้สอบบางกลุ่มเสียเปรียบผู้ ถูกต้อง ฯลฯ)
สอบคนอื่น ทำ�ให้การตัดสินผลสอบผิดพลาด เป็นต้น๖-๗ ข้อสอบชนิดถูกผิดนีเ้ คยเป็นทีน่ ยิ มมากในวงการ
ดังนั้นการออกข้อสอบปรนัยที่ดี วางอยู่บนหลักการที่ถูก แพทยศาสตรศึกษาอยูร่ ะยะหนึง่ เนือ่ งจากสามารถทดสอบ
ต้องจึงมีความสำ�คัญมากในการควบคุมคุณภาพการ ความรูไ้ ด้ปริมาณมาก แต่ขอ้ สอบชนิดนีม้ ขี อ้ จำ�กัดทีส่ �ำ คัญ
ศึกษาในโรงเรียนแพทย์ บทความนี้จึงถูกเขียนขึ้นเพื่อ คือสามารถใช้ได้เฉพาะกับเนื้อหาที่มีความถูกผิดชัดเจน
เป็นการรวบรวมหลักการพืน้ ฐานในการออกข้อสอบปรนัย เท่านัน้ ซึง่ การตัดสินใจทางการแพทย์สว่ นมากไม่เป็นเช่น
ที่ได้รับการยอมรับกันทั่วไปในวงการวัดและประเมินผล นัน้ การตัดสินใจในการวินจิ ฉัย การตรวจค้นเพิม่ เติม หรือ
ผูน้ พิ นธ์หวังว่าข้อแนะนำ�ต่าง ๆ ทีไ่ ด้น�ำ เสนอในบทความ การรักษาผูป้ ว่ ยส่วนใหญ่นนั้ แพทย์ตดั สินใจเลือกระหว่าง
นี้จะเป็นแนวทางที่เป็นประโยชน์ในการพัฒนาข้อสอบ ทางเลื อ กที่ แ ตกต่ า งกั น สามสี่ อ ย่ า งซึ่ ง ทุ ก ทางเลื อ กมี
ปรนัยที่มีคุณภาพให้ผู้อ่านไม่มากก็น้อย ความเป็นไปได้ มีสว่ นถูก หรือมีความเหมาะสมในบางด้าน
๒๙
มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๕, ปีที่ ๕, ฉบับที่ ๑
เวชบันทึกศิริราช บทความทั่วไป

แต่ก็มีความไม่เหมาะสมในด้านอื่นด้วย เช่นการเลือกใช้ ผู้ออกข้อสอบนำ�เสนอตามหลังจากโจทย์เพื่อให้ผู้สอบ


ยาในผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อ นักศึกษาแพทย์มักรู้ว่าควรใช้ เลือกไปใช้ตอบคำ�ถาม หรือเติมลงในช่องว่างในโจทย์
ยาปฏิชีวนะ ซึ่งยาปฏิชีวนะหลายชนิดก็รักษาการติดเชื้อ ๒.๑ ตัวเลือกที่ถูกต้อง (correct option) เป็น
ชนิดนัน้ ๆ ได้ แต่นกั ศึกษาต้องเลือกระหว่างยาทีล่ ว้ นใช้ได้ คำ�ตอบที่ถูกต้องมีเพียงตัวเลือกเดียวต่อข้อสอบข้อหนึ่ง
ในการรักษานัน้ ว่ายาใดทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงสุด เหมาะสม ๒.๒ ตัวลวง (distractors) เป็นคำ�ตอบทีผ่ ดิ หรือ
ที่สุดกับชนิดของเชื้อก่อโรคที่พบบ่อยในการติดเชื้อนั้น ไม่เหมาะสม มีไว้ลวงให้ผู้สอบที่ไม่มีความรู้ หรือมีความ
มีผลข้างเคียงน้อยที่สุด และราคาเหมาะสมด้วย ซึ่งใน เข้าใจไม่ถูกต้องในเนื้อหาที่นำ�มาออกข้อสอบเลือกตอบ
สถานการณ์นี้ข้อสอบชนิดถูกผิดจะนำ�มาใช้ได้ยาก ด้วย ตัวลวงไม่จำ�เป็นต้องเป็นคำ�ตอบที่ผิดชัดเจนเสมอไป
เหตุนี้ทำ�ให้ข้อสอบชนิดถูกผิดไม่เป็นที่นิยมกันมากนัก ตัวลวงที่ดีมักมีส่วนถูกบ้าง แต่มีระดับของความถูกต้อง
ในปัจจุบัน เหมาะสมน้อยกว่าคำ�ตอบที่ถูก
๒. ข้อสอบเลือกคำ�ตอบที่ถูกที่สุด (one best
response item) ข้อแนะนำ�พื้นฐานของการเขียนข้อสอบปรนัย
ในข้อสอบประเภทนี้จะมีคำ�ถามแล้วตามด้วย มีผู้เชี่ยวชาญทางการประเมินผลให้ข้อแนะนำ�
ตัวเลือกจำ�นวนหนึ่งให้ผู้สอบเลือกตัวเลือกที่เหมาะสม จำ�นวนมากในการเขียนข้อสอบปรนัย เคยมีผรู้ วบรวมไว้ถงึ
ที่สุดเป็นคำ�ตอบ ข้อสอบประเภทนี้ที่เป็นที่นิยมกันมาก ๔๓ ข้อ๒, ๙ ในทีน่ ผี้ นู้ พิ นธ์ขอนำ�เสนอเฉพาะข้อแนะนำ�ทีไ่ ด้
ที่สุดคือข้อสอบที่มีตัวเลือก ๔-๕ ตัวเลือก (A-type) แต่ รับการยอมรับอย่างกว้างขวางและสามารถประยุกต์ใช้ได้
นอกจากข้อสอบมาตรฐานนีแ้ ล้วก็มผี ใู้ ช้ขอ้ สอบประเภทที่ ชัดเจนในการพัฒนาข้อสอบทางการแพทย์ โดยจะทำ�การ
มีลกั ษณะเป็นการจับคู่ (extended matching item) โดย จัดหมวดหมูข่ องข้อแนะนำ�เหล่านีอ้ อกเป็น ๔ กลุม่ ด้วยกัน
ให้ผู้สอบเลือกตัวเลือกที่เหมาะสม (จากตัวเลือกจำ�นวน ได้แก่ (๑) เนือ้ หาข้อสอบ, (๒) การจัดรูปแบบข้อสอบ, (๓)
มาก ๘ – ๒๐ ตัวเลือก) ไปจับคูก่ บั โจทย์ (stem) ซึง่ มีหลาย การเขียนโจทย์, และ (๔) การเขียนตัวเลือก
ข้อ เช่นจับคู่ระหว่างคำ�บรรยายอาการของผู้ป่วยจำ�นวน ๑. เนื้อหาข้อสอบ
๕ – ๑๐ ราย กับการวินิจฉัยโรคที่เหมาะสม จำ�นวน ๑๕ ๑.๑ ข้อสอบหนึ่งข้อควรมุ่งเน้นประเมินความรู้
โรค เป็นต้น เพียงเรื่องเดียว
เนื่องจากข้อสอบชนิดที่มีใช้กันแพร่หลายใน ก่อนเริม่ เขียนข้อสอบอาจารย์ผอู้ อกข้อสอบควร
วงการแพทยศาสตรศึ ก ษาในประเทศไทยในปั จ จุ บั น ตั้งวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนว่าต้องการประเมินความรู้ของ
คือข้อสอบประเภทที่มีตัวเลือก ๔-๕ ตัวเลือก (A-type) ผูส้ อบในเรือ่ งใด และเขียนโจทย์เพือ่ ตอบสนองวัตถุประสงค์
ผูน้ พิ นธ์จะขอเน้นหลักการสำ�หรับการออกข้อสอบประเภท ดังกล่าวเท่านัน้ เนือ่ งจากเนือ้ หาวิชาทางการแพทย์มมี าก
นี้เป็นสำ�คัญ อาจารย์แต่ละท่านเมื่อทำ�การสอนไปแล้วจึงอยากจะ
ทดสอบความรู้ในหลายเรื่องที่ตนได้สอนไป แต่กลับมี
องค์ประกอบของข้อสอบปรนัยชนิดเลือกคำ�ตอบ โควต้าจำ�กัดในการออกข้อสอบ ทำ�ให้อาจารย์จ�ำ นวนไม่นอ้ ย
ที่ถูกที่สุด เขียนข้อสอบหนึง่ ข้อถามทัง้ เรือ่ งการวินจิ ฉัยโรค การตรวจ
ข้อสอบปรนัยแต่ละข้อมีสว่ นประกอบสำ�คัญ ๒ ค้นเพิม่ เติม การรักษาโรค และ ภาวะแทรกซ้อนของโรค ไป
ส่วนด้วยกันคือ พร้อมกัน ลักษณะข้อสอบเช่นนีไ้ ม่ควรใช้ เพราะมักซับซ้อน
๑. โจทย์ (stem) เป็นข้อมูลของโรค หรือภาวะ เกินไป เมือ่ ผูส้ อบตอบข้อสอบผิด ก็ไม่สามารถวินจิ ฉัยได้
หรือผูป้ ว่ ยตามด้วยคำ�ถาม หรือเว้นช่องว่างสำ�หรับเติมคำ� ว่าผู้สอบขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องใด
หรือข้อความที่เหมาะสมลงไป ๑.๒ หลีกเลี่ยงการถามความรู้ในรายละเอียด
๒. ตัวเลือก (options) คือคำ� หรือข้อความที่ ปลีกย่อยที่ไม่มีที่ใช้ทางคลินิก (trivial content)
๓๐
มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๕, ปีที่ ๕, ฉบับที่ ๑
เวชบันทึกศิริราช บทความทั่วไป

องค์ความรูท้ างการแพทย์นนั้ มีปริมาณมาก ไม่มี ข้อสอบทีด่ คี วรได้จากการดูผปู้ ว่ ย โจทย์ทดี่ คี วรเป็นปัญหา


ผูใ้ ดทีจ่ ดจำ�เนือ้ หาทีม่ ใี นตำ�รา หรือวารสารทางการแพทย์ ของผู้ป่วยที่พบในการทำ�งานนั่นเอง ตัวเลือกก็ได้จากข้อ
ได้ทั้งหมด แม้ว่าองค์ความรู้หลายเรื่องมีความน่าสนใจ ผิดพลาดที่นักศึกษาหรือแพทย์ประจำ�บ้านมักปฏิบัติกับ
แต่มปี ระโยชน์ในการประยุกต์ใช้ทางคลินกิ ค่อนข้างน้อย ผู้ป่วยแล้วทำ�ให้ผลการรักษาไม่ดีนั่นเอง
องค์ความรู้ดังกล่าวจัดเป็นรายละเอียดปลีกย่อย (trivial ๑.๕ หลีกเลี่ยงการนำ�เสนอข้อสอบที่ประเมิน
content) ซึ่งไม่แนะนำ�ให้ทำ�การทดสอบ สิ่งที่ควรทำ�การ ความรู้ในเรื่องเดียวกันสองข้อในข้อสอบชุดเดียวกัน
ประเมินคือความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ใน เนือ่ งจากเนือ้ หาวิชาทีต่ อ้ งทำ�การประเมินในการ
ทางคลินิก (application of knowledge) ไม่แนะนำ�การ สอบแต่ละครัง้ นัน้ มีมาก ดังนัน้ องค์ความรูใ้ นแต่ละเรือ่ ง
ทดสอบวัดความสามารถในการจดจำ�เป็นหลัก อย่างไร แต่ละโรคจึงมักมีสดั ส่วนของข้อสอบทีจ่ ะออกได้เพียงหนีง่
ก็ตามการที่แนะนำ�ให้ออกข้อสอบที่เน้นการประยุกต์ใช้ หรือสองข้อเท่านัน้ การทีอ่ าจารย์ออกข้อสอบในเรือ่ งหรือ
ความรู้ ไม่ได้หมายความว่าการแก้ปัญหาผู้ป่วยนั้นไม่ โรคเดียวกันซํ้าสองข้อในชุดข้อสอบเดียวกันจึงมักเป็น
ต้องใช้ความจำ�เลย ตรงกันข้ามการจดจำ�เนื้อหาเป็นพื้น การลดโอกาสในการประเมินความรู้เรื่องอื่นซึ่งก็มีความ
ฐานที่สำ�คัญในการแก้ปัญหาทางคลินิก ผู้สอบย่อมต้อง สำ�คัญเช่นกัน การออกข้อสอบที่ดีนั้นควรต้องครอบคลุม
จำ�เนือ้ หาได้บา้ ง จึงจะประยุกต์องค์ความรูด้ งั กล่าวไปแก้ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ตามที่กำ�หนดในหลักสูตร หรือ
โจทย์ปัญหาที่นำ�เสนอได้ ในเกณฑ์ ม าตรฐานผู้ ป ระกอบวิ ช าชี พ เวชกรรมอย่ า ง
๑.๓ หลีกเลี่ยงการถามความรู้ในเรื่องที่ยังมี สมดุล การที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าวได้นั้นต้องเริ่มต้น
ความขัดแย้งกันในแนวทางปฏิบัติ (controversy) จากการกำ�หนดสัดส่วนข้อสอบสร้างเป็นตารางกำ�หนด
ความรูท้ างการแพทย์ในหลายหัวข้อยังเป็นเรือ่ ง จำ�นวนข้อสอบ (table of specification) เมื่ออาจารย์ได้
ทีผ่ เู้ ชีย่ วชาญยังมีความเห็นแตกต่างกัน ผูป้ ว่ ยรายเดียวกัน รับมอบหมายให้ออกข้อสอบควรต้องตรวจสอบให้ชดั เจน
ไปพบแพทย์สองคนอาจได้รับการรักษาที่แตกต่างกันซึ่ง ว่าเนือ้ หาทีต่ อ้ งออกข้อสอบนัน้ อยูใ่ นส่วนใดของตารางดัง
วิธีการรักษาทั้งสองวิธีก็มีงานวิจัยสนับสนุนด้วยกันทั้งคู่ กล่าว การออกข้อสอบซาํ้ ซ้อนในเนือ้ หาเรือ่ งเดียวกันเป็น
อย่างนี้จัดว่ายังคงมีความขัดแย้ง (controversy) ในเรื่อง สัญญาณบอกว่าอาจไม่ได้สร้างข้อสอบตามข้อกำ�หนดใน
ดังกล่าวอยู่ เนือ้ หาในลักษณะนีไ้ ม่ควรนำ�มาออกสอบด้วย ตาราง นอกจากนี้การมีโจทย์สองข้อประเมินความรู้เรื่อง
ข้อสอบปรนัย เนือ่ งจากในขณะทีท่ �ำ ข้อสอบอยูน่ นั้ ผูส้ อบ เดียวกันมีความเป็นไปได้สูงที่เนื้อหาในข้อสอบข้อหนึ่ง
ไม่มที างรูไ้ ด้เลยว่าอาจารย์ผอู้ อกข้อสอบอ้างอิงจากตำ�รา อาจบอกคำ�ตอบในข้อสอบอีกข้อหนึ่งได้
หรือบทความวิชาการใด เนื้อหาที่ยังมีความขัดแย้ง ที่ ๒. การจัดรูปแบบข้อสอบ
ผูเ้ ชีย่ วชาญจากต่างสถาบันมีแนวทางในการปฏิบตั ทิ ตี่ า่ ง ๒.๑ เลือกใช้คำ�ศัพท์หรือรูปประโยคที่ง่ายต่อ
กันนีแ้ นะนำ�ให้ใช้ขอ้ สอบในรูปแบบอืน่ ในการทดสอบเช่น การทำ�ความเข้าใจ
ข้อสอบอัตนัย เป็นต้น อาจารย์ ผู้ อ อกข้ อ สอบต้ อ งระลึ ก ไว้ เ สมอว่ า
๑.๔ หลีกเลี่ยงการลอกประโยคหรือข้อความ ข้อสอบที่อาจารย์ออกเพื่อใช้ในการประเมินผลนักศึกษา
จากตำ�ราโดยตรง แพทย์ ห รื อ แพทย์ ป ระจำ � บ้ า นนั้ น มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ
ดังได้กล่าวแล้วว่าข้อสอบที่ดีควรมุ่งเน้นการ ทดสอบความรูท้ างการแพทย์เป็นสำ�คัญ มิใช่การประเมิน
ประเมินความเข้าใจ หรือ การประยุกต์ใช้ความรู้ ไม่ควร ความรู้ทางภาษาศาสตร์ ดังนั้นการเขียนข้อสอบของ
ออกข้อสอบทีป่ ระเมินความสามารถในการจำ�รายละเอียด อาจารย์ควรเลือกใช้รปู แบบประโยคทีง่ า่ ยต่อการทำ�ความ
ปลีกย่อย การออกข้อสอบโดยวิธกี ารเปิดตำ�ราแล้วคัดลอก เข้าใจ อย่าเขียนประโยคซับซ้อนที่มีความยาวประโยค
ประโยคจากตำ�ราโดยตรงมักจะลงเอยด้วยข้อสอบทีท่ ดสอบ ละหลายบรรทัด มุ่งเน้นให้ภาษาเป็นสื่อในการนำ�เสนอ
ความจำ�ว่าผูส้ อบท่องเนือ้ หาในตำ�ราตรงส่วนนัน้ ได้หรือไม่ ความคิดของอาจารย์ผู้ออกข้อสอบไปยังผู้สอบ อย่าให้
๓๑
มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๕, ปีที่ ๕, ฉบับที่ ๑
เวชบันทึกศิริราช บทความทั่วไป

ภาษาเป็นอุปสรรคในการสื่อสาร การจะเลือกใช้ภาษา นำ�ข้อสอบข้อนั้นไปใช้สอบเลย ควรให้มีคณะกรรมการ


ใดในการเขียนข้อสอบนั้นให้พิจารณาตามข้อกำ�หนด ข้อสอบซึง่ ประกอบไปด้วยอาจารย์หลายท่านช่วยกันตรวจ
ขององค์กรหรือหน่วยงานทีค่ วบคุมการสอบทีอ่ าจารย์สง่ สอบและพิจารณาปรับแก้ขอ้ สอบทุกข้อก่อนนำ�ไปใช้จริง
ข้อสอบไปให้ใช้ ข้อสอบที่ใช้ในระดับการศึกษาหลักสูตร เสมอ เนื่องจากผู้เขียนข้อสอบย่อมเข้าใจสิ่งที่ตนเขียน
แพทยศาสตรบัณฑิตทั้งในระดับคณะ หรือข้อสอบที่ใช้ เสมอ แต่เมื่อผู้อื่นอ่านแล้วอาจพบว่ามีเนื้อหาที่กำ�กวม
ในการสอบระดับประเทศในปัจจุบันยังนิยมใช้ข้อสอบที่ หรือเข้าใจโจทย์ตา่ งออกไปได้ การปรับแก้เนือ้ หาทีม่ คี วาม
เขียนด้วยภาษาไทยโดยมีการใช้ศัพท์เทคนิคเป็นภาษา กำ�กวม หรือเฉลยซึง่ อาจารย์บางท่านอาจไม่เห็นด้วยให้ได้
อังกฤษเหมือนดังภาษาทีแ่ พทย์ใช้สอื่ สารกันในการทำ�งาน ข้อสอบที่มีความชัดเจน และอาจารย์ทุกท่านยอมรับใน
ปกติ ส่วนข้อสอบในระดับหลังปริญญามีหลายการสอบที่ คำ�เฉลยได้ก่อนจะนำ�ข้อสอบไปทำ�การสอบจริงย่อมเป็น
ภาควิชา หรือราชวิทยาลัยที่เกี่ยวข้องกำ�หนดให้ใช้ภาษา สิ่งที่ดีกว่าการตรวจพบปัญหาหลังจากสอบเสร็จแล้วซึ่ง
อังกฤษทั้งหมด ก่อนที่อาจารย์จะสร้างข้อสอบต้องมีการ ต้องมาตัดสินใจกันอีกว่าจะทำ�อย่างไรกับการคิดคะแนน
ศึกษาข้อกำ�หนดของแต่ละการสอบให้ดี ของข้อสอบข้อดังกล่าว
๒.๒ หลีกเลีย่ งการนำ�เสนอข้อมูลทีไ่ ม่เกีย่ วข้อง ๓. การเขียนโจทย์
กับการแก้ปัญหาของโจทย์ข้อนั้น ๓.๑ เขียนโจทย์ให้มีความชัดเจน ผู้สอบทุกคน
โจทย์แต่ละข้อควรเขียนให้กระชับ ไม่ยาวเยิน่ อ่านแล้วมีความเข้าใจตรงกัน
เย้อโดยไม่จำ�เป็น นำ�เสนอเฉพาะข้อมูลที่จำ�เป็นในการ ข้อแนะนำ�นีอ้ าจดูเหมือนตรงไปตรงมา แต่กลับ
แก้ปัญหาโจทย์ดังกล่าว อาจารย์บางท่านนำ�เสนอข้อมูล เป็นปัญหาที่พบบ่อยมากในการพัฒนาข้อสอบปรนัย
เยอะมากในโจทย์หนึง่ ข้อ บางครัง้ ข้อสอบข้อหนึง่ มีความ ประเด็นสำ�คัญคือโจทย์ที่ดีนั้นต้องมีความสมบูรณ์ใน
ยาวถึงครึ่งหน้า โดยให้เหตุผลว่าเป็นเหมือนสถานการณ์ ตั ว เองโดยไม่ ต้องอาศั ยตั ว เลื อก โจทย์ ข้ อสอบที่ ดีนั้น
จริงที่แพทย์ต้องตัดสินใจบนข้อมูลทางคลินิกปริมาณ เมื่ออ่านโจทย์เสร็จแล้ว หากผู้สอบมีความรู้ในเรื่องที่
มาก แพทย์ต้องพิจารณาเองว่าข้อมูลใดสำ�คัญกับการ ทำ�การประเมินนัน้ เขาจะบอกคำ�ตอบได้โดยไม่จ�ำ เป็นต้อง
แก้ปัญหาโจทย์ข้อนั้น ๆ แต่อาจารย์ก็ต้องไม่ลืมว่าเวลา อ่านตัวเลือกเลย ดังนั้นเมื่ออาจารย์เขียนข้อสอบเสร็จ
ที่ผู้สอบมีในการทำ�ข้อสอบแต่ละข้อนั้นมีจำ�กัด ในการ แล้วแนะนำ�ให้ลองปิดตัวเลือกแล้วอ่านเฉพาะโจทย์ดู
สอบทางการแพทย์ในประเทศไทยส่วนใหญ่ผู้สอบจะมี หากอาจารย์อ่านแล้วบอกได้ว่าโจทย์ถามอะไรและบอก
เวลาราว ๑ นาทีในการทำ�ข้อสอบ ๑ ข้อ หากเนือ้ หาโจทย์ ได้ว่าควรตอบอะไรโดยไม่ต้องอ่านตัวเลือกจัดว่าข้อสอบ
ข้อใดมีความยาวมาก ผู้สอบจำ�นวนไม่น้อยจะเลือกที่จะ ข้อดังกล่าวมีโจทย์ที่มีความชัดเจน
ข้ามข้อสอบข้อนัน้ ไปก่อนด้วยเกรงว่าจะเสียเวลาอ่านและ ๓.๒ เรียบเรียงเนื้อหาให้ใจความสำ�คัญของ
คิดแก้ปัญหาในข้อนั้นนานเกินไปทำ�ให้ทำ�ข้อสอบไม่ทัน ข้อสอบอยู่ในโจทย์
ดังนั้นหากอาจารย์ต้องการให้ข้อสอบที่อาจารย์เขียนขึ้น เนือ่ งจากข้อสอบปรนัยมีตวั เลือกทีอ่ าจารย์ตอ้ ง
มานั้นได้ถูกใช้จริง และผู้เข้าสอบได้คิดแก้ปัญหาจริงใน สร้างขึ้นหลายตัวเลือก บางครั้งอาจารย์ผู้พัฒนาข้อสอบ
การสอบ ไม่ถูกอ่านข้ามไป อาจารย์ควรเขียนข้อสอบให้ อาจเผลอเรอนำ�เอาใจความสำ�คัญไปใส่ไว้ในตัวเลือก
กระชับ ไม่นำ�เสนอข้อมูลที่ไม่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหา ซึ่งทำ�ให้เนื้อหาในโจทย์ขาดสาระสำ�คัญ อ่านโจทย์แล้ว
๒.๓ จัดให้มกี ารตรวจสอบเนือ้ หา คำ�ศัพท์ และ ไม่เข้าใจว่าผู้ออกข้อสอบต้องการถามความรู้เรื่องอะไร
รูปประโยคที่ใช้ในข้อสอบแต่ละข้อก่อนนำ�ไปใช้ ตัวอย่างข้อสอบที่ไม่เป็นไปตามข้อแนะนำ�นี้คือข้อสอบที่
ถึงแม้วา่ อาจารย์ผเู้ ขียนข้อสอบจะได้มกี ารอ่าน ถามว่า ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง หรือข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ทวนสิ่งที่ตนเองเขียนแล้วเข้าใจเนื้อหาได้ดีและคิดว่า แล้วเขียนรายละเอียดเกี่ยวกับโรค หรือการรักษาบาง
ข้อสอบอยู่ในรูปแบบที่สามารถนำ�ไปใช้ได้แล้ว ก็ไม่ควร อย่างในตัวเลือกแต่ละข้อ ข้อสอบในลักษณะนี้มักทำ�ให้
๓๒
มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๕, ปีที่ ๕, ฉบับที่ ๑
เวชบันทึกศิริราช บทความทั่วไป

ผูส้ อบต้องอ่านข้อสอบย้อนไปมาหลายรอบกว่าจะเข้าใจ เลือกด้วยกังวลว่าจะทำ�ให้มโี อกาสสูงทีผ่ สู้ อบทีไ่ ม่มคี วาม


จุดประสงค์ของข้อสอบ แล้วจึงตัดสินใจเลือกคำ�ตอบ รู้จะเดาสุ่มได้คำ�ตอบที่ถูกต้อง แต่จากข้อมูลที่ปรากฎใน
โดยทั่วไปแนะนำ�ให้อาจารย์นำ�เสนอรายละเอียดต่าง ๆ ปัจจุบนั พบว่าผูส้ อบในการสอบในระดับสูงนัน้ พฤติกรรม
ไว้ในตัวโจทย์ให้มากที่สุด ส่วนตัวเลือกเขียนเป็นคำ�หรือ การเดาสุม่ โดยทีผ่ สู้ อบปราศจากความรูน้ นั้ น่าจะมีบทบาท
ข้อความสั้น ๆ น้อยมาก ผูส้ อบส่วนใหญ่มกั พอมีความรูบ้ า้ งและสามารถ
๓.๓ หลีกเลีย่ งการเขียนโจทย์ทมี่ รี ปู ประโยคเป็น ตัดตัวเลือกที่ไม่สมเหตุสมผลอย่างชัดเจนได้๑ ในการ
เชิงปฏิเสธ ศึกษาข้อสอบปรนัยส่วนใหญ่พบตัวเลือกที่ไม่ทำ�งาน
โจทย์ที่ดีไม่ควรอยู่ในประโยคเชิงปฏิเสธ เช่น เป็นจำ�นวนไม่นอ้ ย๑๘ ข้อมูลทีไ่ ด้จากการวิเคราะห์ขอ้ สอบ
ถามถึงสิง่ ทีเ่ ป็นข้อยกเว้น สิง่ ทีไ่ ม่ควรปฏิบตั ิ สิง่ ทีพ่ บน้อย ปรนัยทีใ่ ช้ในทางแพทยศาสตรศึกษาในประเทศไทยหลาย
ที่สุด หรือสิ่งที่ไม่น่านึกถึงเป็นต้น งานวิจัยส่วนใหญ่พบ ครัง้ ก็สอดคล้องกับงานวิจยั ในต่างประเทศทีพ่ บว่าข้อสอบ
ว่าข้อสอบทีม่ โี จทย์ในรูปแบบปฏิเสธเหล่านีม้ รี ะดับความ ส่วนใหญ่มกั มีตวั เลือกทีท่ �ำ งานจริงราวสามหรือสีต่ วั เลือก
ยากง่ายไม่ตา่ งจากข้อสอบอืน่ ๆ แต่งานวิจยั บางชิน้ พบว่า มีขอ้ สอบน้อยข้อมากทีต่ วั เลือกทัง้ ห้าตัวเลือกทำ�งานอย่าง
ข้อสอบที่มีโจทย์ในรูปแบบปฏิเสธมีความยากมากกว่า มีประสิทธิภาพ
ข้อสอบอื่นชัดเจนโดยเฉพาะในข้อสอบวัดความรู้ระดับ ด้วยข้อมูลจากการศึกษาต่าง ๆ ข้อแนะนำ�ในการ
สูง แต่ผเู้ ชีย่ วชาญในการประเมินผลส่วนใหญ่มคี วาม ออกข้อสอบปรนัยในปัจจุบันคือให้อาจารย์เขียนจำ�นวน
๑๐-๑๒

เห็นพ้องกันว่าข้อสอบประเภทนีส้ ามารถสร้างความสับสน ตัวเลือกมากที่สุดที่มีความเหมาะสมกับเนื้อหาโจทย์ ไม่


ให้กับผู้สอบได้ จึงไม่แนะนำ�ให้ใช้ แต่หากอาจารย์ผู้ออก จำ�เป็นต้องเขียนตัวเลือก ๕ ตัวเลือกเสมอไป เนื่องจาก
ข้อสอบมีความจำ�เป็นต้องใช้ข้อสอบที่มีการใช้คำ�ปฏิเสธ ตัวเลือกที่ห้าที่เขียนขึ้นเพื่อเติมเต็มโดยไม่สมเหตุสมผล
ในโจทย์ แนะนำ�ให้พมิ พ์ค�ำ ปฏิเสธให้เด่นชัด โดยใช้ตวั หนา นัน้ มักไม่คอ่ ยมีคนเลือก หากเนือ้ หาทีอ่ าจารย์น�ำ มาสอบ
และขีดเส้นใต้เพื่อให้ผู้สอบเห็นชัด๑๐ มี ตัว เลื อกที่ เ หมาะสมเพี ยงสามหรื อสี่ ตัว เลื อกก็ เ ขี ยน
๔. การเขียนตัวเลือก จำ�นวนตัวเลือกเพียงสามหรือสี่ตัวเลือก๑๐ แต่อย่างไร
๔.๑ เขียนตัวเลือกทีม่ ปี ระสิทธิภาพให้มจี �ำ นวน ก็ตามให้อาจารย์ศึกษาข้อกำ�หนดของแต่ละการสอบที่
มากที่สุดเท่าที่เหมาะสมกับบริบท อาจารย์เกี่ยวข้องด้วย เนื่องจากนโยบายของแต่ละการ
เรื่องจำ�นวนตัวเลือกที่เหมาะสมนี้เป็นเรื่องที่ สอบแตกต่างกันไป องค์กรที่จัดสอบทางแพทยศาสตร
ผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินผลจำ�นวนมากสนใจ มีงาน ศึกษาจำ�นวนไม่น้อยยังคงตั้งข้อกำ�หนดให้ใช้ข้อสอบ
วิจัยเกี่ยวกับเรื่องจำ�นวนตัวเลือกที่เหมาะสมในข้อสอบ ๕ ตัวเลือกเสมอ ซึ่งหากอาจารย์ไม่ทำ�ตามข้อกำ�หนด
ปรนัยอยู่มากมาย๙ อาจารย์ผู้ออกข้อสอบส่วนมากจะ ดังกล่าวข้อสอบที่ออกไปอาจไม่ได้รับการพิจารณาได้
คุ้นเคยกับข้อสอบปรนัยชนิดที่มีห้าตัวเลือก บ่อยครั้งที่ ๔.๒ จั ด ให้ ตั ว เลื อ กที่ ถู ก ต้ อ งมี ก ารกระจาย
อาจารย์ออกข้อสอบแล้วนึกตัวเลือกได้เพียงสามหรือ ตำ�แหน่งไปให้มีจำ�นวนพอ ๆ กันในทุกตัวเลือก
สีต่ วั จึงเกิดคำ�ถามว่าจำ�เป็นต้องมีตวั เลือกครบห้าตัวเลือก ข้ อ แนะนำ � นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้
หรือไม่ งานวิจัยบางชิ้นพบว่าการลดจำ�นวนตัวเลือกลง ผู้ ส อบที่ ต อบแบบเดาสุ่ ม แบบเลื อ กตั ว เลื อ กเดี ย วกั น
ทำ�ให้ขอ้ สอบง่ายขึน้ ๑๓-๑๔ แต่งานวิจยั บางชิน้ พบว่าการลด ทั้งหมดสอบผ่านได้ด้วยความบังเอิญ หากอาจารย์สร้าง
จำ�นวนตัวเลือกลงทำ�ให้ได้ขอ้ สอบยากขึน้ ๑๕-๑๖ ผูเ้ ชีย่ วชาญ ข้อสอบที่มีสี่ตัวเลือก เป็น ก ข ค ง อาจารย์ก็ต้องกระจาย
ในการประเมิ น ผลเสนอว่ า ข้ อ สอบปรนั ย ที่ มี ตั ว เลื อ ก ให้ตวั เลือกทีถ่ กู มีทงั้ ข้อ ก ข ค และ ง ในสัดส่วนทีใ่ กล้เคียง
เพียงสามตัวเลือกก็สามารถทดสอบความรู้ได้อย่างมี กัน
ประสิทธิภาพ๑, ๙-๑๐, ๑๗ แต่มีอาจารย์จำ�นวนไม่น้อยที่ไม่ ๔.๓ เขียนตัวเลือกแต่ละข้อให้เป็นอิสระ ไม่ขึ้น
สบายใจที่มีตัวเลือกในข้อสอบแต่ละข้อน้อยกว่าห้าตัว ต่อกัน
๓๓
มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๕, ปีที่ ๕, ฉบับที่ ๑
เวชบันทึกศิริราช บทความทั่วไป

ในการเขี ย นตั ว เลื อ กของข้ อ สอบแต่ ล ะข้ อ จากการสังเกตข้อสอบปรนัยจำ�นวนมากจะพบ


อาจารย์ต้องระมัดระวังให้ตัวเลือกแต่ละตัวเลือกไม่มี ว่าตัวเลือกทีถ่ กู ต้องมักมีความยาวมากกว่าตัวเลือกอืน่ ซึง่
ความซํ้าซ้อนกัน เช่นตัวเลือก ก เป็นยากลุ่มย่อยของ ข้อสังเกตนีผ้ สู้ อบจำ�นวนไม่นอ้ ยก็ทราบดี และผูส้ อบส่วน
ตัวเลือก ข ตัวเลือก ก เป็นช่วงอายุ ๒ – ๑๐ ปี ตัวเลือก มากเมื่อไม่ทราบคำ�ตอบก็มักเลือกตัวเลือกที่มีความยาว
ข เป็นช่วงอายุ ๕ – ๑๑ ปี เป็นต้น การเขียนตัวเลือกที่ มากที่สุด ดังนั้นอาจารย์ผู้ออกข้อสอบควรระมัดระวังไม่
ซํ้าซ้อนกันนี้ หากเกี่ยวเนื่องกับตัวเลือกที่ถูกต้องอาจมี ให้ตัวเลือกตัวใดตัวหนึ่งมีความยาวแตกต่างไปจากตัว
ผูส้ อบแย้งว่ามีตวั เลือกทีถ่ กู ต้องมากกว่าหนึง่ ตัวเลือก หาก เลือกอื่นชัดเจน เพราะจะทำ�ให้ผู้สอบเดาคำ�ตอบที่ถูกได้
ตัวเลือกที่ซํ้าซ้อนกันนี้ไม่เกี่ยวกับคำ�ตอบที่ถูก ก็จะทำ�ให้ ง่าย
ผู้สอบบางส่วนสามารถตัดตัวเลือกบางตัวเลือกได้โดย ๔.๖ หลีกเลี่ยงการใช้ตัวเลือก “ถูกทุกข้อ” หรือ
ไม่ต้องมีความรู้ทางการแพทย์ในเรื่องดังกล่าวได้ “ไม่มีข้อใดถูก”
๔.๔ เขียนตัวเลือกให้ทกุ ตัวเลือกมีความเป็นเนือ้ ตัวเลือก “ถูกทุกข้อ” เป็นตัวเลือกที่ผู้เชี่ยวชาญ
เดียวกัน (homogeneous) ในการประเมินผลส่วนใหญ่เห็นสอดคล้องกันว่าไม่ควร
การเขียนตัวเลือกให้มีความเป็นเนื้อเดียวกัน ใช้ เ นื่ อ งจากมั ก ช่ ว ยใบ้ ตั ว เลื อ กที่ ถู ก ต้ อ งให้ กั บ ผู้ ส อบ
นั้นหมายถึง ตัวเลือกแต่ละตัวมีรูปร่างหน้าตาและราย ทำ�ให้ผู้สอบส่วนหนึ่งตอบถูกโดยไม่ต้องอาศัยองค์ความ
ละเอียดไปในทิศทางหรือเรื่องราวเดียวกัน หรือเป็นของ รู้ที่สมบูรณ์ในเรื่องที่ทดสอบ งานวิจัยพบว่าข้อสอบที่มี
กลุ่มเดียวกัน การเป็นเนื้อเดียวกันนี้ครอบคลุมตั้งแต่รูป ตัวเลือกชนิดนี้จะมีผลให้ค่าความเที่ยงของคะแนนสอบ
ร่างหน้าตา (ตัวเลือกทุกตัวเป็นภาษาแบบเดียวกัน หาก ลดลง๑๐ จึงแนะนำ�ให้หลีกเลี่ยงการใช้
ตัวเลือกตัวหนึ่งเป็นคำ� ตัวเลือกอื่น ๆ ก็ควรเป็นคำ� ไม่ใช่ ตัวเลือก “ไม่มขี อ้ ใดถูก” เป็นประเด็นทีผ่ เู้ ชีย่ วชาญ
วลี หรือประโยค, ตัวเลือกหนึ่งเป็นคำ�นาม ตัวเลือกอื่นก็ ในการประเมินผลยังคงถกเถียงกันอยูบ่ า้ ง ผูเ้ ชีย่ วชาญบาง
เป็นคำ�นามเหมือนกัน ไม่ใช่กิริยา หรือคำ�คุณศัพท์) และ ส่วนเห็นว่าไม่ควรใช้ตวั เลือกประเภทนี้ แต่ผเู้ ชีย่ วชาญบาง
เนื้อหา (โจทย์ถามการรักษา ตัวเลือกทุกตัวก็เป็นการ ส่วนให้ความเห็นว่าสามารถใช้ได้ในบางกรณี๑๐ เหตุผล
รักษา ไม่ใช่บางตัวเป็นการตรวจค้นเพิม่ เติม, ตัวเลือกหนึง่ ที่ตัวเลือกชนิดนี้เป็นปัญหาคือการใช้ตัวเลือกนี้มักสร้าง
เป็นยาปฏิชีวนะ ตัวเลือกอื่น ๆ ก็น่าจะเป็นยาปฏิชีวนะ ความลำ�บากใจให้กับผู้สอบในการเลือกคำ�ตอบที่ถูกใน
เช่นกันไม่ใช่ยาเคมีบำ�บัด หรือยาต้านเชื้อรา) การที่มีตัว กรณีที่ตัวเลือกแต่ละตัวเลือกไม่ถูกหรือผิดชัดเจน เพราะ
เลือกทีไ่ ม่เข้าพวก ไม่มคี วามเป็นเนือ้ เดียวกันกับตัวเลือก ผู้สอบจะต้องทำ�การเปรียบเทียบตัวเลือกที่นำ�เสนอใน
อื่นเป็นคำ�บอกใบ้ในการตัดตัวเลือกที่ผู้สอบนิยมใช้มาก ข้อสอบกับทางเลือกอื่น ๆ ที่เขานึกได้๘ หากโจทย์ถามว่า
ดังนั้นอาจารย์ผู้ออกข้อสอบควรหลีกเลี่ยง ยาใดทีค่ วรให้แก่ผปู้ ว่ ย แล้วมีชอื่ ยาสีช่ นิด และมีตวั เลือก
ในบางบริ บ ทของการดู แ ลรั ก ษาผู้ ป่ ว ย สิ่ ง ที่ “ไม่มขี อ้ ใดถูก” นอกจากทีผ่ สู้ อบต้องนึกว่าในบรรดายา ที่
แพทย์ต้องตัดสินใจเลือกอาจมีทั้งการเลือกที่จะให้การ ปรากฎในตัวเลือกนัน้ เหมาะสมหรือไม่แล้วเขายังนึกต่อไป
รั ก ษาเลยหรื อ จะส่ ง ตรวจค้ น เพิ่ ม เติ ม ก่ อ น ในกรณี นี้ อีกว่ามียาอืน่ ใดทีส่ ามารถให้ในผูป้ ว่ ยรายนีไ้ ด้อกี หากเขา
อาจารย์สามารถเขียนตัวเลือกทีม่ กี ารรักษาและการตรวจ นึกออกว่ามียาอื่นที่น่าจะเหมาะสมกับผู้ป่วยมากกว่ายา
เพิ่มเติมปะปนกันได้ แต่การเขียนรูปประโยคคำ�ถามต้อง ในตัวเลือก (ด้วยเหตุผลที่อาจแตกต่างไปจากที่อาจารย์
ไม่เป็นการบอกใบ้ว่าจะไปทิศทางใด แต่ต้องเลือกใช้ ผู้ออกข้อสอบคิด) เขาก็จะเลือก “ไม่มีข้อใดถูก”
คำ�ถามที่เป็นกลาง เช่น ท่านจะปฏิบัติต่อผู้ป่วยอย่างไร, การใช้ตวั เลือก “ไม่มขี อ้ ใดถูก” จะยิง่ เป็นปัญหา
ท่านจะดำ�เนินการอย่างไรต่อไป เป็นต้น มากขึน้ ในข้อสอบทีถ่ ามถึงสิง่ ทีไ่ ม่ควรทำ� เช่นยาใดไม่ควร
๔.๕ เขียนตัวเลือกแต่ละข้อให้มคี วามยาวพอ ๆ ใช้ในผูป้ ว่ ย ซึง่ นอกจากยาทีน่ �ำ เสนอในตัวเลือกแล้วย่อม
กัน มียาชนิดอืน่ อีกมากมายในบัญชียาทีไ่ ม่เหมาะสม ซึง่ ไม่มี
๓๔
มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๕, ปีที่ ๕, ฉบับที่ ๑
เวชบันทึกศิริราช บทความทั่วไป

ทางทีใ่ ครจะรูไ้ ด้วา่ การทีผ่ สู้ อบเลือกตอบ “ไม่มขี อ้ ใดถูก” หาใช่สตู รคณิตศาตร์ทไี่ ม่มขี อ้ ยกเว้น ผูน้ พิ นธ์ไม่คาดหวัง
นั้นเขาคิดถึงยาใด และยานั้นไม่เหมาะสมมากไปกว่า ให้อาจารย์ผพู้ ฒ ั นาข้อสอบยึดข้อแนะนำ�เหล่านีเ้ สมือน
ยาที่มีอยู่ในตัวเลือกหรือไม่ งานวิจัยทั้งหมดที่ศึกษาถึง กฎเกณฑ์ตายตัวทีต่ อ้ งทำ�ตามในทุกกรณี หากแต่ตอ้ งการ
ตัวเลือกชนิดนี้ได้ข้อสรุปที่ตรงกันว่าข้อสอบที่ใช้ตัวเลือก ให้อาจารย์ใช้เป็นแนวทางในการสร้างข้อสอบ ในบาง
ประเภทนีเ้ พิม่ ระดับความยากให้ขอ้ สอบ๑๖ โดยทัว่ ไปแล้ว บริบทผูอ้ อกข้อสอบอาจเลือกทีจ่ ะไม่ปฏิบตั ติ ามข้อแนะนำ�
จึงไม่แนะนำ�ให้ใช้ตวั เลือกประเภทนีใ้ นการสอบทางแพทย บางประการได้บ้าง แต่การที่จะไม่ปฏิบัติตามข้อแนะนำ�
ศาสตรศึกษาซึง่ ทางเลือกสำ�หรับสถานการณ์ทนี่ �ำ เสนอมี เหล่านีน้ นั้ ต้องมีเหตุผลทีเ่ หมาะสม และควรทำ�ไม่บอ่ ยนัก
ได้มากและการตัดสินใจเลือกคำ�ตอบต้องอาศัยการเปรียบ ยกตัวอย่างเช่นข้อแนะนำ�ว่า โจทย์ไม่ควรเขียนถามข้อ
เทียบข้อดีข้อเสียของแต่ละตัวเลือก ยกเว้น จะพบได้ว่ามีบางบริบทที่การรู้ข้อยกเว้น หรือข้อ
ห้ามปฏิบัติก็เป็นองค์ความรู้ที่สำ�คัญในการดูแลรักษา
สรุป ผู้ป่วย ดังนั้นในบริบทที่เหมาะสมผู้นิพนธ์เองก็เห็นด้วย
ว่าอาจเขียนโจทย์ที่ถามข้อยกเว้นได้ แต่อย่างไรก็ตาม
ในบทความนี้ผู้นิพนธ์ได้กล่าวถึงข้อแนะนำ�ขั้น การจะไม่ปฏิบัติตามข้อแนะนำ�นี้ต้องไม่ทำ�บ่อยจนเกิน
พื้นฐานในการพัฒนาข้อสอบปรนัยชนิดเลือกคำ�ตอบที่ จำ�เป็น หากออกข้อสอบ ๑๐๐ ข้อ จะมีข้อสอบที่ถามข้อ
ถูกที่สุดโดยสรุปข้อแนะนำ�เหล่านี้ออกเป็นสี่กลุ่มด้วยกัน ยกเว้น ปะปนมาบ้าง ๒-๓ ข้อ ย่อมเป็นสิง่ ทีพ่ อยอมรับได้
ได้แก่ (๑) เนือ้ หาข้อสอบ, (๒) การจัดรูปแบบข้อสอบ, (๓) แต่หากในชุดข้อสอบมีขอ้ สอบถึงร้อยละ ๒๐ – ๓๐ ทีโ่ จทย์
การเขียนโจทย์, และ (๔) การเขียนตัวเลือก ผู้นิพนธ์หวัง เขียนในรูปประโยคปฏิเสธ ถามสิง่ ทีไ่ ม่ควรปฏิบตั ิ หรือสิง่ ที่
ว่าข้อแนะนำ�เหล่านี้คงพอเป็นแนวทางสำ�หรับอาจารย์ ไม่ถกู ต้อง อย่างนีย้ อ่ มจัดว่าละเลยแนวทางในการพัฒนา
แพทย์ในการพัฒนาข้อสอบปรนัยที่มีคุณภาพเพื่อใช้ใน ข้อสอบอย่างไม่เหมาะสม ซึ่งย่อมส่งผลให้คุณภาพของ
การประเมินนักศึกษาแพทย์และแพทย์ประจำ�บ้านได้ ข้อสอบด้อยลงอย่างชัดเจน
บ้าง อย่างไรก็ตามบทความนีเ้ ป็นการกล่าวถึงข้อแนะนำ�
เบือ้ งต้นเท่านัน้ ยังมีขอ้ แนะนำ�อืน่ ๆ ทีผ่ นู้ พิ นธ์ไม่ได้น�ำ มา
รวบรวมไว้ในบทความนี้เพื่อต้องการทำ�ให้เนื้อหากระชับ
โดยข้อแนะนำ�อื่น ๆ ที่ผู้นิพนธ์ไม่ได้กล่าวถึงนี้พบว่าเป็น
ปัญหาน้อยในการออกข้อสอบทางการแพทย์ หรือเป็น
ข้อแนะนำ�ที่ไม่ได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างขวางจาก เอกสารอ้างอิง
ผู้เชี่ยวชาญทางการวัดและประเมินผล หากผู้อ่านสนใจ 1. Downing SM. Assessment of knowledge with written test forms. In:
Norman GR, van der Vleuten C, Newble DI, editors. International
รายละเอียดของข้อแนะนำ�อื่น ๆ ที่มีผู้กล่าวไว้สามารถ handbook of research in medial education. Dordrecht: Kluwer Aca-
ศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม ได้ จ ากเอกสารอ้ า งอิ ง ที่ แ สดงไว้ ท้ า ย 2. demic Pubishers, 2002:647 - 72.
Haladyna TM, Downing SM. A taxonomy of multiple-choice item-
บทความ writing rules. Appl Meas Educ 1989;2:37-50.
3. Haladyna TM. Developing and validating multiple-choice test items,
มีข้อควรพิจารณาในการประยุกต์ใช้ข้อแนะนำ� 3rd ed. Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum Assoicates, 2004.
4. Maatsch JL, Huang RR, Downing SM, Munger BS. The predictive
เหล่านีใ้ นการพัฒนาข้อสอบทีผ่ นู้ พิ นธ์ขอกล่าวถึงประการ validity of test formats and a psychometric theory of clinical com-
หนึ่งคือ แม้ว่าข้อแนะนำ �ที่กล่าวถึงเหล่านี้หลายข้อมี Washington, petence. The 23rd Conference on Research in Medical Education.
DC: Association of American Medical Colleges, 1984.
การศึ ก ษาวิ จั ย สนั บ สนุ น ที่ ชั ด เจน แต่ สิ่ ง เหล่ า นี้ ก็ เ ป็ น 5. Jozefowicz RF, Koeppen BM, Case S, Galbraith R, Swanson D, Glew
RH. The quality of in-house medical school examinations. Acad Med
เพี ย งข้ อ แนะนำ � ว่ า ผู้ อ อกข้ อ สอบควรปฏิ บั ติ ไม่ ใ ช่ ก ฎ 2002;77(2):156-61.
เกณฑ์ตายตัว การเขียนข้อสอบปรนัยนั้นเป็นงานที่ต้อง 6. Tarrant M, Ware J. Impact of item-writing flaws in multiple-choice
questions on student achievement in high-stakes nursing assessments.
อาศัยทั้งศาสตร์และศิลปะผสมผสานกันอย่างเหมาะสม Med Educ 2008;42:198-206.
๓๕
มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๕, ปีที่ ๕, ฉบับที่ ๑
เวชบันทึกศิริราช บทความทั่วไป

7. Downing SM. The effects of violating standard item writing principles 12. Tamir P. Positive and negative multiple choice items: How different
on tests and students: The consequences of using flawed test items are they? Stud Educ Eval 1993;19:311-25.
on achievement examinations in medical education. Adv Health Sci 13. Rogers WT, Harley D. An empirical comparison of three- and four-
Educ Theory Pract 2005;10:133-43. choice items and tests: Susceptibility to testwiseness and internal
8. Case SM, Swanson D. Constructing written test questions for the basic consistency reliability. Educ Psychol Meas 1999;59:234-47.
and clinical sciences, 3rd ed. Philadelphia, PA: National Board of 14. Sidick JT, Barrett GV, Doverspike D. Three-alternative multiple
Medical Examiners, 2002. choices tests: An attractive option. Pers Psychol 1994;47:829-35.
9. Haladyna TM, Downing SM. Validity of a taxonomy of multiple- 15. Cizek GJ, Rachor RE. Nonfunctioning options: A closer look. The
choice item-writing rules. Appl Meas Educ 1989;2(1):51-78. annual meeting of the American Educational Research Association.
10. Haladyna TM, Downing SM, Rodriguez MC. A review of multiple- San Francisco, CA, 1995.
choice item-writing guidelines for classroom assessment. Appl Meas 16. Crehan KD, Haladyna TM, Brewer BW. Use of an inclusive option
Educ 2002;15:309-34. and the optimal number of options for multiple-choice items. Educ
11. Downing SM, Dawson-Saunders B, Case SM, Powell RD. The psy- Psychol Meas 1993;53:241-7.
chometric effects of negative stems, unfocused questions, and hetero- 17. Lord FM. Optimal number of choices per item. J Educ Meas 1977;
geneous options on NBME Part I and Part II item characteristics. the 14:33-8.
annual meeting of the National Council on Measurement in Education. 18. Haladyna TM, Downing SM. How many options is enough for a
Chicago, IL, 1991. multiple-choice item? Educ Psychol Meas 1993;53:999-1010.

๓๖
มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๕, ปีที่ ๕, ฉบับที่ ๑

You might also like