You are on page 1of 12

การเลือกกลุ่มเป้ าหมาย/ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักในการวิจยั เชิงคุณภาพ 20/05/57

•การออกแบบเลือกกลุ่มเป้ าหมาย /ผู้ให้


ข้ อมูลหลัก ในการวิจัยเชิงคุณภาพ a

รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม
ประธานหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรดุษฎี บัณฑิต
คณะสาธารณสุ ขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

http://www.traffic-acnet.com/ERRP/
koolarbr@yahoo.com;
20/05/57 รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม 42

•การออกแบบเลือกกลุ่มเป้ าหมาย /ผู้ให้


ข้ อมูลหลัก ในการวิจัยเชิงคุณภาพ a

 1. การเลือกพืน้ ที่ศึกษา/
เหตุการณ์ /กระบวนการ
 2. การเลือกกลุ่มกลุ่มเป้ าหมาย /
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก
20/05/57 รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม 43

•เกณฑ์ การเลือกพืน้ ที่ศึกษา/เหตุการณ์ /


กระบวนการa
 สอดคล้องกับชื่อเรือ่ งวิจยั
 ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูล
 เกณฑ์เกี่ยวกับข้อมูลว่าพื้นที่ที่
นักวิจยั กําลังพิจารณาอยูน่ นั้ น่าจะให้
ข้อมูลที่ตอ้ งการได้ครอบคล ุมและ
เพียงพอหรือไม่
20/05/57 รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม 44

รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม บรรยายสํานักงานคณะกรรมการวิจยั


แห่งชาติ 1
การเลือกกลุ่มเป้ าหมาย/ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักในการวิจยั เชิงคุณภาพ 20/05/57

ตัวอย่ างการเลือกพืน้ ทีท่ ศี่ ึกษา


พืน้ ทีท่ เี่ ก็บข้ อมูลวิจัย
สถานภาพและกลยุทธ์
เป็ นหมู่บา้ นที่มีชุมชน
การส่ งเสริมและ
สนับสนุนภูมิปัญญา
เข้มแข็งที่พ่ งึ ตนเองได้ทาง
ท้ องถิน่ ที่เกีย่ วกับการ เศรษฐกิจที่พบในภาค
พึง่ ตนเองทาง ตะวันออก ๖ จังหวัด ที่มีภมู ิ
เศรษฐกิจในชุมชน ปัญญาท้องถิ่นอย่างน้อย ๑
ภาคตะวันออก ภูมิปัญญา
5/20/2014 45

•ขอบเขตการได้ มาของพืน้ ที่วจิ ัย


กําหนดกรอบของชุมชนที่จะศึกษา โดยต้ องเป็ นชุมชนที่มี
ความเข้ มแข็งพึ่งตนเองได้ ทางเศรษฐกิจจากข้ อมูลทุตยิ ภูมิ
คือ
มีการรวมตัวกันของช ุมชน มีกลมุ่ อาชีพที่เข้มแข็ง
มีการจัดลานค้าช ุมชนหรือตลาดนัดช ุมชน
มีกองท ุนของช ุมชนและกลมุ่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิต
บ ุคคลวัยแรงงานมีอาชีพ ร้อยละ 90
ช ุมชนบรรล ุเป้าหมายด้านรายได้ตามเกณฑ์ จปฐ.70%
20/05/57 รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม 46

ตัวอย่ างการเลือกพืน้ ทีท่ ศี่ ึกษา


พืน้ ทีท่ เี่ ก็บข้ อมูลวิจัย
เป็น หมู่บา้ นที่มีช ุมชนเข้มแข็งที่พึ่งตนเองได้
ทางเศรษฐกิจที่พบในภาคตะวันออก ๖
จังหวัด ที่มีภ ูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างน้อย ๑
ภ ูมิปัญญารวม ๑๓ ช ุมชน จากช ุมชน
เข้มแข็งในภาคตะวันออกที่ศึกษา จํานวน
๕๕ หมู่บา้ น

5/20/2014 47

รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม บรรยายสํานักงานคณะกรรมการวิจยั


แห่งชาติ 2
การเลือกกลุ่มเป้ าหมาย/ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักในการวิจยั เชิงคุณภาพ 20/05/57

วิธีการเลือกกลุ่มเป้ าหมายในการวิจัย

สําหรับวิจัยเชิงปริมาณ

5/20/2014 48

วิธีการออกแบบเลือกกลุ่มเป้ าหมาย /
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก
1.สุ ดขั้ว (สํ าเร็จ - ล้ มเหลว) (ผิดปกติ - อัจฉริยะ)
(Extreme or Deviant case )
2.มีประสบการณ์ มากในเรื่องนั้นๆ (Intensity)
3. กลุ่มคนหรือสถานการณ์ ที่มีความหลากหลาย
(Heterogeneous)
4. คนหรือสภาพการณ์ ที่มีลกั ษณะเหมือนกัน
(Homogeneous)
5/20/2014 49

วิธีการออกแบบเลือกกลุ่มเป้ าหมาย /
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก (ต่ อ)
5.แสดงลักษณะสํ าคัญของประชากรทั้งหมด เป็ นตัวแทนในทุกๆ
เรื่อง (Typical case)
6. เลือกอย่ างมีเกณฑ์ เพือ่ เป็ นเกณฑ์ สําหรับตัดสิ นกลุ่มอืน่ ๆ ถ้ า
เป็ นกับกลุ่มนีก้ จ็ ะเป็ นกับกลุ่มนั้น (Criterion)
7.เลือกจากการแนะนําต่ อๆกันไปหรือกล่ าวอ้ างถึง หรือแบบสายใย
เชื่อมโยง (Snowball or chain)
8.ที่ไม่ เข้ าเกณฑ์ กาํ หนด (สู ง - ตํ่ากว่ าเกณฑ์ ) (Maximum
Variation)
5/20/2014 50

รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม บรรยายสํานักงานคณะกรรมการวิจยั


แห่งชาติ 3
การเลือกกลุ่มเป้ าหมาย/ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักในการวิจยั เชิงคุณภาพ 20/05/57

วิธีการออกแบบเลือกกลุ่มเป้ าหมาย /
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก (ต่ อ)
9. สนับสนุน / ขัดแย้ ง กับข้ อค้ นพบในการศึกษา ระหว่ าง
ศึกษามีข้อค้ นพบบางอย่ างจึงตรวจสอบจากกลุ่มที่สนับสนุน
/ ขัดแย้ ง (Confirming or Disconfirming)
10. มีความสํ าคัญทางการเมืองของสถานที่ (Politically
Important cases)
11. เพือ่ พิสูจน์ ทฤษฎี หากลุ่มที่เหมาะกับการพิสูจน์ ทฤษฎี
(Theory-Based)
5/20/2014 51

วิธีการออกแบบเลือกกลุ่มเป้ าหมาย /
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก (ต่ อ)
12. เลือกมาจากประชากรที่แบ่ งเป็ นช่ วงชั้น (Stratified
Purposeful)
13. เลือกมาอย่ างเจาะจงเป็ นกลุ่มที่น่าสนใจ (Critical
case)
14. เลือกแบบเฉพาะหน้ า ขณะอยู่ในเหตุการณ์
(Opportunistic)
15. เลือกตามความสะดวก (Convenient)
5/20/2014 52

การเลือกตัวอย่ างในการวิจัยคุณภาพ
มีความหมายอย่ างไรในเรื่องข้ อมูล?
ข้ อมูลนั้นจะให้ อะไรบ้ างในการทําความเข้ าใจประเด็นที่ศึกษา?
ทําไมตัวอย่ างนั้น (ชุ มชน เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ ฯลฯ) จึงควรเลือก
หรือไม่ ควรเลือกสาหรับการศึกษาของตน
ตัวอย่ างนั้นมีความเหมาะสมกับจุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ คําถามใน
การวิจัยและกรอบแนวคิดในการวิจัยมากน้ อยเพียงใด
มีตัวอย่ างอืน่ ที่เหมาะสมกว่ านีห้ รือไม่
เมื่อตอบคําถามเหล่ านีไ้ ด้ เป็ นที่พอใจแล้ ว จึงนําประเด็นที่เกีย่ วข้ องอืน่
มาพิจารณา (ชาย โพธิสิตา. 2554)
รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสั จธรรม ม.บูรพา 53 5/20/2014

รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม บรรยายสํานักงานคณะกรรมการวิจยั


แห่งชาติ 4
การเลือกกลุ่มเป้ าหมาย/ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักในการวิจยั เชิงคุณภาพ 20/05/57

เกณฑ์ การเลือกตัวอย่ างในการวิจัยเชิงคุณภาพ


ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูล
เกณฑ์ที่ใช้กาํ หนดคุณสมบัตวิ า่ อะไรที่เข้าข่ายและ
อะไรที่ไม่เข้าข่าย สําหรับการศึกษาที่วางแผน
เอาไว้
เกณฑ์เกี่ยวกับข้อมูลว่าตัวอย่างที่นกั วิจยั กําลัง
พิจารณาอยูน่ นั้ น่าจะให้ขอ้ มูลที่ตอ้ งการได้
เพียงพอหรือไม่ (ชาย โพธิสิตา. 2554)
รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสั จธรรม ม.บูรพา 54 5/20/2014

เกณฑ์ การเลือกตัวอย่ างในการวิจัยเชิงคุณภาพ


ควรเลือกหลายรายและกระจายให้ครอบคลุมความ
หลากหลายของประชากรเป้ าหมายของการศึกษา
พอสมควร อย่างไรก็ตาม การกระจายนั้นก็ไม่ใช่มุ่ง
ให้ได้ความเป็ นตัวแทนเป็ นหลัก แต่ เพือ่ ความ
หลากหลายของตัวอย่ างมากกว่ า
รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสั จธรรม ม.บูรพา 55 5/20/2014

•ตัวอย่ างการเลือกแบบ Snowball


Snowball Technique เหมาะสําหรั บการให้ ข้อมูล
หลักเกี่ยวกับข้ อมูลที่เป็ นข้ อเท็จจริง โดยเริม่ ต้นหาผูใ้ ห้
ข้อมูลหลักรายแรกจากการสอบถามหาคนในพื้นที่ที่ร ้ ู
เกี่ยวกับเรือ่ งที่ผว้ ู ิจยั ต้องการทราบเมื่อได้ขอ้ มูลหลักราย
แรกแล้ว------- ถามหาผูท้ ี่จะสามารถให้ขอ้ มูล
เพิ่มเติมเป็นรายที่2------- และรายที่ 3 รายที่ 4
ต่อๆไปเรือ่ ยๆจนได้ขอ้ มูลครบถ้วนอิ่มตัว

20/05/57 รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม 56

รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม บรรยายสํานักงานคณะกรรมการวิจยั


แห่งชาติ 5
การเลือกกลุ่มเป้ าหมาย/ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักในการวิจยั เชิงคุณภาพ 20/05/57

•ตัวอย่ างการเลือกแบบ
Dimensional Technique
เลือกมาจากประชากรที่แบ่ งเป็ นช่ วงชัน้ (Stratified
Purposeful) เหมาะสําหรั บการให้ ข้อมูลหลักเกี่ยวกับ
ข้ อมูลที่เป็ นความคิดเห็น ทัศนคติ ความเชื่อ โดย สอบถาม
ข้ อมูลจากกลุ่มเป้าหมาย ตามตัวแปรที่พบว่ ามีความสําคัญ
เพื่อต้ องการศึกษาประเด็นปั ญหาได้ อย่ างครอบคลุม จนได้
ข้อมูลครบถ้วนอิ่มตัว

20/05/57 รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม 57

ตัวอย่ างการเลือกแบบ Dimensional Technique


การศึกษาปั ญหาโภชนาการของเด็ก ผู้วิจัยจะศึกษา
กลุ่มเป้าหมาย 8 กลุ่มดังนีค้ ือ
1. เด็กที่มาจากครอบครับทีม่ ปี ัญหาโภชนาการ ฐานะรํ่ารวย และมีลูกมาก
2. เด็กที่มาจากครอบครับทีม่ ปี ัญหาโภชนาการ ฐานะรํ่ารวย และมีลูกน้อย
3. เด็กที่มาจากครอบครับทีม่ ปี ัญหาโภชนาการ ฐานะยากจน และมีลูกมาก
4. เด็กที่มาจากครอบครับทีม่ ปี ัญหาโภชนาการฐานะยากจน และมีลูกน้อย
5. เด็กที่มาจากครอบครับทีไ่ ม่ มปี ัญหาโภชนาการ ฐานะรํ่ารวย และมีลูกมาก
6. เด็กที่มาจากครอบครับที่ไม่ มปี ัญหาโภชนาการ ฐานะรํ่ารวย และมีลูกน้อย
7. เด็กที่มาจากครอบครับที่ไม่ มปี ัญหาโภชนาการ ฐานะยากจน และมีลูกมาก
8. เด็กที่มาจากครอบครับที่ไม่ มปี ัญหาโภชนาการ ฐานะยากจน และมีลูกน้อย
20/05/57 รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม 58

ตัวอย่ างการเลือกแบบ Dimensional Technique


การศึกษาปั ญหาโภชนาการของเด็ก ผู้วิจัยจะศึกษา
กลุ่มเป้าหมาย 8 กลุ่มดังนีค้ ือ
ฐานะรํ่ารวย มีลูกมาก
มี มีลูกน้ อย
ปัญหา มีลูกมาก
ฐานะยากจน มีลูกน้ อย
ภาวะ
โภชนาการ มีลูกมาก
ฐานะรํ่ารวย
ไม่ มี มีลูกน้ อย
ปัญหา มีลูกมาก
ฐานะยากจน
มีลูกน้ อย
20/05/57 รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม 59

รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม บรรยายสํานักงานคณะกรรมการวิจยั


แห่งชาติ 6
การเลือกกลุ่มเป้ าหมาย/ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักในการวิจยั เชิงคุณภาพ 20/05/57

วิธีการเลือกตัวอย่ าง แบบเจาะจง
(Purposive Sampling)
ผู้วิจัย เจาะจงจะไปเก็บรวบรวมข้ อมูลจากกลุ่มตัวอย่างกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เพือ่ ให้
ได้ ข้อมูลตามต้ องการในการศึกษา

ในลักษณะการวิจัยถ่ ายทอดเทคโนโลยี
สามารถใช้ วธิ ีการเลือกแบบนีใ้ นลักษณะดังนีค้ อื
1. กลมุ่ ตัวอย่างที่เป็น ต้นแบบของเรือ่ งนัน ้ ๆ เช่น ดีมากที่ส ุด
หรือมีปัญหามากที่ส ุด (Extreme or Deviant case )
2. กลมุ่ ตัวอย่างที่ได้จากการกล่าวอ้างถึง( Snowball or chain)
3. กลมุ่ ตัวอย่างที่ได้จากกรอบทฤษฎี (Theory-Based)
4. เป็ นต้ น
5/20/2014 60

ขั้นตอนการออกแบบเลือกกลุ่มเป้ าหมาย /
ผู้ให้ ข้อมูลหลัก
1. ระบุพนื้ ทีท่ ศี่ ึกษา
2. ระบุกลุ่มเป้ าหมายทีต่ ้ องการเก็บข้ อมูล
3. สร้ างกรอบกลุ่มเป้ าหมาย
4. เลือกวิธีการเลือกกลุ่มเป้ าหมาย ทีเ่ หมาะสมกับ (ข้ อมูล ลักษณะ
ประชากร และงบประมาณ
5. หากลุ่มเป้ าหมาย
6. วางแผนการคัดเลือกกลุ่มเป้ าหมายให้ พอเพียงสอดคล้องกับการ
ตรวจสอบสามเส้ า (Triangulation)
7. ดําเนินการเก็บข้ อมูลคุณภาพจากแผนการเลือก จนได้ ข้อมูลทีอ่ มิ่ ตัว
5/20/2014 61

•จํานวนตัวอย่ างที่ใช้ ในการวิจัยคุณภาพ

ปกติจะใช้ ตัวอย่ าง 30 ตัวอย่ าง หรื อ เก็บข้ อมูล


จนได้ขอ้ มูลครบถ้วนอิ่มตัว

สําหรั บตัวอย่ างที่หายาก มีจานวนน้ อย จะใช้ จาํ นวนน้ อย


กว่ า 15 ตัวอย่ างก็ได้ แต่ ต้องไม่ น้อยกว่ า 8 ตัวอย่ าง (บุญ
ธรรม กิจปรี ดาบริสุทธิ์, 2551)

20/05/57 รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม 62

รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม บรรยายสํานักงานคณะกรรมการวิจยั


แห่งชาติ 7
การเลือกกลุ่มเป้ าหมาย/ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักในการวิจยั เชิงคุณภาพ 20/05/57

จํานวนตัวอย่ างที่จําเป็ นต้ อง


สอดคล้ องกับการตรวจสอบข้ อมูล

5/20/2014 63

ตัวอย่างการเขียนระเบียบวิธีการวิจัยการ
ถอดบทเรียนพืน้ ทีด่ เี ด่ น
พืน้ ทีท่ เี่ ก็บข้ อมูลวิจัย
เป็ น หมู่บ้านที่มีชุมชนเข้ มแข็งที่พ่ งึ ตนเองได้
ทางเศรษฐกิจที่พบในภาคตะวันออก ๖ จังหวัด ที่มีภมู ิปัญญา
ท้ องถิ่นอย่ างน้ อย ๑ ภูมิปัญญารวม ๑๓ ชุมชน จากชุมชน
เข้ มแข็งในภาคตะวันออกที่ศกึ ษา จํานวน
๕๕ หมู่บ้าน (๗ จังหวัด)

5/20/2014 64

ระเบียบวิธีการวิจัย
ขอบเขตการได้ มาของพืน้ ที่วจิ ยั และผู้ให้ ข้อมูลหลัก
1. กําหนดกรอบของชุมชนที่จะศึกษา โดยต้ องเป็ นชุมชนที่มีความ
เข้ มแข็งพึง่ ตนเองได้ ทางเศรษฐกิจจากข้ อมูลทุติยภูมิ คือ
มีการรวมตัวกันของชุมชน มีกลุม่ อาชีพที่เข้ มแข็ง
มีการจัดลานค้ าชุมชนหรื อตลาดนัดชุมชน
มีกองทุนของชุมชนและกลุม่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิต
บุคคลวัยแรงงานมีอาชีพ ร้ อยละ 90
ชุมชนบรรลุเป้าหมายด้ านรายได้ ตามเกณฑ์ จปฐ.70%
5/20/2014 65

รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม บรรยายสํานักงานคณะกรรมการวิจยั


แห่งชาติ 8
การเลือกกลุ่มเป้ าหมาย/ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักในการวิจยั เชิงคุณภาพ 20/05/57

ระเบียบวิธีการวิจัย
ขอบเขตการได้ มาของพืน้ ที่วจิ ยั และผู้ให้ ข้อมูลหลัก(ต่ อ)

2. ได้ ชุมชนตามเกณฑ์ ข้อ 1 จํานวน 55 หมู่บ้าน


3. จาก 55 หมู่บ้าน เก็บข้ อมูลเพิ่มเติมจาก ผู้ให้ ข้อมูลหลักที่
เป็ นผู้ร้ ู จากพัฒนาการอําเภอ 63 คน เจ้ าหน้ าที่
สาธารณสุขหมู่บ้านละ 8-10 คนรวม 480 คน เพื่อ
ตรวจสอบข้ อมูลความเข้ มแข็งของชุมชน ได้ ชุมชนที่
ยืนยันว่ าเข้ มแข็งจริง 43 หมู่บ้าน

5/20/2014 66

ระเบียบวิธีการวิจัย
ขอบเขตการได้ มาของพืน้ ที่วจิ ยั และผู้ให้ ข้อมูลหลัก(ต่ อ)
4. ประชุมกลุ่มเฉพาะ (focus group discussion) กลุ่ม
ผู้นําชุมชน รวมทัง้ ปราชญ์ ชาวบ้ านและผู้อาวุโสในหมู่บ้าน
ทัง้ 43 ชุมชน
5. คัดเลือกชุมชนที่เข้ มแข็งที่มีภมู ิปัญญาท้ องถิ่นโดยนําเสนอ
ข้ อมูลให้ ผ้ ูเชี่ยวชาญ 9 ท่ านวิพากษ์ เพื่อคัดเลือกเป็ น
ชุมชนที่จะศึกษาเจาะลึก ได้ ชุมชนทัง้ หมด 40 ชุมชน
6. เก็บข้ อมูลเจาะลึกเพื่อคัดเลือกชุมชนที่มีภมู ิปัญญาท้ องถิ่น
ที่ส่งผลให้ ชุมชนเข้ มแข็ง เพื่อมาศึกษารายละเอียดของภูมิ
ปั ญญาและความสัมพันธ์ ท่ที าํ ให้ ชุมชนเข้ มแข็ง ได้ ชุมชน
13 ชุมชน (15 หมู่บ้าน)
5/20/2014 67

ระเบียบวิธีการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
โดยใช้ แบบบันทึก แบบตรวจสอบ แบบสอบถาม และ แบบ
สัมภาษณ์ เก็บข้ อมูลข้ อมูลทุตยิ ภูมจิ ากศูนย์ชว่ ยเหลือ
ทางวิชาการพัฒนาชุมชนเขต 2 และข้ อมูลปฐมภูมิ จาก
พัฒนาการอําเภอ 63 คน เจ้ าหน้ าที่สาธารณสุข 480 คน
และ การประชุมกลุม่ เฉพาะ (focus group
discussion)ของแกนนําทุกหมูบ่ ้ านที่ศกึ ษา เก็บ
ข้ อมูลภูมิปัญญาท้ องถิ่น โดยใช้ เทคนิค snowball มี
การเก็บภาพและเสียงโดยใช้ อปุ กรณ์ชว่ ย มีผ้ ใู ห้ ข้อมูล 87
ราย จึงได้ ข้อมูลอิ่มตัว
5/20/2014 68

รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม บรรยายสํานักงานคณะกรรมการวิจยั


แห่งชาติ 9
การเลือกกลุ่มเป้ าหมาย/ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักในการวิจยั เชิงคุณภาพ 20/05/57

ระเบียบวิธีการวิจัย

เครื่ องมือที่ใช้ ในการวิจยั จํานวน 7 ชุด


1. แบบประเมินชุมชนเข้ มแข็ง
2. แบบสรุปการประเมินชุมชนเข้ มแข็ง
3. คูม่ ือการเก็บข้ อมูลเชิงคุณภาพ
4. แบบสํารวจระดับความเข้ มแข็งของชุมชน
5. แบบสํารวจข้ อมูลเบื ้องต้ นของหมูบ่ ้ าน
6. แบบบันทึกผลการสํารวจความเป็ นชุมชนเข้ มแข็ง (FGD)
7. แบบบันทึกภูมิปัญญาท้ องถิ่น
5/20/2014 69

ระเบียบวิธีการวิจัย

5/20/2014 70

ระเบียบวิธีการวิจัย

5/20/2014 71

รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม บรรยายสํานักงานคณะกรรมการวิจยั


แห่งชาติ 10
การเลือกกลุ่มเป้ าหมาย/ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักในการวิจยั เชิงคุณภาพ 20/05/57

ระเบียบวิธีการวิจัย

5/20/2014 72

ระเบียบวิธีการวิจัย

5/20/2014 73

ระเบียบวิธีการวิจัย
สรุ ปการวิเคราะห์ ข้อมูล
1. ถอดเทป แล้ วนํามาวิเคราะห์ เนือ้ หา เพื่อสร้ าง
ข้ อสรุ ปเชิงทฤษฎี
2. จัดทําข้ อเสนอเชิงทฤษฎีความสัมพันธ์ ของภูมิ
ปั ญญาส่ งผลต่ อความเข้ มแข็งของชุมชน และ
แนวทางการขยายผล แล้ วเชิญผู้เชี่ยวชาญวิพากษ์
12 ท่ าน
3. ปรับแก้ ไขข้ อเสนอให้ ได้ รูปแบบที่เหมาะสม

5/20/2014 74

รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม บรรยายสํานักงานคณะกรรมการวิจยั


แห่งชาติ 11
การเลือกกลุ่มเป้ าหมาย/ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักในการวิจยั เชิงคุณภาพ 20/05/57

• กุหลาบ รัตนสัจธรรม,มนตรี แย้มกสิกร,วสุธร ตันวัฒนกุล และวินจิ


ศัพท์พนั ธุ.์ 2546. สถานภาพและกลย ุทธ์การส่งเสริมและ
สนับสน ุนภ ูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการพึ่งตนเองทาง
เศรษฐกิจในช ุมชนภาคตะวันออกของประเทศไทย.ชลบุรี:
มหาวิทยาลัยบูรพา
• ชาย โพธิสิตา. 2554. ศาสตร์และศิลป์ แห่งการวิจยั เชิง
ค ุณภาพ. พิมพ์ครัง้ ที่ 5. กรุงเทพมหานคร.อมรินทร์พริ้นติง้ แอนด์
พับลิชชิง่ จากัด (มหาชน)
• สุภางค์ จันทวานิช. 2554. วิธีการวิจยั เชิงค ุณภาพ. พิมพ์ครัง้ ที่
19. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

• Berry, A. J., & Otley, D. T. 2004. Case-Based Research in Accounting. In C.


Humphrey, & B. Lee (Eds.), The Real Life Guide to Accounting Research
- A Behind-The-Scenes View of Using Qualitative Research Methods:
231–256. Amsterdam, Netherlands: Elsevier Ltd.
• Dubé, L., & Paré, G. 2003. Rigor in Information Systems Positivist Case
Research: Current Practices, Trends, and Recommendations. MIS
Quarterly,27(4): 597–635.
• Stake, R.E. 1995. The art of case study research. Thousand Oaks,
California: SAGE

รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม บรรยายสํานักงานคณะกรรมการวิจยั


แห่งชาติ 12

You might also like