You are on page 1of 34

4

1
1
พระราชบัญญัติความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2554

เรื่อง รายละเอียด มาตรา


ขอบเขตการ ใช้บังคับสำหรับนายจ้าง/สถานประกอบกิจการที่มีการจ้างลูกจ้างทำงาน และไม่ใช้บังคับแก่ ม.3
บังคับใช้ (1) ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค และราชการส่วนท้องถิ่น
(2) กิจการที่กำหนดในกฎกระทรวง

นิยามนายจ้าง “นายจ้ าง” หมายความว่ า นายจ้ างตามกฎหมายว่ าด้ วยการคุ้ มครองแรงงาน และหมายความรวม ถึ ง ม.4
และลูกจ้าง ผู้ประกอบกิ จการซึ่งยอมให้บุ คคลหนึ่ งบุ คคลใดมาทำงานหรือทำผลประโยชน์ ให้แก่ หรือในสถานประกอบ
กิจการไม่ว่าการทำงานหรือการทำผลประโยชน์นั้นจะเป็นส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดในกระบวนการผลิต
หรือธุรกิจในความรับผิดชอบของผู้ประกอบกิจการนั้นหรือไม่ก็ตาม
“ ลูกจ้าง” หมายความว่า ลูกจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน และให้หมายความรวมถึงผู้ซึ่ง
ได้รับความยินยอมให้ ทำงานหรือทำประโยชน์ให้แก่หรือ ในสถานประกอบกิจการของนายจ้างไม่ว่าจะ
เรียกชื่ออย่างไรก็ตาม

หน้าที่นายจ้าง - น ายจ้ างมี ห น้ าที่ จั ด แล ะดู แ ล ส ถาน ป ระกอบ กิ จ การแ ล ะ ลู กจ้ างให้ มี สภ าพ การท ำงาน ม.6
และลูกจ้าง และสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ
- ลูกจ้างมีหน้าที่ให้ความร่วมมือแก่นายจ้าง

การบริหาร ให้ น ายจ้ างบริ ห าร จั ด การและดำเนิ น การด้ านความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ ม ม.8
จัดการ ในการทำงานให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดในกฎกระทรวง
และดำเนินการ
เจ้าหน้าที่ความ - ให้นายจ้างจัดให้มีเจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุค ลากร หน่วยงาน หรือคณะบุ คคลเพื่ อ ม.13
ปลอดภัยในการ ดำเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ
ทำงาน - ต้องขึ้นทะเบียนต่อกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน

แจ้งให้ทราบ ให้นายจ้างแจ้งให้ลูกจ้างทราบถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานและแจกคู่มือการปฏิบัติงานให้แก่ ม.14


อันตรายและ ลูกจ้างทุกคนก่อนที่ลูกจ้างเข้าทำงาน เปลี่ยนงาน หรือเปลี่ยนสถานที่ทำงาน
แจกคู่มือ
ปฏิบัติงาน
การฝึกอบรม ให้ น ายจ้ า งจั ด ให้ ผู้ บ ริ ห าร หั ว หน้ า งานและลู ก จ้ า งทุ ก คนได้ รั บ การฝึ ก อบรมความปลอดภั ย ม.16
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน

ติดประกาศ ให้ น ายจ้ า งติ ด ประกาศสั ญ ลั ก ษณ์ เตื อ นอั น ตรายและเครื่ อ งหมายเกี่ ย วกั บ ความปลอดภั ย ฯ ม.17
สัญลักษณ์เตือน รวม ทั้ ง สิ ท ธิ ห น้ า ที่ ข องนายจ้ า งและ ลู ก จ้ า งตามที่ อธิ บ ดี ประกาศกำหนด ในที่ ที่ เ ห็ นได้ ง่ า ย
อันตราย ณ สถานประกอบกิจการ

อุปกรณ์ - ให้นายจ้างจัดและดูแลให้ลูกจ้างสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ได้มาตรฐาน ม.22


คุ้มครองความ - ลูกจ้างมีหน้าที่สวมใส่อุปกรณ์ฯ
ปลอดภัยส่วน - กรณีที่ลูกจ้างไม่สวมใส่ให้นายจ้างสั่งให้ลูกจ้างหยุดการทำงานจนกว่าลูกจ้างจะสวมใส่อุปกรณ์ดังกล่าว
บุคคล
เรื่อง รายละเอียด มาตรา
กรณีเกิด (1) กรณีลูกจ้างเสียชีวิตให้นายจ้างแจ้งต่อพนักงานตรวจความปลอดภัยในทันที และให้แจ้งรายละเอียด ม.34
อุบัติเหตุ และสาเหตุเป็นหนังสือภายใน 7 วัน นับแต่ลูกจ้างเสียชีวิต
ร้ายแรงหรือ (2) กรณีทสี่ ถานประกอบกิจการได้รับความเสียหายหรือต้องหยุดการผลิตหรือมีบุคคลในสถานประกอบ
ลูกจ้างประสบ กิจการประสบอันตรายหรือได้รับความเสียหายอันเนื่องมาจากเพลิงไหม้การระเบิด สารเคมีรั่วไหล
อันตรายจาก หรืออุบัติภัยร้ายแรงอื่นให้นายจ้างแจ้งต่อพนักงานตรวจความปลอดภัยในทันที และแจ้งเป็นหนังสือ
การทำงาน ระบุสาเหตุการแก้ไข และวิธีป้องกันภายใน 7 วัน นับแต่วันเกิดเหตุ
(3 ) ก ร ณี ที่ ลู ก จ้ า ง ป ร ะ ส บ อั น ต รายห รื อ เจ็ บ ป่ วยต าม ก ฎ ห ม าย ว่ าด้ วย เงิ น ท ด แท น
เมื่อนายจ้างแจ้งต่อสำนักงานประกันสังคมแล้วให้ส่งสำเนาหนังสือแจ้งนั้นต่อ
พนักงานตรวจความปลอดภัย ภายใน 7 วัน
อำนาจพนักงาน - กรณีตรวจพบว่ามีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม พรบ.ฉบับนี้ ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยมีอำนาจสั่ง ม.36
ตรวจความ ให้ปฏิบัติให้ถูกต้องภายใน 30 วัน กรณีมีเหตุจำเป็นไม่อาจดำเนินการได้แล้วเสร็จอาจขยายระยะเวลา
ปลอดภัย ออกไปได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ๆ ละ 30 วัน
อัตราโทษ อัตราโทษต่ำสุด คือ ปรับไม่เกิน 50,000 บาท
อั ต ราโท ษ สู งสุ ด คื อ ต้ อ งระว างโท ษ จ ำคุ ก ไม่ เกิ น 2 ปี ห รื อ ป รั บ ไม่ เกิ น 800,000 บ าท
หรือทั้งจำทั้งปรับ และปรับอีกเป็นรายวันๆ ละ ไม่เกิน 5,000 บาท
1

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. 2555

เรื่อง รายละเอียด ข้อ

ระบบป้องกัน - ให้นายจ้างจัดให้มีระบบป้องกันและระงับอัคคีภัยให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ข้อ 2


และระงับ มีประสิทธิภาพและปลอดภัย
อัคคีภัย
แผนป้องกัน - สถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้าง 10 คนขึ้นไป ต้องจัดให้มีแผนป้องกันและ ข้อ 4
และระงับ ระงับอัคคีภัย ประกอบด้วย การตรวจตรา การอบรม การรณรงค์ป้องกันอัคคีภัย
อัคคีภัย การดับเพลิง การอพยพหนีไฟ และการบรรเทาทุกข์

อาคารมี ให้นายจ้างทุกรายของสถานประกอบกิจการในอาคารนั้นมีหน้าที่ร่วมกันในการ ข้อ 5


สปก.หลาย จัดให้มีระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย รวมทั้งแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย
แห่ง อยู่
รวมกัน
เส้นทางหนีไฟ - ให้จัดให้มีเส้นทางหนีไฟทุกชั้นอย่างน้อยชั้นละ 2 เส้นทาง สามารถอพยพ ข้อ 8
ลูกจ้างไปสู่จุดปลอดภัยภายในเวลาไม่เกิน 5 นาที
- เส้นทางหนีไฟต้องปราศจากสิ่งกีดขวาง
- ประตูในเส้นทางหนีไฟต้องทำด้วยวัสดุทนไฟ ไม่มีธรณีประตูหรือขอบกั้น
บานประตูเปิดออกไปตามทิศทางการหนีไฟ ต้องติดอุปกรณ์บังคับให้บาน
ประตูปิดได้เอง
สัญญาณแจ้ง อาคาร 2 ชั้นขึ้นไป หรือมีพื้นที่ตั้งแต่ 300 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องจัดให้มีระบบ ข้อ 9
เหตุเพลิงไหม้ สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ทุกชั้น
ป้ายบอกทาง ให้จัดทำป้ายบอกทางหนีไฟที่มีลักษณะ ดังนี้ ข้อ 11
หนีไฟ - ขนาดตัวหนังสือ สูงไม่น้อยกว่า 15 ซม.
- ป้ายมีแสงสว่างในตัวเอง หรือใช้ไฟส่องให้เห็นอย่างชัดเจน
ระบบน้ำ ให้มีระบบน้ำดับเพลิงและอุปกรณ์ดับเพลิงอย่างเพียงพอ ข้อ 12
ดับเพลิง
เครื่อง - ให้จัดให้มีเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้ ข้อ 13
ดับเพลิงแบบ - ให้ตรวจสอบไม่น้อยกว่า 6 เดือน/ครั้ง
เคลื่อนย้ายได้
เรื่อง รายละเอียด ข้อ

ระบบ - ระบบดับเพลิงอัตโนมัติต้องเป็นไปตามมาตรฐานสมาคมวิศวกรรมสถานแห่ง ข้อ 14


ดับเพลิง ประเทศไทยฯ
อัตโนมัติ - ต้องเปิดวาล์วประธานที่ควบคุมระบบจ่ายน้ำเข้าตลอดเวลา
การปฏิบัติ - ติดตั้งป้ายแสดงจุดติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิงที่เห็นได้อย่างชัดเจน ข้อ 16
เกี่ยวกับ - ติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิงในที่เห็นได้อย่างชัดเจน ไม่มีสิ่งกีดขวาง
อุปกรณ์ - จัดให้มีการตรวจสอบไม่น้อยกว่าเดือนละ 1 ครั้ง
ดับเพลิง อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี สามารถนำมาใช้ได้สะดวกตลอดเวลา โดยให้มีการ
ตรวจสอบอุปกรณ์ไม่น้อยกว่าเดือนละครั้ง
การเก็บถัง ให้ปฏิบัติดังนี้ ข้อ 20
ก๊าซชนิด - กรณีเก็บไว้ภายนอกอาคาร ต้องเก็บในที่เปิดโล่ง
เคลื่อนย้ายได้ - กรณีเก็บไว้ในอาคาร ต้องแยกเก็บไว้ในห้องที่มีผนังทำด้วยวัสดุทนไฟ มี
ชนิดของเหลว ระบบตรวจจับก๊าซอัตโนมัติ เก็บรวมกันแห่งละไม่เกิน 2,000 ลิตร แต่
ละแห่งห่างกันไม่น้อยกว่า 20 เมตร
- ห้ามเก็บไว้ใกล้วัตถุที่ลุกไหม้ได้ง่าย
- มีโซ่รัดถังกันล้ม ติดตั้งฝาครอบหัวถัง
ระบบป้องกัน ให้จัดให้มีระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่าตามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรม ข้อ 25
อันตรายจาก สถานแห่งประเทศไทย
ฟ้าผ่า
การฝึกอบรม ให้จัดให้ลูกจ้างไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของแต่ละหน่วยงาน ฝึกอบรมการดับเพลิง ข้อ 27
ดับเพลิง ขั้นต้น จากผู้ที่ได้รับใบอนุญาตจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
ขั้นต้น
การฝึกซ้อม - ให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างทุกคนฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ ข้อ 30
ดับเพลิงและ พร้อมกันอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยก่อนฝึกซ้อมไม่น้อยกว่า 30 วัน ให้
อพยพหนีไฟ ส่งแผนการฝึกซ้อมฯ ต่ออธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายเพื่อให้ความ
เห็นชอบ
- กรณีนายจ้างไม่สามารถดำเนินการฝึกซ้อมได้เอง ต้องให้ผู้ได้รับ
ใบอนุญาตจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเป็นผู้ดำเนินการ
ฝึกซ้อม
- ให้รายงานผลการฝึกซ้อมภายใน 30 วัน นับแต่วันเสร็จสิ้นการฝึกซ้อม

กองนิติการ
1 ตุลาคม 2564
2

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561

เรื่อง รายละเอียด ข้อ

การยกเลิก ให้ยกเลิกความใน (1) ของข้อ 11 และยกเลิกข้อ 21 กฎกระทรวงกำหนด ข้อ 1 - 3


กฎเดิม และการ มาตรฐานฯเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ.2557
การเพิ่มกฎใหม่ ให้เพิ่มข้อ 21/1
ขนาดตัวอักษร ข้อ 11 (1) ตัวอักษรต้องมีขนาดไม่เล็กกว่า 10 เซนติเมตร และมองเห็นได้อย่าง ข้อ 1
ป้ายบอกทาง ชัดเจน
หนีไฟ
การป้องกัน ข้อ 21 การป้องกันอันตรายจากถ่านหินที่กองเก็บในที่โล่งแจ้ง ให้ปฏิบัติ ดังนี้ ข้อ 2
อันตรายจาก (1) ต้องพรมน้ำเพื่อลดการฟุ้งกระจายของฝุ่นถ่านหิน
ถ่านหิน (2) ต้องอัดทับให้มีโพรงอากาศน้อยที่สุด เพื่อป้องกันการลุกไหม้
(3) บริเวณที่มีฝุ่นถ่านหินฟุ้งกระจายและมีความเสี่ยงต่อการเกิดระเบิดฝุ่นต้องจัด
ให้มมี าตรการป้องกันและลดความรุนแรงของผลกระทบจากการเกิดระเบิดฝุ่น
(4) การกองเก็บถ่านหินสูงเกิน 3 เมตร ต้องติดตามตรวจวัดอุณหภูมิอย่างน้อย
สัปดาห์ละ 1 ครั้ง และเก็บรายงานผลการบันทึกไว้อย่างน้อย 1 ปี
(5) หากกองถ่านหินมีอุณหภูมิ ตั้งแต่ 65 องศาเซลเซียส ขึ้นไป ต้องคัดแยก ถ่าน
หินออกจากกองหรือใช้มาตรการอื่นเพื่อป้องกันการลุกไหม้ ที่เกิดได้เอง ”
ข้อ 21/1 การป้องกันอันตรายจากการเก็บถ่านหิน ผงแร่ที่ลุกไหม้ได้ง่าย ข้อ 3
เซลลูลอยด์ หรือของแข็งที่ติดไฟได้ง่ายที่เก็บในไซโล ถัง หรือภาชนะ ให้ปฏิบัติดังนี้
1) การเก็บถ่านหินหรือผงแร่ที่ลุกไหม้ได้ง่าย ไซโล ถัง หรือภาชนะที่เก็บต้อง
สร้างด้วยวัสดุทนไฟที่มีฝาผิดมิดชิด และเก็บให้ห่างไกลจากแหล่งความ
ร้อน
2) การเก็บเซลลูลอยด์หรือของแข็งที่ติดไฟได้ง่าย ต้องจัดให้มีมาตรการ
ป้องกันการลุกไหม้จากแหล่งความร้อนหรือการผสมกับอากาศที่จะ
ก่อให้เกิดการลุกไหม้ได้
การเก็บถ่านหิน ผงแร่ที่ลุกไหม้ได้ง่าย เซลลูลอยด์ หรือของแข็งที่ติดไฟได้ง่าย
ตาม (1) และ (2) หากมีความเสี่ยงต่อการเกิดระบิดฝุ่น ต้องจัดให้มีมาตรการ
ป้องกันและลดความรุนแรงของผลกระทบจากการเกิดระเบิดฝุ่นด้วย

กองนิติการ
1 ตุลาคม 2564
3

สรุปกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย


3 และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. 2556

เรื่อง รายละเอียด ข้อ


ข้อมูล 2
- ให้จัดทำบัญชีรายชื่อ และรายละเอียดข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย
ความปลอดภัย
แจ้งต่ออธิบดีภายใน 7 วันนับแต่วันที่มีสารเคมีอันตรายอยู่ในครอบครอง
ของสารเคมี
- ภายในเดือนมกราคมของทุกปี ให้แจ้งบัญชีรายชื่อสารเคมีอันตรายด้วย
อันตราย
ให้จัดให้มีการปิดฉลากที่เป็นภาษาไทยไว้ที่หีบห่อบรรจุภัณฑ์ ภาชนะบรรจุ หรือวัสดุห่อหุ้ม 6
สารเคมีอันตราย ฉลากนั้นต้องมี ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อสารเคมีอันตราย รูปสัญลักษณ์
คำสัญญาณ ข้อความแสดงอันตราย ข้อควรระวังหรือข้อปฏิบัติเพื่อป้องกันอันตราย
ให้จัดให้มีป้ายห้าม ป้ายให้ปฏิบัติ หรือป้ายเตือน ในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายไว้ 7
ฉลากและป้าย ในที่เปิดเผยเห็นได้ชัดเจน ณ สถานที่ทำงานของลูกจ้าง
ให้ ป ิ ด ประกาศหรื อ จั ด ทำป้ า ยแจ้ ง ข้ อ ความ “ห้ า มสู บ บุ ห รี ่ รั บ ประทานอาหาร
9
หรื อเครื ่ องดื ่ ม ประกอบอาหาร หรื อเก็ บอาหาร” ด้ วยตั วอั กษรขนาดที ่ เห็ นได้ ช ั ดเจนไว้
ณ บริเวณสถานที่ทำงาน สถานที่เก็บรักษา หรือในยานพาหนะขนส่ง เกี่ยวกับสารเคมี
อันตราย
บริเวณที่ลูกจ้างทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย ต้องจัดให้มี 11
- ที่ชำระล้างสารเคมี อย่างน้อยต้องมีที่ล้างตาและฝักบัวชำระล้างร่างกาย
- ที่ล้างมือ/ล้างหน้า 1 ที่/ลูกจ้าง 15 คน
- ห้องอาบน้ำ 1 ห้อง/ลูกจ้าง 15 คน
- อุปกรณ์เวชภัณฑ์ที่จำเป็นสำหรับการปฐมพยาบาล
การคุ้มครอง
- อุปกรณ์ดับเพลิงที่เหมาะสมกับสารเคมี
ความปลอดภัย
- ชุดทำงานเฉพาะ
ให้จัดอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลตามลักษณะอันตราย และความรุนแรง
12
ของสารเคมีอันตรายให้ลูกจ้างสวมใส่
ห้ามให้ลูกจ้างหรือบุคคลใดเข้าพักอาศัยหรือพักผ่อนในสถานที่ทำงานเกี่ยวกับสารเคมี
15
อันตราย สถานที่เก็บรักษาสารเคมีอันตราย หรือในยานพาหนะขนส่งสารเคมีอันตราย
ให้จัดให้มีมาตรการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดจากสารเคมีอันตรายในบริเวณสถานที่เก็บรักษาสารเคมี
การเก็บรักษา 18
อันตราย รวมทั้งมาตรการเบื้องต้นในการแก้ไขเยียวยาอันตรายที่เกิดขึ้น
การบรรจุ
ให้นายจ้างจัดทำบัญชีรายชื่อ ปริมาณสารเคมีอันตรายทุกชนิดที่จัดเก็บอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
และการถ่ายเท
ตามปีปฏิทิน และมีมาตรการป้องกันความเสียหายหรืออันตรายที่เกิดจากการขุดเจาะ หรือ 19
สารเคมีอันตราย
มีเครื่องหมายแสดงตำแหน่งจัดเก็บให้เห็นชัดเจนในกรณีที่เก็บสารเคมีอันตรายไว้ใต้ดิน
การขนถ่าย ให้ปฏิบัติเกี่ยวกับการขนถ่าย เคลื่อนย้าย หรือขนส่งสารเคมีอันตราย ดังนี้
การเคลื่อนย้าย - มีมาตรการป้องกันการฟุ้งกระจายรวมทั้งการกระเด็น หก ล้น รั่ว ไหล หรือตกหล่น
หรือการขนส่ง ของสารเคมีอันตราย
24
- จัดให้มีคู่มือหรือข้อปฏิบัติในการแก้ไขปัญหากรณีฉุกเฉินได้อย่างปลอดภัย
- จัดให้มีการฝึกอบรมและฝึกซ้อมวิธีการแก้ไขปัญหาเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินแก่ลูกจ้างอย่าง
น้อยปีละหนึ่งครั้ง
เรื่อง รายละเอียด ข้อ
- จัดให้มีเครื่องดับเพลิงชนิดเคลื่อนย้ายได้ที่มีคุณสมบัติสามารถดับเพลิงได้ตามความ
เหมาะสม
- จัดให้มีหน้ากากป้องกันสารเคมีอันตรายหรือเครื่องช่วยหายใจตามความจำเป็นของชนิด
สารเคมีอันตราย ติดไว้ในยานพาหนะที่บรรทุกสารเคมีอันตรายอย่างเพียงพอ
การส่งสารเคมีอันตรายโดยใช้ท่อ ให้ใช้ท่อและข้อต่อที่แข็งแรง ไม่ชำรุด ให้ตรวจสอบและ
บำรุงรักษาท่อและข้อต่อให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์พร้อมใช้งานได้อย่างปลอดภัยตลอดเวลา
การวางท่อใต้ดินหรือใต้น้ำต้องใช้ท่อหรือข้อต่อประเภทที่ทนทานต่อการกัดกร่อนและต้องมี
เครื่องหมายแสดงตำแหน่งของท่อเป็นระยะตลอดแนวให้เห็นได้โดยชัดเจน การส่งสารเคมี
25
อันตรายต่างชนิดกัน ต้องใช้ท่อที่มีสีต่างกัน การส่งสารเคมีอันตรายที่มีความร้อนต้องมี
ฉนวนกันความร้อนหุ้มท่อ และการส่งสารเคมีอันตรายที่มีคุณสมบัติไวไฟหรือระเบิดได้ ต้อง
วางท่อส่งให้มีระยะห่างที่เพียงพอและปลอดภัยจากแหล่งความร้อนหรือแหล่งที่ก่อให้เกิด
ประกายไฟ และให้ต่อสายดินที่ท่อนั้นด้วย
การควบคุม ให้จัดให้มีร ะบบป้องกัน และควบคุม มิให้มีระดับความเข้มข้นของสารเคมีอันตรายใน
ระดับความเข้มข้น บรรยากาศของสถานที่ทำงานและสถานที่เก็บรักษาเกินขีดจำกัดความเข้มข้นของสารเคมี 28
ของสารเคมี อันตราย
อันตราย ให้ จ ั ด ให้ ม ี ก ารตรวจวั ด และวิ เ คราะห์ ร ะดั บ ความเข้ ม ข้ น ของสารเคมี อ ั น ตราย
ในบรรยากาศของสถานที่ทำงานและสถานที่เก็บรักษาสารเคมีอันตราย และส่งรายงานผล 29
การตรวจวัดภายใน 15 วันนับแต่วันที่ทราบผลการตรวจวัด
กรณี ร ะดั บ คว ามเข้ ม ข้ น ของสารเคมี อ ั น ตรายเกิ น ขี ด จำกั ด คว ามเข ้ ม ข้ น
ตามข้ อ ๒๘ ให้ ใ ช้ ม าตรการกำจั ด หรื อ ควบคุ ม สารเคมี อ ั น ตรายทางวิ ศ วกรรม
30
และการบริหารจัดการสภาพแวดล้อม เพื่อลดระดับความเข้มข้นของสารเคมีอัน ตราย
มิให้เกินขีดจำกัด และต้องมีมาตรการป้องกันอันตรายส่วนบุคคลด้วย
การดูแล ให้จัดให้มีการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพของลูกจ้าง และจัดทำรายงานส่งให้อธิบดี
31
สุขภาพอนามัย ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ทราบผลการประเมิน
การควบคุม ให้ จ ั ด ให้ ม ี ก ารประเมิ น ความเสี ่ ย งในการก่ อ ให้ เ กิ ด อั น ตรายและจั ด ทำรายงาน
32
และปฏิบัติการ การประเมินความเสี่ยงนั้นอย่างน้อย 5 ปีตอ่ 1 ครั้ง
กรณีมีเหตุฉุกเฉิน ให้จัดทำแผนปฏิบัติการกรณีฉุกเฉินและเก็บแผนไว้ ณ สถานประกอบกิจการพร้อมที่จะให้พนักงาน
33
ตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได้ และฝึกซ้อมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ให้จัดให้มีการฝึกอบรมลูกจ้างที่มีหน้าที่ควบคุมและระงับเหตุอันตรายและทำการฝึกอบรม
34
ทบทวนอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ในกรณีสารเคมีอันตรายรั่วไหล เกิดอัคคีภัย หรือเกิดการระเบิด นายจ้างต้องสั่งให้ลูกจ้าง
ทุกคนที่ทำงานในบริเวณนั้น หรือบริเวณใกล้เคียงหยุดทำงานทันที และออกไปให้พ้นรัศมีที่
อาจได้รับอันตราย พร้อมทั้งให้นายจ้างดำเนินการให้ผู้ที่เกี่ยวข้องตรวจสอบและระงับเหตุ 35
ทัน ที ในกรณีที่การเกิดเหตุอาจส่งผลกระทบถึงประชาชนที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงให้
นายจ้างดำเนินการให้มีการเตือนอันตรายให้ประชาชนที่อาจได้รับผลกระทบทราบทันที
กองนิติการ
1 ตุลาคม 2564
4

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดำเนินการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า พ.ศ. 2558

เรื่อง รายละเอียด ข้อ


บทนิยาม "บริภัณฑ์ไฟฟ้า" หมายความว่า อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ วัสดุ เครื่อง ข้อ 2
ประกอบ หรือเครื่องจักรที่ใช้ไฟฟ้าเป็นต้นกำลังหรือเป็นส่วนประกอบ หรือ
ที่ใช้เกี่ยวเนื่องกับไฟฟ้า
ข้อบังคับเกี่ยวกับ ให้นายจ้างจัดให้มีข้อบังคับเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า เพื่อเป็นคู่มือ ข้อ 3
การปฏิบัติงาน สำหรับลูกจ้าง
การจัดฝึกอบรม ให้นายจ้างจัดให้มีการฝึกอบรมให้กับลูกจ้างซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า ตาม ข้อ 4
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกำหนด
จัดให้มีแผนผัง ให้นายจ้างจัดให้มีแผนผังวงจรไฟฟ้า ที่ติดตั้งภายในสถานประกอบกิจการ ข้อ 5
วงจรไฟฟ้า ซึ่งได้รับการรับรองจากวิศวกรหรือการไฟฟ้าประจำท้องถิ่น
จัดให้มีป้ายเตือน ให้นายจ้างจัดให้มีป้ายเตือนอันตราย ขนาดมองเห็นได้ชัดและติดตั้งไว้โดย ข้อ 6
อันตราย เปิดเผยในบริเวณที่อาจเกิดอันตรายจากกระแสไฟฟ้า
การปฏิบัติงานกับ ห้ามให้ลูกจ้างซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้าเข้าใกล้หรือนำสิ่งที่เป็นตัวนำไฟฟ้า ข้อ 7
สิ่งที่เป็นตัวนำ ที่ไม่มีที่ถือหุ้มด้วยฉนวนไฟฟ้าที่เหมาะสมกับแรงดันไฟฟ้าเข้าใกล้สิ่งที่มี
ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าในระยะที่น้อยกว่าระยะห่างตามมาตรฐาน เว้นแต่จะได้
ดำเนินการ
- ให้ลูกจ้างสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
- จัดให้มีวิศวกร หรือผู้ที่ได้รับการรับรองเป็นผู้ควบคุมงานจากการไฟฟ้า
ท้องถิ่นเพื่อควบคุมการปฏิบัติงานของลูกจ้าง
ห้ามให้ลูกจ้างซึ่งปฏิบัติงานอื่นหรือผู้ไม่เกี่ยวข้องเข้าใกล้สิ่งที่มีกระแสไฟฟ้า ข้อ 8
ในระยะที่น้อยกว่าระยะห่างตามมาตรฐาน
ให้ดูแลมิให้ลูกจ้างสวมใส่เครื่องนุ่งห่มที่เปียกหรือเป็นสื่อไฟฟ้าปฏิบัติงานที่มี ข้อ 9
กระแสไฟฟ้าที่มีแรงดันเกินกว่า 50 โวลต์ โดยไม่มีฉนวนไฟฟ้าปิดกั้น เว้นแต่
สวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยฯ
ให้ดูแลบริภัณฑ์ไฟฟ้าและสายไฟฟ้าให้ใช้งานได้โดยปลอดภัย ข้อ 11
จัดให้มีแผ่นภาพ ให้นายจ้างจัดให้มีแผ่นภาพพร้อมคำบรรยายติดไว้ในบริเวณที่ทำงานที่ลูกจ้าง ข้อ 13
พร้อมคำบรรยาย สามารถมองเห็นได้ชัดเจน ในเรื่อง
(1) วิธีปฏิบัติเมื่อประสบอันตรายจากไฟฟ้า
(2) การปฐมพยาบาล
การทำงาน ให้มีการใช้กุญแจป้องกันการสับสวิตช์เชื่อมต่อวงจรตลอดเวลาที่ลูกจ้าง ข้อ 15
ซ่อมแซมบริภัณฑ์ ปฏิบัติงาน และให้ติดป้ายแสดงเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ห้ามสับสวิตช์
ไฟฟ้า เชื่อมต่อวงจรไว้ด้วย
ห้ามทำความ ห้ามให้ลูกจ้างทำความสะอาดบริภัณฑ์ไฟฟ้าที่มีกระแสไฟฟ้า เว้นแต่ ข้อ 16
สะอาด มีมาตรการความปลอดภัย
เรื่อง รายละเอียด ข้อ
จัดให้มีที่ปิดกั้น บริภัณฑ์ไฟฟ้าใช้แรงดันไฟฟ้าเกินกว่า 50 โวลต์ ให้จัดให้มีที่ปิดกั้นอันตราย ข้อ 17
อันตราย หรือจัดให้มีแผ่นฉนวนไฟฟ้าปูไว้ที่พื้นเพื่อป้องกันอันตรายจากการสัมผัส
อุปกรณ์คุ้มครอง - ให้จัดอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่เหมาะสมกับลักษณะงาน ข้อ 21
ความปลอดภัย - กรณีให้ลูกจ้างปฏิบัติงานสูงกว่าพื้นตั้งแต่ 4 เมตรขึ้นไป ให้จัดให้มีการใช้
ส่วนบุคคล สายหรือเชือกช่วยชีวิตและเข็มขัดนิรภัย หรืออุปกรณ์ป้องกันการตก

กองนิติการ
1 ตุลาคม 2564
สรุปสาระสำคัญกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และ 5
ดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทํางานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2559

เรื่อง รายละเอียด ข้อ


นิยาม ความหมายของคำว่า 1. อุณหภูมิเวตบัลบ์โกลบ 2. ระดับความร้อน 3. สภาวะการทำงาน ข้อ 1
4. งานเบา 5. งานปานกลาง 6. งานหนัก
ความร้อน ให้นายจ้างควบคุมและรักษาระดับความร้อน มิให้เกินมาตรฐาน ดังต่อไปนี้ ข้อ 2
(1) ลักษณะงานเบา ไม่เกินค่าเฉลี่ย อุณหภูมิ เวตบัลบ์โกลบ 34 องศาเซลเซียส
(2) ลักษณะงานปานกลาง ไม่เกินค่าเฉลี่ย อุณหภูมิเวตบัลบ์โกลบ 32 องศาเซลเซียส
(3) ลักษณะงานหนัก ไม่เกินค่าเฉลี่ย อุณหภูมิเวตบัลบ์โกลบ 30 องศาเซลเซียส
- กรณีที่ภายในสถานประกอบกิจการมีแหล่งความร้อนที่อาจเป็นอันตราย ให้ติดป้ายหรือประกาศ ข้อ 3
เตือนอันตราย ให้ลูกจ้างสามารถมองเห็นชัดเจน
- กรณีบริเวณการทํางานมีระดับความร้อนเกินมาตรฐาน ให้ปรับปรุงหรือแก้ไข เพื่อควบคุมระดับ
ความร้อน ให้เป็นไปตามมาตรฐาน
- กรณีไม่สามารถดําเนินการให้เป็นไปตามวรรคสองได้ ให้จัดให้มีมาตรการควบคุม หรือลดภาระงาน
และให้ ลู กจ้างสวมใส่ อุปกรณ์ คุ้มครองความปลอดภั ยส่วนบุคคลตามที่กําหนดไว้ ตลอดเวลาที่
ทํางาน
แสงสว่าง นายจ้างต้องจัดให้สถานประกอบกิจการมีความเข้มของแสงสว่างไม่ต่ำกว่ามาตรฐาน ที่อธิบดีกําหนด ข้อ 4
ให้ใช้หรือจัดให้ มีฉาก แผ่นฟิล์มกรองแสง หรือมาตรการอื่น เพื่อป้องกันมิให้แสงตรง หรือแสงสะท้อน ข้อ 5
หรือดวงอาทิตย์ ส่องเข้านัยน์ตาลูกจ้างโดยตรงในขณะทํางาน กรณีไม่อาจป้องกันได้ ต้องจัดให้ลูกจ้าง
สวมใส่อุปกรณ์ คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลตามที่กําหนดไว้ ตลอดเวลาที่ทํางาน
กรณีลูกจ้างต้องทํางานในสถานที่มืด ทึบ และคับแคบ ต้องจัดให้มีอุปกรณ์ส่องแสงสว่างที่เหมาะสมแก่ ข้อ 6
สภาพและลักษณะงาน หากไม่สามารถจัดหา ต้องจัดให้ลูกจ้างสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วน
บุคคลตามที่กําหนดไว้ ตลอดเวลาที่ทํางาน
เสียง ให้ ควบคุมระดับเสียงมิให้ ลูกจ้ างได้รับในบริเวณสถานประกอบกิจการ ที่มีระดับเสี ยงสูงสุด ของเสี ยง ข้อ 7
กระทบหรือเสียงกระแทก เกิน 140 เดซิเบล หรือได้รับสัมผัสเสียงที่มีระดับเสียงดังต่อเนื่องแบบคงที่ เกิน
กว่า 115 เดซิเบลเอ
ให้ควบคุมระดับเสียงที่ลูกจ้างได้รับเฉลี่ยตลอดเวลาการทํางานในแต่ละวัน มิให้เกินมาตรฐานตามที่อธิบดี ข้อ 8
ประกาศกําหนด
- กรณี มีระดั บเสี ยงเกินมาตรฐาน ต้องให้ ลู กจ้างหยุดทํางานจนกว่าจะได้ปรับปรุงหรือแก้ไขให้ ข้อ 9
เป็นไปตามมาตรฐานที่กําหนด
- กรณี ไม่ สามารถดํ าเนิ นการตามวรรคหนึ่ งได้ ต้ องจั ดให้ ลู กจ้างสวมใส่ อุปกรณ์ คุ้ มครองความ
ปลอดภัยส่วนบุคคลตามที่กําหนด ตลอดเวลาที่ทํางาน
ในบริเวณที่มีระดับเสียงเกินมาตรฐานที่กําหนด ต้องจัดให้มีเครื่องหมายเตือนให้ใช้อุปกรณ์คุ้มครองความ ข้อ 10
ปลอดภัยส่วนบุคคลติดไว้ให้ลูกจ้างเห็นได้โดยชัดเจน
กรณีมีระดับเสียงที่ลูกจ้างได้รับเฉลี่ย ตลอดระยะเวลาการทํางาน 8 ชั่วโมง ตั้งแต่ 85 เดซิเบลเอ ขึ้นไป ให้ ข้อ 11
จัดให้มีมาตรการอนุรักษ์การได้ยินตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศกําหนด
เรื่อง รายละเอียด ข้อ
อุปกรณ์ นายจ้างต้องจัดให้มีและให้ลูกจ้างใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุ คคล ตามความเหมาะสมกับ ข้อ 12
คุ้มครองความ ลักษณะงานตลอดเวลาที่ทํางาน
ปลอดภัยส่วน ให้นายจ้างบํารุงรักษาอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้อย่างปลอดภัย ข้อ 13
บุคคล รวมทั้งจัดให้ลูกจ้างได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับวิธีการใช้และบํารุงรักษาอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัย
ส่วนบุคคล และเก็บหลักฐานการฝึกอบรมไว้ ณ สถานประกอบกิจการ เพื่อให้พนักงานตรวจความปลอดภัย
สามารถตรวจสอบได้
การตรวจวัด - นายจ้างต้องจัดให้มีการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทํางานเกี่ยวกับระดับ ความร้อน แสงสว่าง ข้อ 14
และวิเคราะห์ หรือเสียงภายในสถานประกอบกิจการ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการตามที่อธิบดีประกาศกําหนด
สภาวะการ - ในกรณีนายจ้างไม่สามารถตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทํางานได้ ต้องให้ผู้ที่ขึ้นทะเบียนตาม
ทํางาน และการ กฎหมาย เป็นผู้ให้บริการในการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทํางาน เป็นผู้ดําเนินการแทน
รายงานผล - ให้เก็บผลการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทํางานไว้ ณ สถานประกอบกิจการ เพื่อให้พนักงาน
ตรวจความปลอดภัยสามารถตรวจสอบได้
ให้รายงานผลการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทํางานตามแบบที่อธิบดีกําหนด ต่ออธิบดี ภายใน 30 ข้อ 15
วัน นับแต่วันที่เสร็จสิ้นการตรวจวัด
การตรวจ ให้จัดให้มีการตรวจสุขภาพลูกจ้างที่ทํางานในสภาวะการทํางานที่อาจได้รับอันตรายจากความร้อน ข้อ 16
สุขภาพและการ แสงสว่าง หรือเสียง และรายงานผล รวมทั้งดําเนินการที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสุขภาพของลูกจ้าง
รายงานผล

กองนิติการ
1 ตุลาคม 2564
-๒- 6
กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้าน
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
เกีย่ วกับที่อับอากาศ พ.ศ. 2562

เรื่อง รายละเอียด ข้อ


คำนิยาม “ที่อับอากาศ” หมายถึง ที่ซึ่งมีทางเข้าออกจำกัดและไม่ได้ออกแบบไว้สำหรับเป็นสถานที่ ข้อ 1
ทำงานอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ และมีสภาพอันตรายหรือมีบรรยากาศอันตราย
“สภาพอันตราย” หมายความว่า สภาพหรือสภาวะที่อาจทำให้ลูกจ้างได้รับอันตรายจาก
การทำงาน
“บรรยายกาศอันตราย” หมายความว่า สภาพอากาศที่อาจทำให้ลูกจ้างได้รับอันตรายจาก
สภาวะอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
(1) มีออกซิเจนต่ำกว่าร้อยละ 19.5 หรือมากกว่าร้อยละ 23.5
(2) มีกา๊ ซ ไอ หรือละอองที่ติดไฟหรือระเบิดได้ เกินร้อยละ 10 ของค่าความเข้มข้นขั้นต่ำ
ของสารเคมีแต่ละชนิดทีอ่ าจติดไฟหรืออาจระเบิดได้
(3) มีฝุ่นที่ติดไฟหรือระเบิดได้
(4) มีค่าความเข้มข้นของสารเคมีแต่ละชนิดเกินมาตรฐานที่กำหนด
(5) สภาวะอื่นใดที่อาจเป็นอันตรายต่อร่างกายหรือชีวิต
ป้ายข้อความ ให้นายจ้างจัดทำป้ายข้อความ “ที่อับอากาศ อันตราย ห้ามเข้า” ติดตั้งไว้ทางเข้าออกของที่อับ ข้อ 2
อากาศ และต้องมีมาตรการควบคุมเพื่อความปลอดภัย
ห้ามเข้าในที่ ห้ามมิให้ลู กจ้างหรือบุคคลใดเข้าไปในที่อับอากาศ เว้นแต่ ได้ดำเนินการให้มีความปลอดภัย ข้อ 3
อับอากาศ และลูกจ้างหรือบุคคลนั้นได้รับอนุญาตจากผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการอนุญาต และเป็นผู้ได้รับ
การฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
ห้ ามให้ ลูกจ้ างหรื อบุ คคลที่เป็ นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคหั วใจ หรือโรคอื่นซึ่งแพทย์ ข้อ 4
เห็นว่าการเข้าไปในที่อับอากาศอาจเป็นอันตรายต่อบุคคลดังกล่าว
การประเมิน ให้ประเมินสภาพอันตรายในที่อับอากาศ ข้อ 5
อันตราย
การตรวจวัด ให้ตรวจวัด บันทึกผลการตรวจวัด และประเมินสภาพอากาศก่อนให้ลูกจ้างเข้าไปทำงานและ ข้อ 6
ระหว่างที่ลูกจ้างทำงานในที่อับอากาศ
การทำงานใน หากยังมีบ รรยากาศอัน ตรายอยู่แต่มีความจำเป็นต้องให้ ลูกจ้างหรือบุคคลใดเข้าไปในที่อั บ ข้อ 7
ที่อับอากาศ อากาศ ให้จัดให้มีการสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยที่เหมาะสม
ให้จัดให้มีลูกจ้างซึ่งได้รับการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศเป็นผู้ควบคุม ข้อ 8
งานประจำตลอดเวลา
ให้นายจ้างดำเนินการ ข้อ 9
- จัดอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล อุปกรณ์ช่วยเหลือ ช่วยชีวิต
- จัดให้มีลูกจ้างที่ได้รับการอบรมความปลอดภัยในที่อับอากาศ เป็นผู้ช่วยเหลือ
ให้จัดอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เหมาะสมในการใช้งานในที่อับอากาศ กรณีมีบรรยากาศอันตรายที่ไวไฟ ข้อ 14
หรือระเบิดได้ ต้องเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดที่ไม่เป็นต้นเหตุที่ก่อให้เกิดการติดไฟหรือระเบิดได้
ให้จัดอุปกรณ์ดับเพลิงที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ และเพียงพอ ข้อ 15
-๒-

เรื่อง รายละเอียด ข้อ


ห้ามอนุญาตให้ลูกจ้างทำงานต่อไปนี้ในที่อับอากาศ ข้อ 16
(1) งานที่ก่อให้เกิดความร้อนหรือประกายไฟ
(2) งานที่ใช้สารระเหยง่าย สารพิษ หรือสารไวไฟ
เว้นแต่นายจ้างได้จัดให้มีมาตรการความปลอดภัย ทั้งนี้ ลูกจ้างอาจปฏิเ สธการทำงานก็ได้
หากเห็นว่าไม่มีมาตรการรองรับเพื่อให้เกิดความปลอดภัย
การอนุญาต ให้ น าย จ้ า งมี ห น้ าที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ใน ก ารอ นุ ญ าต ให้ ลู ก จ้ างท ำงาน ใน ที่ อั บ อ าก าศ ข้อ 17
หรื อจะมอบหมายเป็ น หนั งสือให้ ลู กจ้ างซึ่งได้รับการฝึ กอบรมความปลอดภัยในการทำงาน
ในที่อับอากาศเป็นผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการอนุญาตแทนก็ได้
ให้ น ายจ้ างจั ดให้ มีห นั งสื อ อนุ ญ าตให้ ลู กจ้างทำงานในที่อับ อากาศทุ กครั้ง อย่างน้ อยต้องมี ข้อ 18
รายละเอียดตามที่กำหนด
ให้ เก็บ หนั งสื ออนุ ญ าตให้ ลู กจ้ างทำงานในที่ อับ อากาศไว้ให้ พ นั กงานตรวจความปลอดภั ย ข้อ 19
ตรวจสอบได้
การฝึกอบรม - ให้นายจ้างจัดให้มีการอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศแก่ลูกจ้างรวมทั้งผู้ ที่ ข้อ 20
เกี่ยวข้อง ตามหลักสูตรที่อธิบดีกำหนด
- กรณีนายจ้างไม่สามารถดำเนินการฝึกอบรมได้เอง ต้องให้นิติบุค คลที่ได้รับใบอนุญาตเป็น
ผู้ดำเนินการ
ให้เก็บหลักฐานการฝึกอบรมให้พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได้ ข้อ 21

กองนิติการ
1 ตุลาคม 2564
-๒- 7
กฎกระทรวง
กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน เกี่ยวกับงานประดาน้ำ
พ.ศ. 2563

เรื่อง รายละเอียด ข้อ


คำนิยาม งานประดาน้ำ นักประดาน้ำ หัวหน้านักประดาน้ำ พี่เลี้ยงนักประดาน้ำ นักประดาน้ำพร้อมดำ ข้อ 1
และผู้ควบคุมระบบการจ่ายอากาศและการติดต่อสื่อสาร
การบังคับใช้ ใช้บังคับสำหรับงานประดาน้ำที่ทำในน้ำลึกตั้งแต่ 10 ฟุต ไม่เกิน 300 ฟุต ข้อ 2
การแจ้ง นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานประดาน้ำ ณ สถานที่ใด หรือเปลี่ยนสถานที่การทำงานประดาน้ำ ข้อ 3
พตภ. ต้องแจ้งสถานที่นั้นให้พนักงานตรวจความปลอดภัยในเขตพื้นที่รับผิดชอบทราบล่วงหน้าก่อน
การทำงานไม่น้อยกว่า 7 วัน ตามแบบที่อธิบดีกำหนด
การตรวจ ต้องให้ลูกจ้างซึ่งทำงานประดาน้ำได้รับการตรวจสุขภาพ และจัดทำบัตรตรวจสุขภาพไว้ ตาม ข้อ 4
สุขภาพ หลักเกณฑ์ที่อธิบดีกำหนด
การ ลูกจ้างซึ่งทำงานประดาน้ำต้อง ข้อ 5
ปฏิบัติงาน - มีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปี บริบูรณ์
ประดาน้ำ - มีสุขภาพสมบูรณ์ ร่างกายแข็งแรง ไม่เป็นโรคตามที่อธิบดีกำหนด
- มี ค วามรู้ ค วามสามารถและประสบการณ์ โดยต้ อ งผ่ านการทดสอบตามหลั กสู ต ร
ตามมาตรฐานสากล หรือหน่วยงานของรัฐรับรอง หรือหลักสูตรที่อธิบดีกำหนด
ให้จัดให้มี ข้อ 6
- หัวหน้านักประดาน้ำ
- พี่เลี้ยงนักประดาน้ำ
- นักประดาน้ำ
- นักประดาน้ำพร้อมดำ
- ผู้ควบคุมระบบการจ่ายอากาศและการติดต่อสื่อสาร
การคุ้มครอง ให้น ายจ้างควบคุม ให้ ลูกจ้างปฏิบัติตามตารางมาตรฐานการดำน้ำ และการลดความกดดัน ข้อ 7
ความ การพักเพื่อปรับสภาพร่างกาย ตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีกำหนด
ปลอดภัยใน
การดำน้ำ นายจ้างต้องจัดให้มีลูกจ้างซึ่งทำงานประดาน้ำ เจ้าหน้าที่เวชศาสตร์ใต้น้ำ แพทย์เวชศาสตร์ ข้อ 8
ใต้น้ำ หรือแพทย์เวชศาสตร์ ทางทะเล และอุปกรณ์สำหรับงานประดาน้ำ ตามหลักเกณฑ์ที่
อธิบดีกำหนด
ต้ อ งจั ด ให้ มี ก ารปฐมพยาบาลเบื้ อ งต้ น และออกซิ เจน 100 เปอร์ เ ซ็ น ต์ พร้ อ มหน้ ากาก ข้อ 9
ช่วยหายใจ เพื่อช่วยเหลือลูกจ้างตลอดเวลาที่มีการดำน้ำ
ลูกจ้างมีสิทธิปฏิเสธการดำน้ำได้ หากเห็นว่าอาจก่อให้เกิดอันตราย ข้อ 10
นายจ้างและหัวหน้านักประดาน้ำต้องสั่งให้ลูกจ้างหยุดหรือเลิกการดำน้ำในกรณี ข้อ 11
- ไม่สามารถติดต่อสื่อสารกันได้
- เมื่อนักประดาน้ำต้องใช้อากาศสำรองจากขวดอากาศหรือขวดอากาศสำรอง
- เมื่อการดำน้ำในพื้นที่นั้นไม่ปลอดภัย
-๒-

เรื่อง รายละเอียด ข้อ


อุปกรณ์ ให้นายจ้างจัดให้มีอุปกรณ์สำหรับงานประดาน้ำ ดังนี้ ข้อ 12
สำหรับ 1) เครื่องประดาน้ำประเภทขวดอากาศ ประกอบด้วยอุปกรณ์อย่างน้อย 15 ชนิด
ประดาน้ำ 2) เครื่องประดาน้ ำประเภทใช้อากาศจากผิว น้ำ ประกอบด้ว ยอุปกรณ์ อย่างน้อย 13
ชนิด

กองนิติการ
1 ตุลาคม 2564
๒๕๖๔
สรุปสาระสำคัญกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานการตรวจสุขภาพ 8
ลูกจ้างซึง่ ทำงานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง พ.ศ. 2563

เรื่อง รายละเอียด ข้อ


นิยาม “งานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง” ได้แก่งานเกี่ยวกับ 1.สารเคมีอันตราย 2. จุลชีวันเป็นพิษที่อาจ ข้อ 2
เป็ น เชื้ อ ไวรั ส แบคที เรี ย รา หรื อ สารชี ว ภาพอื่ น ๆ 3. กั ม มั น ตภาพรั ง สี 4. ความร้ อ น
ความเย็น ความสั่ น สะเทือนความกดดันบรรยากาศ แสง และเสียง 5. สภาพแวดล้ อมอื่น
ทีอ่ าจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น ฝุ่นฝ้าย ฝุ่นไม้ ไอควันจากการเผาไหม้
การตรวจ ให้นายจ้างจัดให้มีการตรวจสุขภาพเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงตามระยะเวลา ดังนี้ ข้อ 3
สุขภาพ 1. การตรวจสุขภาพครั้งแรก ภายใน 30 วัน นับแต่ลูกจ้างเข้าทำงาน และตรวจครั้งต่อไปอย่างน้อย
ปีละ 1 ครั้ง
2. กรณี ลั กษณะหรื อสภาพของงานเกี่ ยวกั บปั จจัยเสี่ ยง จำเป็ นต้ องตรวจสุ ขภาพตามปั จจั ยอื่ น
ให้จัดให้มีการตรวจสุขภาพตามระยะเวลานั้น
3. กรณีเปลี่ยนงานที่ปัจจัยเสี่ยงของลูกจ้างแตกต่างไปจากเดิม ให้จัดให้มีการตรวจสุขภาพให้เสร็จ
ภายใน 30 วันนับแต่เปลี่ยนงาน
การตรวจสุขภาพให้กระทำโดยแพทย์สาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงอาชีวเวชศาสตร์ หรือผ่านการ
อบรมด้านอาชีวเวชศาสตร์
การตรวจ กรณีลูกจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงหยุดงานตั้งแต่ 3 วันทำงานติดต่อกันขึ้นไป ก่อนให้ ข้อ 4
สุขภาพกรณี ลูกจ้างกลับเข้าทำงาน ให้ขอความเห็นจากแพทย์ก่อน
เปลี่ยนงาน
สมุดสุขภาพ ให้จัดให้มีสมุดสุขภาพตามแบบทีอ่ ธิบดีกำหนด ข้อ 6
สมุดสุขภาพ จะจัดทำในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้
การเก็บ ให้เก็บบันทึกผลการตรวจสุขภาพ ไม่น้อยกว่า 2 ปี นับแต่วันสิ้นสุดการจ้างของแต่ละราย ข้อ 7
บันทึก เว้นแต่ผลการตรวจสุขภาพของลูกจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงที่อาจทำให้เกิดโรคมะเร็ง
จากการทำงาน ให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 10 ปี
การแจ้ง - กรณีผลการตรวจสุขภาพผิดปกติให้แจ้งแก่ลูกจ้างภายใน 3 วัน นับแต่วันทราบผลการตรวจ ข้อ 8
ผลตรวจ - กรณีผลการตรวจสุขภาพปกติ ให้แจ้งแก่ลูกจ้างทราบภายใน 7 วันนับแต่วันที่ทราบผลการตรวจ
- กรณีผลการตรวจผิดปกติ หรือลูกจ้างมีอาการ หรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน ให้จัดให้ลูกจ้าง ข้อ 9
ได้รับการรักษาพยาบาลทันที และให้ตรวจสอบหาสาเหตุความผิดปกติ
- ให้ส่งผลการตรวจสุขภาพลูกจ้างที่ผิดปกติ หรือที่มีอาการ หรือเจ็บป่วย การให้การรักษา และ
การป้องกันแก้ไขต่อพนักงานตรวจความปลอดภัย ตามแบบที่อธิบดีกำหนดภายใน 30 วัน นับแต่
วันที่ทราบความผิดปกติหรือการเจ็บป่วย
การขอ กรณีลูกจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงมีหลักฐานทางการแพทย์แสดงว่าไม่อาจทำงานในหน้าที่ ข้อ 10
เปลี่ยนงาน เดิมได้ ให้นายจ้างเปลี่ยนงานให้
การมอบ ให้มอบสมุดสุขภาพให้ลูกจ้างเมื่อสิ้นสุดการจ้าง ข้อ 11
สมุดสุขภาพ

กองนิติการ
1 ตุลาคม 2564
9
สรุปกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับนั่งร้านและค้ำยัน พ.ศ. 2564

เรื่อง รายละเอียด ข้อ


นิยาม “นั่งร้าน” หมายความว่า โครงสร้างชั่วคราวทีส่ ูงจากพื้นหรือพื้นของอาคาร หรือส่วน ข้อ 2
ของสิ่งก่อสร้าง สำหรับเป็นที่รองรับผู้ทำงาน วัสดุ หรือเครื่องมือและอุปกรณ์
“ค้ำยัน” หมายความว่า โครงชั่วคราวที่รองรับ ยึดโยง หรือเสริมความแข็งแรง ของ
โครงสร้างสิ่งก่อสร้าง นั่งร้าน แบบหล่อคอนกรีต หรือเครื่องจักรและอุปกรณ์ในระหว่าง
การก่อสร้าง
การติดตั้ง หรือการซ่อมบำรุง
อุปกรณ์ PPE ให้ลูกจ้างสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่เหมาะสม ข้อ 3
ข้อบังคับ ให้จัดให้มีข้อบังคับและขั้นตอนการปฏิบัติงาน รวมทั้งอบรมหรือชี้แจงให้ลูกจ้างทราบ ข้อ 4
ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน และมีสำเนาไว้ให้ พตภ.ตรวจ
ป้ายเตือน ต้องมีป้ายแสดง “เขตอันตราย” และมีสัญญาณไฟสีส้มในเวลากลางคืน ข้อ 5
อันตราย ติดตั้งป้ายสัญลักษณ์เตือนอันตรายและเครื่องหมายป้ายบังคับเกี่ยวกับความปลอดภัย ข้อ 6
การทำงานบน การสร้าง ประกอบ ติดตั้ง ทดสอบ ตรวจสอบ ใช้ เคลื่อนย้าย และรื้อถอนนั่งร้านต้อง ข้อ 7
นั่งร้าน ปฏิบัติตามรายละเอียดคุณลักษณะและคู่มือการใช้งานที่ผู้ผลิตกำหนด หากไม่มีต้องให้
วิศวกรเป็นผู้จัดทำ
ต้องจัดให้มีการคำนวณการออกแบบและควบคุมการใช้นั่งร้านโดยวิศวกร ตามหลักเกณฑ์ ข้อ 8
ฯที่อธิบดีกำหนด
ต้องไม่ให้ลูกจ้างทำงานในกรณี ข้อ 9
- นั่งร้านที่มีพื้นลื่น
- นั่งร้านที่มีส่วนหนึ่งส่วนใดชำรุดหรืออยู่ในสภาพที่อาจก่อให้เกิดอันตราย
- นั่งร้านที่อยู่ภายนอกอาคาร หรือส่วนอื่นที่อ่าจก่อให้เกิดอันตรายในขณะที่มีพายุ
ลมแรง ฝนตก หรือฟ้าคะนอง
การทำงานบนนั่งร้านหลายชั้นพร้อมกัน ต้องจัดให้มีมาตรการป้องกันวัสดุร่วงหล่น ข้อ 10
การตรวจสอบ ให้ตรวจสอบนั่งร้านทุกครั้งก่อนการใช้งานและทำรายงานผลการตรวจสอบไว้ ข้อ 11
การทำงานกับ การสร้าง ประกอบ หรือติดตั้งค้ำยัน ต้องจัดให้มีการคำนวณ ออกแบบและควบคุมโดย ข้อ 13
ค้ำยัน วิศวกร
ให้ตรวจสอบส่วนประกอบของค้ำยันและที่รองรับค้ำยันทุกครั้งก่อนการใช้งานและ ข้อ 14
ระหว่างใช้งาน
กรณีใช้ค้ำยันรองรับการเทคอนกรีต อุปกรณ์ เครื่องจักร ต้องมิให้บุคคลซึ่งไม่เกี่ยวข้องเข้า ข้อ 15
ไปอยู่ใน หรือใต้บริเวณนั้น

กองนิติการ
1 ตุลาคม 2564
10
สรุปกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการ
ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับงานก่อสร้าง
พ.ศ. 2564

เรื่อง รายละเอียด ข้อ


นิยาม “งานก่อสร้าง” หมายความว่า การก่อสร้างสิ่ งก่อสร้างทุกชนิด อาคาร สนามบิน ทางรถไฟ ข้อ 2
ทางรถราง ถนน อุโมงค์ ท่าเรือ คานเรือ สะพานเทียบเรือ สะพาน ทางน้ำ ท่อระบายน้ำ ประปา
รั้ว กำแพง ประตู ป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นสำหรับติดหรือตั้งป้าย พื้นที่หรือสิ่งก่อสร้างเพื่อจอดรถ
กลับรถ ทางเข้าออกของรถ และหมายความรวมถึงงานต่อเติม
งานที่ต้องแจ้ง ก่อนเริ่มงานก่อสร้างไม่น้อยกว่า 15 วัน ให้นายจ้างแจ้งข้อมูลงานก่อสร้างต่ออธิบดี ดังนี้ ข้อ 3
ต่ออธิบ - งานอาคารที่มีพื้นที่รวมกันทุกชั้น หรือชั้นใดชั้นหนึ่งเกิน 2,000 ตร.ม. หรืออาคารที่สูง
ตั้งแต่ 15 เมตรขึ้นไป และมีพื้นที่รวมกันทุกชั้น หรือชั้นใดชั้นหนึ่งเกิน 1,000 ตร.ม.
- งานอาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 23 เมตรขึ้นไป
- งานสะพานที่มีความยาวระหว่างกึ่งกลางตอม่อแรกถึงกึ่งกลางตอม่อสุดท้ายตั้งแต่ 30
เมตรขึ้นไป งานสะพานข้ามทางแยกหรือทางยกระดับ สะพานกลับรถ หรือทางแยกต่าง
ระดับ
- งานขุด งานซ่อมแซม หรืองานรื้อถอนระบบสาธารณูปโภคที่ลึกตั้งแต่ 3 เมตรขึ้นไป
- งานอุโมงค์หรือทางลอด
- งานก่อสร้างอื่นที่อธิบดีกำหนด
การจัดบันได กรณีให้ลูกจ้างทำงานก่อสร้างบนพื้นต่างระดับสูงตั้งแต่ 1.50 เมตรขึ้นไป ต้องจัดให้มีบันไดหรือ ข้อ 8
หรือทางลาด ทางลาดพร้อมทั้งติดตั้งราวกันตก
ป้ายแสดง ต้องติดป้ายแสดงหมายเลขโทรศัพท์ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ข้อ 12
หมายเลข
โทรศัพท์
สัญลักษณ์ ต้องติดป้ายสัญลักษณ์เตือนอันตรายและเครื่องหมายบังคับเกี่ยวกับความปลอดภัย ข้อ 13
เตือนอันตราย
เขตก่อสร้าง ต้องกำหนดบริเวณเขตก่อสร้าง โดยทำรั้วสูงไม่น้อยกว่า 2 เมตร ตลอดแนวเขตก่อสร้าง และมีป้าย ข้อ 15
“เขตก่อสร้าง”
เขตอันตราย ต้องกำหนดเขตอันตรายในเขตก่อสร้าง โดยทำรั้วหรือกั้นเขตด้วยวัสดุที่เหมาะสม และมีป้าย ข้อ 16
“เขตอันตราย” เวลากลางคืนต้องจัดให้มีสัญญาณไฟสีส้ม
ห้ามพักอาศัย ห้ามให้บุคคลใดเข้าพักหรืออาศัยในอาคารที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง ข้อ 17
ทางร่วม ทางร่วมหรือทางแยกในเขตก่อสร้าง ตั้งติดป้ายสัญลักษณ์เตือนหรือบังคับ และสัญญาณแสงสีส้ม ข้อ 19
ทางแยก และติดตั้งกระจกนูนเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 50 ซม.
งานเจาะ การเจาะหรือขุดรู หลุม บ่อ คู ต้องจัดให้มีราวกันตก และป้ายเตือนอันตราย เวลากลางคืนตั้งจัด ข้อ 23
และงานขุด ให้มีสัญญาณแสงสีส้มหรือป้ายสีสะท้อนแสง
การเจาะหรือขุดที่ลูกจ้างอาจพลัดตกต้องจัดให้มีแผ่นโลหะปิดคลุม และทำราวล้อมกั้น ข้อ 24
บริเวณที่มีการเจาะหรือขุด ต้องจัดให้มีปลอกเหล็ก แผ่นเหล็ก ค้ำยัน เพื่อป้องกันอันตรายจาก ข้อ 25
จากดินพังทลาย และต้องมีการตรวจสอบโดยได้รับความเห็นชอบจากวิศวกร
การเจาะหรือขุดที่ลึกตั้งแต่ 2 เมตรขึ้นไป ต้องจัดให้มีการคำนวณ ออกแบบ และกำหนดขั้นตอน ข้อ 26
การดำเนินการโดยวิศวกร และต้องติดตั้งสิ่งป้องกันดินพังทลายไว้ด้วย
เรื่อง รายละเอียด ข้อ
กรณีใช้ปั้นจั่นหรือเครื่องจักรหนักหรือมีกองวัสดุหรืออุปกรณ์หนักอยี่บริเวณใกล้ปากรู หลุม บ่อ ข้อ 27
คู ต้องจัดให้มีการป้องันดินพังทลายโดยติดตั้งเสาเข็มพืด หรือวิธีอื่นโดยได้รับความเห็นชอบเป็น
หนังสือจากวิศวกร
- กรณี ที่ ลู กจ้ างต้ องลงไปทำงานในรู หลุ ม บ่ อ คู ต้ องจั ดให้ มี มาตรการและอุ ปกรณ์ ข้อ 28
ป้ องกั นอั นตราย และต้ องแจ้ งให้ ลู กจ้างทราบถึงอั นตรายที่ อาจจะเกิดขึ้นก่อนเข้ า
ทำงาน
- กรณีต้องลงไปทำงานที่มีความลึกตั้งแต่ 2 เมตรขึ้นไป ต้องจัดให้มี
- ทางขึ้นลงที่มั่นคงปลอดภัย
- เครื่องสูบน้ำ
- ระบบการถ่ายเทอากาศ และแสงสว่าง
- ผู้ควบคุมงานเพื่อให้ความช่วยเหลือ
- อุปกรณ์การสื่อสาร
- สายหรือเชือกช่วยชีวิต และเข็มขัดนิรภัยพร้อมอุปกรณ์ที่สามารถเกาะเกี่ยวได้
ต้องไม่ให้ลูกจ้างลงไปทำงานที่มีขนาดกว้างน้อยกว่า 75 ซม. และลึกตั้งแต่ 2 เมตรขึ้นไป ข้อ 29
งานก่อสร้างที่มี เมื่อติดตั้งเครื่องตอกเสาเข็มแล้วเสร็จ ต้องจัดให้มีวิศวกรตรวจสอบและรับรองจึงใช้เครื่องตอก ข้อ 32
เสาเข็มและ เสาเข็มนั้นได้
กำแพงพืด บริเวณที่มี การตอกเสาเข็มหรือการทำงานขุดเจาะสำหรับงานเสาเข็ม ต้องไม่ให้ มีสิ่ งกีดขวาง ข้อ 39
สายตาผู้บังคับเครื่องตอกเสาเข็มหรือเครื่องขุดเจาะ
ต้องมีป้ายพิกัดน้ำหนักยกและป้ายแนะนำการใช้เครื่องตอกเสาเข็ม ข้อ 40
ต้องมีโครงเหล็กและหลังคาลาดตาข่ายกันขชองตกอยู่เหนือศีรษะของผู้บังคับเครื่องตอกเสาเข็ม ข้อ 41
เสาเข็มที่มีรูกลวงด้านในเสาเข็ม หรือรูกลวงบนพื้นดินที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 15 ซม. ข้อ 42
ขึ้นไป เมื่องานนั้นแล้วเสร็จแต่ละหลุมต้องปิดปากรูกลวงมิให้สิ่งของหรือผู้ใดตกไปในรูได้
งานเสาเข็มเจาะที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 70 ซม.ขึ้นไป ต้องมีวิศวกรประจำตลอดเวลาทำงาน ข้อ 43
ต้องมีวิศวกรซึ่งมีประสบการณ์ควบคุมงานด้านกำแพงพืดอยู่ประจำสถานที่ก่อสร้างตลอดเวลา ข้อ 45
ทำงาน
การใช้ลิฟต์ เมื่อติดตั้งลิฟต์ฯ แล้วเสร็จ ต้องให้มีการตรวจสอบก่อนใช้งานและรับรองโดยวิศวกร ข้อ 48
ชั่วคราว ต้องตรวจสอบส่ วนประกอบและอุปกรณ์ ของลิ ฟต์ฯ อย่างน้ อยเดือนละ 1 ครั้ง โดย ข้อ 49
ในงานก่อสร้าง วิศวกรเป็นผู้ควบคุม
ต้องติดป้ายบอกน้ำหนักบรรทุกสูงสุดและจำนวนผู้โดยสารสูงสุดให้เห็นอย่างชัดเจน ข้อ 50
ห้ามมิให้บุคคลใดโดยสารลิฟต์ขนส่งวัสดุชั่วคราว และติดป้ายห้ามที่ชัดเจน ข้อ 51
ห้ามมิให้บุคคลใดโดยสารบนหลังคาลิฟต์โดยสารชั่วคราว ข้อ 52
การใช้ลิฟต์ฯ ต้องดำเนินการให้เกิดความปลอดภัยฯ ดังนี้ ข้อ 53
- ให้มีข้อกำหนดการปฏิบัติงานติดไว้ที่มีการใช้ลิฟต์
- ให้มีลูกจ้างอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปี ที่ได้รับการฝึกอบรมเป็นผู้บังคับลิฟต์เวลาใช้
ลิฟต์
- มีหลังคาป้องกันอันตรายจากการตกหล่นของวัสดุสิ่งของบริเวณผู้บังคับลิฟต์
ทำงาน
- จัดให้มีสัญญาณเตือนเป็นเสียงหรือแสงเมื่อมีการใช้ลิฟต์
เรื่อง รายละเอียด ข้อ
เชือก ลวดสลิง - ต้องควบคุมดูแลให้มีการใช้เชือกหรือลวดสลิงที่มีขนาดเหมาะสมกับร่องรอก และเชือก ข้อ 54
และรอก หรือลวดสลิงต้องไม่ชำรุดเสียหาย จนทำให้ขาดความแข็งแรงทนทาน
- จุดที่เชือกหรือลวดสลิงจะครูดได้ ต้องจัดหาลูกกลิ้งรองเพื่อป้องกันการครูด ข้อ 55
ทางเดิน ในงานก่อสร้างที่มีทางเดินชั่วคราวยกระดับสูงตั้งแต่ 1.50 เมตรขึ้นไป ต้องสร้างทางเดินด้วย ข้อ 56
ชั่วคราว วัสดุที่มีความแข็งแรงสามารถรองรับน้ำหนักบรรทุกจรได้ ไม่น้อยกว่า 250 กิโลกรัมต่อ
ยกระดับสูง ตารางเมตร โดยมีความกว้างไม่น้อยกว่า 45 ซม. และมีราวกันตกตลอดทางเดิน
งานอุโมงค์ ต้องมีคู่มือการปฏิบัติงานในการทำงานในอุโมงค์ ให้ลูกจ้างอบรมก่อนเข้าทำงาน และอบรม ข้อ 57
ทบทวนหรือเพิ่มเติมไม่น้อยกว่าเดือนละ 1 ครั้ง
งานขุดเจาะอุโมงค์ ต้องมีวิศวกรเป็นผู้ออกแบบและกำหนดวิธีปฏิบัติงาน และควบคุมงาน ข้อ 58
ตลอดเวลา
งานก่อสร้าง ก่อนให้ลูกจ้างทำงานก่อสร้างในน้ำ นายจ้างต้องดำเนินการ ข้อ 59
ในน้ำ - จัดทำแผนการปฏิบัติงาน
- จำทำแผนฉุกเฉิน และจัดให้มีการอบรมและฝึกซ้อมตามแผนฉุกเฉิน
- จัดให้มีอุปกรณ์ช่วยชีวิต
- ตรวจสอบการขึ้นลงของระดับน้ำ
การใช้บริภัณฑ์ไฟฟ้าในงานก่อสร้างใต้น้ำต้องเป็นชนิดที่สามารถป้องกันน้ำและความชื้นซึ่งอาจ ข้อ 60
ทำให้ไฟฟ้าลัดวงจร หรือกรณีที่มีไอระเหยของสารเคมีที่มีความไวไฟ ต้องมีมาตรการป้องกันการ
ลุกไหม้หรือการระเบิดจากสารเคมีนั้น
การทำงานบนแคร่ลอย นั่ งร้าน หรือส่ วนของสิ่ งก่อสร้างเหนือพื้นน้ำ ต้องยึดโยงหรือติดตรึง ข้อ 61
โครงสร้างรองรับและโครงเครื่องจักร จัดทำและดูแลสะพานทางเดินและบันไดเชื่อมต่อระหว่าง
แคร่ลอยกับฝั่งให้มั่นคงปลอดภัย รวมถึงควบคุมให้ลูกจ้างสวมใส่ชูชีพตลอดเวลาทำงาน
งานรื้อถอน การรื้อถอนหรือทำลายสิ่งก่อสร้างที่ต้องขออนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร ต้อง ข้อ 62
หรือทำลาย เก็บเอกสารการอนุญาตให้ พตภ.ตรวจสอบ และต้องมีวิศวกรกำหนดขั้นตอนและวิธีการรื้อถอน
สิ่งก่อสร้าง หรือทำลาย จัดให้มีการอบรมหรือชี้แจงลูกจ้างเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการรื้อถอนทำลายก่อนเริ่ม
ปฏิบัติงาน
การรื้อถอนหรือทำลายสิ่งก่อสร้างที่ไม่ต้องขออนุญาต ต้องกำหนดขั้นตอนและวิธีการรื้อถอน ข้อ 63
หรือทำลายให้เหมาะสม รวมทั้งจัดอบรมหรือชี้แจงลูกจ้างก่อนปฏิบัติงาน และมีเอกสารให้ พตภ.
ตรวจ
การรื้อถอนหรือทำลายด้วยวัตถุระเบิดต้องจัดให้มีผู้ชำนาญการด้านวัตถุระเบิดและวิศวกรเป็นผู้ ข้อ 65
ควบคุมงานและกำหนดวิธีป้องกันอันตรายตลอดเวลาทำงาน

กองนิติการ
1 ตุลาคม 2564
สรุปกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการ 11
ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ในสถานทีท่ ี่มีอันตราย
จากการตกจากทีส่ ูงและที่ลาดชัน จากวัสดุกระเด็น ตกหล่น และพังทลาย
และจากการตกลงไปในภาชนะเก็บหรือรองรับวัสดุ พ.ศ. 2564

เรื่อง รายละเอียด ข้อ


นิยาม “ทำงานในที่สูง” หมายความว่า การทำงานในพื้นที่ปฏิบัติงานที่สูงจากพื้นดิน หรือจาก ข้อ 1
พื้นอาคารตั้งแต่ 2 เมตรขึ้นไป
“นั่งร้าน” หมายความว่า โครงสร้างชั่วคราวที่สูงจากพื้นดินหรือจากพื้นอาคาร หรือส่วน
ของสิ่งก่อสร้าง สำหรับเป็นที่รองรับลูกจ้าง วัสดุ หรือเครื่องมืออุปกรณ์
“อาคาร” หมายความว่า อาคารตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
ข้อบังคับ ต้องมีข้อบังคับและขั้นตอนการปฏิบัติงาน ในการทำงานในที่สูงฯ ข้อ 2
การป้องกันการ การประกอบ ติดตั้ง ตรวจสอบ และการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากการตกจากที่สูงฯ ให้ปฏิบัติ ข้อ 3
ตกจากที่สูง ตามคู่มือที่ผู้ผลิตกำหนด หากไม่มีต้องให้วิศวกรเป็นผู้จัดทำคู่มือการใช้งาน
และที่ลาดชัน ต้องจัดให้มีอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลตลอดเวลาที่ลูกจ้างทำงาน ข้อ 4
- กรณีต้องทำราวกั้นหรือรั้วกันตก ต้องมีความสูงไม่น้อยกว่า 90 ซม. แต่ไม่เกิน 1.10 เมตร ข้อ 6
- กรณีใช้แผงทึบแทนราวกั้นหรือรั้วกันตก ต้องมีความสูงไม่น้อยกว่า 90 ซม.
กรณีให้ลูกจ้างทำงานในที่สูง ต้องมีนั่งร้านหรือวิธีการอื่นใดที่เหมาะสมกับสภาพงาน ข้อ 8
การทำงานในที่สูงตั้งแต่ 4 เมตรขึ้นไป ต้องจัดทำราวกั้นหรือรั้วกันตก ตาข่ายนิรภัย หรืออุปกรณ์ ข้อ 9
ป้องกันอื่นใด ต้องให้มีการใช้เข็มขัดนิรภัยและเชือกนิรภัยหรือสายช่วยชีวิตตลอดเวลาทำงาน
กรณีมีปล่องหรือช่องเปิด ซึ่งอาจทำให้ลูกจ้างพลัดตก ต้องจัดทำฝาปิด ราวกั้น รั้วกันตก หรือแผง ข้อ 10
ทึบ พร้อมติดป้ายเตือนอันตราย
ต้องมิให้ลูกจ้างทำงานในที่สูงนอกอาคารหรือพื้นที่เปิดโล่ง ในขณะมีพายุ ลมแรง ฝนตกหรือฟ้า ข้อ 11
คะนอง
การใช้บันไดไต่ชนิดเคลื่อนย้ายได้เพื่อทำงานในที่สูง ต้องตั้งบันไดให้ระยะระหว่างฐานบันไดถึงผนัง ข้อ 12
ที่วางพาดบันไดกับความยาวของช่วงบันไดนับจากฐานถึงจุดพาด มีอัตราส่วน 1 ต่อ 4 หรือมีมุม
บันได้ตรงข้ามผนัง 75 องศา
บันไดไตชนิดตรึงกับที่ที่มีความสูงเกิน 6 เมตรขึ้นไป ต้องจัดทำโกร่งบันไดป้องกันการพลัดตก ข้อ 13
- การทำงานบนที่ลาดชันที่ทำมุมเกิน 15 องศา แต่ไม่เกิน 30 องศาจากแนวราบ และมี ข้อ 15
ความสูงของพื้นระดับที่เอียงตั้งแต่ 2 เมตรขึ้นไป ต้องมีนั่งร้าน หรือเข็มขัดนิรภัยและ
เชือกนิรภัย หรือสายช่วยชีวิต
- การทำงานบนที่ลาดชันที่ทำมุมเกิน 30 องศา จากแนวราบ และมีความสูงของพื้นระดับที่
เอี ยงตั้ งแต่ 2 เมตรขึ้ นไป ต้ องมี นั่ งร้านที่ เหมาะสมกั บสภาพของงาน หรื อมาตรการ
ป้องกันการพลัดตกที่เหมาะสม และเข็มขัดนิรภัยและเชือกนิรภัย หรือสายช่วยชีวิต
การป้องกัน ต้องกำหนดเขตอันตรายบริเวณพื้นที่ที่อาจมีการกระเด็น ตกหล่น หรือพังทลาย และติด ข้อ 17
อันตรายจาก ป้ายเตือนอันตราย
วัสดุกระเด็น กรณีมีวัสดุสิ่งของอยู่บนที่สูงที่อาจกระเด็น ตกหล่น หรือพังทลายลงมาได้ ต้องจัดทำขอบ ข้อ 18
ตกหล่น และ กันของตก
พังทลาย
เรื่อง รายละเอียด ข้อ
บริเวณที่เก็บหรือกองวัสดุที่อาจทำให้ เกิดอันตรายจากการตกหล่นฯ ต้องจัดเรียงวัสดุ ข้อ 20
สิ่งของให้เกิดความมั่นคงปลอดภัย ทำผนังกั้น
กรณีให้ลูกจ้างทำงานในท่อ ช่อง โพรง บ่อ ที่อาจเกิดการพังทลายได้ ต้องจัดทำผนังกั้น ข้อ 21
ค้ำยัน หรือวิธีการอื่นใดที่ป้องกันอันตรายได้
การป้องกัน - กรณีให้ลูกจ้างทำงานในบริเวณหรือสถานที่ หรือลักษณะการทำงานอาจทำให้ ข้อ 22
อันตรายจาก ลูกจ้างได้รับอันตรายจากการตกลงไปในภาชนะเก็บหรือรองรับวัสดุ ต้องจัดให้มี
การตกลงไปใน สิ่งปิดกั้น จัดทำราวกั้นหรือรั้วกันตก
ภาชนะเก็บหรือ - กรณีไม่อาจดำเนินการต้องจัดให้ลูกจ้างสวมใส่เข็มขัดนิรภัยและเชือกนิรภัยหรือ
รองรับวัสดุ สายช่วยชีวิตตลอดระยะเวลาการทำงาน
- ต้องไม่ให้ลูกจ้างทำงานบนภาชนะเก็บหรือรองรับวัสดุ ที่ลูกจ้างอาจพลัดตกลงไป ข้อ 23
ได้ เว้นแต่ได้จัดให้มีสิ่งปิดกั้น จัดทำราวกันตกหรือรั้วกันตก หรือให้ลูกจ้างสวมใส่
เข็มขัดนิรภัยและเชือกนิรภัย หรือสายช่วยชีวิตตลอดการทำงาน
- กรณี ให้ ลูกจ้ างทำงานบนภาชนะเก็บหรือรองรับวัสดุที่สูงตั้งแต่ 4 เมตรขึ้นไป
ต้องจัดให้มีสิ่งปิดกั้น จำทำราวกั้นหรือรั้วกันตก หรือสิ่งป้องกันอื่นใด และต้องให้
สวมใส่เข็มขัดนิรภัยและเชือกนิรภัยหรือสายช่วยชีวิตตลอดการทำงานด้วย

กองนิติการ
1 ตุลาคม 2564
12
สรุปกฎกระทรวงการขึ้นทะเบียนและการอนุญาตให้บริการเพื่อส่งเสริม
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
พ.ศ. 2564

เรื่อง รายละเอียด ข้อ

นิยาม “ใบสำคั ญ ” หมายความว่ า ใบสำคั ญ การขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารด้ า นความ ข้อ 3
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานตามมาตรา 9
“ใบอนุ ญ าต” หมายความว่ า ใบอนุ ญ าตเป็ น ผู้ ให้ บ ริ ก ารด้ า นความปลอดภั ย อาชี ว
อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานตามมาตรา 11
ประเภทการ การขึ้นทะเบียนและการอนุญาตให้บริการด้านความปลอดภัยฯ แบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้ ข้อ 4
ขึ้นทะเบียน 1. การตรวจวัด ตรวจสอบ ทดสอบ และรับรอง
และการ 2. การประเมินความเสี่ยง
อนุญาต 3. การจัดฝึกอบรมหรือให้คำปรึกษา
การยื่น การยื่นคำขอให้ดำเนินการโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นหลัก ข้อ 5
คำขอ
ใบรับคำขอ ใบรับคำขอ ให้เป็นไปตามแบบที่อธิบดีกำหนด ข้อ 6
คุณสมบัติ บุคคลธรรมดาเท่านั้นที่ขอขึ้นทะเบียนได้ โดยต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ ข้อ 7
ผู้ขอขึ้น (1) สัญชาติไทย
ทะเบียน (2) อายุไม่ตำ่ กว่า 20 ปี
(3) สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีดา้ นวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ สาธารณสุข
ศาสตร์ หรือด้านอื่น ในสาขาที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยฯ
(4) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ
(5) ไม่เคยถูกเพิกถอนการขึ้นทะเบียนในประเภทที่ขอขึ้นทะเบียน เว้นแต่พ้นกำหนด 3 ปี
นับแต่วันที่ถูกเพิกถอน
(6) ไม่เคยเป็นผู้กระทำการแทนนิติบุคคลซึ่งถูกเพิกถอนใบอนุญาตในประเภทที่ขออนุญาต
เว้นแต่พ้นกำหนด 5 ปี นับแต่วันที่ถูกเพิกถอน
คุณสมบัติ นิติบุคคลเท่านั้นที่ขอรับใบอนุญาตได้ โดยต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ ข้อ 8
ผู้ขอ (1) เป็นนิติบุคคลตามกฎหมายไทย
อนุญาต (2) มีวัตถุประสงค์ในการให้บริการด้านความปลอดภัย
(3) ไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตในประเภทที่ขออนุญาต เว้นแต่พ้นกำหนด 3 ปี นับแต่วันที่
ถูกเพิกถอน
(4) ผู้กระทำการแทนนิติบุคคลต้องไม่เคยถูกเพิกถอนการขึน้ ทะเบียนในประเภทที่ขอขึ้น
ทะเบียน เว้นแต่พ้นกำหนด 3 ปี นับแต่วันที่ถูกเพิกถอน
(5) ผู้กระทำการแทนนิติบุคคลต้องไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตในประเภทที่ขออนุญาต
เว้นแต่พ้นกำหนด 5 ปี นับแต่วันที่ถูกเพิกถอน
(6) มีบุคลากรซึ่งสำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าทางด้าน
วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ หรือด้านอื่น ในสาขาที่เกี่ยวข้องกับ
ความปลอดภัยฯ ตามประเภทงานที่ขออนุญาต
เรื่อง รายละเอียด ข้อ
วิธีการขึ้น บุคคลธรรมดาประสงค์จะขอขึ้นทะเบียนหรือนิติบุคคลประสงค์จะขออนุญาต ให้ยื่นคำขอ ข้อ 10
ทะเบียน พร้อมด้วยข้อมูล เอกสารหลักฐานตามที่กำหนดต่ออธิบดี ข้อ 11
และการ
อนุญาต - เมื่อได้รับคำขอให้อธิบดีตรวจสอบคำขอ ถ้าถูกต้องและครบถ้วน ให้ออกใบรับคำขอ ข้อ 12
แก่ผู้ขอ หากไม่ถูกต้องให้บันทึกความบกพร่องไว้และแจ้งให้แก้ไขภายในระยะเวลาที่
กำหนด
- หากไม่แก้ไขภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้ถือว่าผู้ขอไม่ประสงค์จะให้ดำเนินการ
ต่อไป ให้จำหน่ายเรื่องออกจากสารบบ
- กรณีคำขอถูกต้องเอกสารหลักฐานครบถ้วน ให้ อธิบดีพิจารณาคำขอให้แล้วเสร็จ ข้อ 13
ภายใน 60 วัน
- กรณีมีคำสั่งไม่รับขึ้นทะเบียนหรือมีคำสั่งไม่อนุญาต ให้ มีหนังสือแจ้งให้ผู้ขอทราบ
ภายใน 7 วัน นับแต่วันที่มีคำสั่ง
- กรณีมีคำสั่งขึ้นทะเบียนหรือมีคำสั่งอนุญาต ให้ มีหนังสือแจ้งผู้ขอภายใน 7 วัน นับ ข้อ 14
แต่มีคำสั่ง และให้ผู้ขอชำระค่าธรรมเนียมภายใน 30 วัน เมื่อชำระค่าธรรมเนียมแล้ว
ให้ออกใบสำคัญหรือใบอนุญาตตามแบบที่อธิบดีประกาศกำหนด
- กรณีไม่ชำระค่าธรรมเนียมภายในกำหนด ให้ถือว่าผู้ขอไม่ประสงค์จะขึ้นทะเบียน ให้
จำหน่ายเรื่องออกจากสารบบ
อายุใบ ใบอนุญาตให้มีอายุ 3 ปี นับแต่วันออกใบอนุญาต ข้อ 15
อนุญาตและ ผู้ประสงค์ต่ออายุใบอนุญาตให้ยื่นคำขอต่อภายใน 90 วัน ก่อนใบอนุญาตเดิมสิ้นอายุ ข้อ 16
การต่ออายุ
ค่าบริการ 1. ค่าบริการที่ผู้รับใบสำคัญหรือผู้รับใบอนุญาตจะเรียกเก็บ ต้องไม่เกิน 1 เท่าของจำนวน ข้อ 22
ค่าใช้จ่ายในการให้บริการ
ค่า ให้กำหนดค่าธรรมเนียม ดังนี้ ข้อ 24
ธรรมเนียม (1) ใบอนุญาต ฉบับละ 20,000 บาท
(2) ใบสำคัญ ฉบับละ 5,000 บาท
(3) ใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ 500 บาท
(4) ใบแทนใบสำคัญ ฉบับละ 500 บาท
(5) การต่ออายุใบอนุญาต ครั้งละเท่ากับค่าธรรมเนียมใบอนุญาต

กองนิติการ
1 ตุลาคม 2564
13

สรุปสาระสำคัญของกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการ


ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
เกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจัน่ และหม้อน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๔

เรื่อง รายละเอียด ข้อ


นิยาม “เครื่องจักร” หมายความว่า สิ่งที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนหลายชิ้นสำหรับก่อกำเนิดพลังงาน ข้อ 3
เปลี่ยนหรือแปลงสภาพพลังงาน หรือส่งพลังงาน ทัง้ นี้ ด้วยกำลังน้ำ ไอน้ำ เชื้อเพลิง ลม
ก๊าซ แสงอาทิตย์ ไฟฟ้า หรือพลังงานอื่น และหมายความรวมถึงเครื่องอุปกรณ์ ล้อตุน
กำลัง รอก สายพาน เพลา เฟือง หรือสิ่งอื่นที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งเครื่องมือกล
“ปั้นจั่น” หมายความว่า เครื่องจักรที่ใช้ยกสิ่งของขึ้นลงตามแนวดิ่ง และเคลื่อนย้าย
สิ่งของเหล่านั้นในลักษณะแขวนลอยไปตามแนวราบ
“หม้อน้ำ” (boiler) หมายความว่า ภาชนะปิดที่ผลิตน้ำร้อนหรือไอน้ำที่มีความดันสูงกว่า
บรรยากาศโดยใช้ความร้อนจากการสันดาปของเชื้อเพลิงหรือความร้อนจากพลังงานอื่น
การทำงานกับ ต้องดูแลให้ลูกจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรสวมใส่เครื่องนุ่งห่มให้เรียบร้อย ไม่สวม ข้อ 6
เครื่องจักร เครื่องประดับที่อาจเกี่ยวโยงได้ ให้รวบผมให้อยู่ในลักษณะที่ปลอดภัย
การติดตั้ง ซ่อมแซมเครื่องจักร ต้องติดป้ายให้เห็นชัดเจน จัดให้มีระบบป้องกันมิให้ ข้อ 7
เครื่องจักรทำงาน และแขวนป้ายห้ามเปิดสวิตช์ไว้ที่สวิตช์ของเครื่องจักร
การทำงานกับเครื่องปั๊มโลหะ เครื่องขัด เครื่องกัด เครื่องตัด เครื่องกลึง เครื่องไส ข้อ 11
เครื่องเจีย เครื่องเจาะ เครื่องพับ เครื่องม้วน ต้องมีวิธีการทำงานกับเครื่องจักรนั้นติดไว้
บริเวณลูกจ้างทำงาน
การทำงานกับเครื่องปั๊มโลหะ เครื่องเชื่อมไฟฟ้า เครื่องเชื่อมก๊าซ ต้องให้ลูกจ้างผ่านการ ข้อ 13
อบรมตามหลักสูตรที่อธิบประกาศกำหนด
ต้องจัดให้มีการป้องกันมิให้ลูกจ้างได้รับอันตรายจากเครื่องจักร ดังนี้ ข้อ 15
- เครื่องจักรใช้พลังงานไฟฟ้า ต้องมีระบบป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่ว และต้องต่อสาย
ดิน สายไฟฟ้าที่เข้าเครื่องจักรต้องเดินมาจากที่สูง กรณีเดินสายไฟฟ้าบนพื้นดิน
หรือฝังดินต้องใช้ท่อร้อยสายไฟฟ้า
- เครื่องจักรที่มีการถ่ายทอดพลังงานโดยใช้เพลา สายพาน รอก เครื่องอุปกรณ์ล้อ
ตุนกำลัง ต้องมีตะแกรงครอบส่วนที่หมุนได้ ถ้าส่วนที่หมุนได้สูงกว่า 2 เมตร ตั้งมี
รั้วหรือตะแกรงสูงไม่น้อยกว่า 2 เมตร
- เครื่องจักรที่มีใบเลื่อยวงเดือนหรือใบเลื่อยสายพาน เครื่องขึ้นรูปพลาสติก ต้องมี
เครื่องป้องกันอันตราย
- เครื่องจักรที่ใช้เป็นเครื่องลับ ฝน หรือแต่งผิวโลหะแล้วก่อให้เกิดประกายไฟ ต้อง
มีเครื่องปิดบังประกายไฟ
ทางเดินเข้าออกจากพื้นที่ปฏิบัติงานกับเครื่องจักรต้องมีความกว้างไม่นอ้ ยกว่า 80 ซม. ข้อ 17
ต้องทำรั้ว คอกกั้น หรือเส้นแสดงเขตอันตราย บริเวณที่ต้งั เครื่องจักร ข้อ 18
ต้องมีอุปกรณ์ฉุกเฉินที่สามารถหยุดการทำงานของสายพานได้ทันที ข้อ 19
เรื่อง รายละเอียด ข้อ
เครื่องปัม๊ โลหะ ต้องจัดให้มีเครื่องป้องกันอันตรายจากเครื่องปั๊มโลหะ ข้อ 22
- เครื่องปั๊มโลหะที่ใช้มือป้อนวัสดุ ให้ใช้สวิตช์แบบต้องกดพร้อมกันทั้ง 2 มือ และ ข้อ 23
สวิตช์ห่างกันไม่น้อยกว่า 30 ซม.
- เครื่องปั๊มโลหะแบบใช้เท้าเหยียบ ต้องมีที่พักเท้าโดยมีที่ครอบป้องกันมิให้เหยียบ
โดยไม่ตั้งใจ
- เครื่องปั๊มโลหะที่ใช้คันโยก ตั้งมีสลักบนคันโยกที่ป้องกันมิให้เครื่องทำงานด้วย
เหตุบังเอิญได้
- เครื่องปั๊มโลหะที่ใช้น้ำหนักเหวี่ยง ให้ติดตั้งตุ้มน้ำหนักเหวี่ยงสูงกว่าศีรษะผู้
ผู้ปฏิบัติงานตามระยะที่กำหนด และต้องไม่มีสายไฟฟ้าในรัศมีของน้ำหนักเหวี่ยง
เครื่องเชื่อม ก่อนใช้งานเครื่องเชื่อมไฟฟ้าและเครื่องเชื่อมก๊าซ ต้องปฏิบัติดังนี้ ข้อ 26
- มีเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้
- มีอุปกรณ์ PPE
ฯลฯ
ต้องจัดให้มีอุปกรณ์กันเปลวไฟย้อนกลับติดไว้ระหว่างหัวเชื่อม หัวตัด หรือหัวเผากับ ข้อ 31
ถังบรรจุก๊าซออกซิเจน และถังบรรจุก๊าซไวไฟขณะใช้งาน
ต้องจัดให้มีการยึดถังป้องกันถังล้ม ข้อ 32
รถยก การทำงานเกี่ยวกับรถยกต้องปฏิบัติ ดังนี้ ข้อ 34
- มีป้ายบอกพิกัดน้ำหนักยกไว้ที่รถยก
- มีเอกสารการตรวจสอบก่อนการใช้งานทุกครั้ง
- มีสัญญาณเสียงหรือแสงไฟเตือนขณะทำงาน
ต้องตีเส้นช่องทางเดินรถยก ข้อ 37
ต้องติดตั้งกระจกนูนบริเวณทางแยกหรือทางโค้งที่มองไม่เห็นเส้นทางข้างหน้า ข้อ 38
ลูกจ้างซึ่งจะทำหน้าที่ขับรถยก ต้องผ่านการฝึกอบรมตามหลักสูตรที่อธิบดีกำหนด ข้อ 40
ต้องไม่ให้บุคคลอื่นโดยสารหรือขึ้นไปบนส่วนหนี่งส่วนใดของรถยก ข้อ 42
ลิฟต์โดยสาร กรณีมีลิฟต์โดยสาร ต้องปฏิบัติดังนี้ ข้อ 43
- ต้องมีเอกสารการตรวจสอบความพร้อมของลิฟต์ทุกวัน
- ให้มีระบบสัญญาณเตือน และมีอุปกรณ์ตัดระบบการทำงานของลิฟต์เมื่อบรรทุก
น้ำหนักเกินพิกัด
- จัดทำข้อห้ามการใช้ลิฟต์ติดไว้ที่ข้างประตูลิฟต์ด้านนอกทุกชั้น
- จัดทำป้ายบอกพิกัดน้ำหนักและจำนวนคนโดยสารติดไว้ในห้องลิฟต์
ต้องทดสอบชิ้นส่วนและอุปกรณ์ของลิฟต์อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ข้อ 45
ต้องมีเอกสารการทดสอบระบบความปลอดภัยและระบบการทำงานของลิฟต์ทุกเดือน ข้อ 46
เรื่อง รายละเอียด ข้อ
เครื่องจักรยกคน การทำงานกับเครื่องจักรยกคนขึ้นทำงานบนที่สูง ต้องปฏิบัติดังนี้ ข้อ 49
ทำงานบนที่สูง - ให้มกี ารป้องกันการตกจากที่สูง
- มีป้ายบอกพิกัดน้ำหนักและจำนวนคนที่สามารถยกได้อย่างปลอดภัย
- มีเอกสารการตรวจสอบสภาพเครื่องจักรก่อนการใช้งานทุกครั้ง
- มีสัญญาณเสียงหรือแสงไฟเตือนภัยขณะทำงาน
- มีอุปกรณ์ตัดระบบการทำงานเมื่อใช้งานเกินพิกัด
ต้องจัดให้มีการอบรมลูกจ้างเกี่ยวกับการปฏิบัติตามคู่มือการใช้งานเครื่องจักรสำหรับใช้ ข้อ 53
ยกคนขึ้นทำงานบนที่สูง
รอก การใช้รอก ต้องปฏิบัติดังนี้ ข้อ 55
- มีสำเนาเอกสารการตรวจสอบความพร้อมของรอกทุกวัน
- มีป้ายบอกพิกัดน้ำหนักยก
- ควบคุมมิให้บุคคลใดเกาะเกี่ยวกับไปส่วนหนึ่งส่วนใดของรอกหรือไปกับวัสดุ
สิ่งของที่ทำการยก หรืออยู่ภายใต้วัสดุสิ่งของที่ทำการยก
- รอกที่มีขนาดพิกัดน้ำหนักยกตั้งแต่ 1 ตันขึ้นไป ต้องจัดให้มีการทดสอบ
ส่วนประกอบและอุปกรณ์ของรอกอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ปั้นจั่น - ต้องมีเอกสารการทดสอบการติดตั้งปั้นจั่นเมื่อติดตั้งเสร็จ ข้อ 57
- กรณี ห ยุ ดใช้งานปั้น จั่นตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป ก่อนนำปั้น จั่นมาใช้งานใหม่ต้ อง
ทดสอบการติดตั้งด้วย
ต้องมีเอกสารการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นตามแบบที่อธิบประกาศ ข้อ 58
กำหนด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ต้องมีสัญญาณเสียงและแสงไฟเตือนภัยตลอดเวลาที่ปั้นจั่นทำงานให้เห็นและได้ยินชัดเจน ข้อ 64
ต้องมีป้ายบอกพิกัดน้ำหนักยกไว้ที่ปั้นจั่นและรอกของตะขอ ข้อ 65
ต้องจัดทำเส้นแสดงเขตอันตราย เครื่องหมายแสดงเขตอันตราย หรือเครื่องกั้นเขต ข้อ 66
อันตรายในเส้นทางที่มีการใช้ปนั้ จั่นเคลื่อนย้ายสิ่งของ
ต้องมีคู่มือการใช้สัญญาณสื่อสารระหว่างผู้ปฏิบัติเกี่ยวกับปั้นจั่น ข้อ 67
ต้องปิดประกาศวิธีการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่นไว้บริเวณลูกจ้างทำงาน ข้อ 70
ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณ หรือผู้ควบคุมปั้นจั่น ต้องผ่านการอบรมตามหลักสูตรที่อธิบดี ข้อ 72
กำหนด
ปั้นจั่นเหนือศีรษะหรือปั้นจั่นขาสูงที่เคลื่อนที่บนราง ต้องมีสวิตช์หยุดการทำงานโดย ข้อ 73
อัตโนมัติ และมีกันชนหรือกันกระแทกที่ปลายทั้งสองข้างของราง
กรณีให้ลูกจ้างขึ้นไปทำงานบนปั้นจั่นที่มีความสูงเกิน 2 เมตร ตั้งมีบันไดพร้อมราวจับและ ข้อ 75
โครงโลหะกันตก
กรณีลูกจ้างปฏิบัติงานบนแขนปั้นจั่น ต้องมีมาตรการป้องกันการพลัดตก และให้ลูกจ้าง ข้อ 76
สวมใส่เข็มขัดนิรภัยและสายช่วยชีวิตตลอดเวลาทำงาน
ต้องมีป้ายกำหนดวิธีการทำงาน การตรวจสอบอุปกรณ์ประกอบและการแก้ไขข้อขัดข้อง ข้อ 98
ข้อปฏิบัติกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินในการใช้หม้อน้ำไว้บริเวณที่ลูกจ้างปฏิบัติงาน
เรื่อง รายละเอียด ข้อ
หม้อน้ำ ผู้ควบคุมหม้อน้ำ ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ ข้อ 99
- ผ่านการอบรมหลักสูตรผู้ควบคุมหม้อน้ำ
- มีคุณวุฒิตามที่กำหนด เช่น ปวส.สาขาช่างกลโรงงาน สาขาช่างยนต์ ช่างเทคนิค
อุตสาหกรรม ช่างเทคนิคการผลิต ฯลฯ
ต้องให้ลูกจ้างผู้ปฏิบัติหน้าที่ควบคุมหม้อน้ำผ่านการฝึกอบรมแนวทางการปฏิบัติที่ดี ข้อ 100
เกี่ยวกับการใช้งาน อย่างน้อย 2 ปี ต่อ 1 ครั้ง ตามหลักสูตรที่อธิบประกาศกำหนด
สถานที่ติดตั้งหม้อน้ำ ต้องจัดให้มีลักษณะ ดังนี้ ข้อ 104
- มีทางเข้าออกอย่างน้อย 2 ทาง มีความกว้างไม่น้อยกว่า 60 ซม. สูงไม่น้อยกว่า
2 เมตร
- มีแสงสว่างในการอ่านค่าและควบคุมเครื่องวัดและอุปกรณ์ได้อย่างสะดวก
- มีระบบไฟฉุกเฉินส่องไปยังทางออกและเครื่องวัด
ต้องมีการทดสอบความปลอดภัยในการใช้หม้อน้ำและหม้อต้ม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ตาม ข้อ 109
แบบที่อธิบดีประกาศกำหนด และแจ้งผลการทดสอบต่อพนักงานตรวจความปลอดภัยไม่ ข้อ 111
เกิน 30 วัน นับแต่วันที่มีการทดสอบ
อุปกรณ์คุ้มครอง กรณีไม่สามารถจัดสภาพแวดล้อมให้อยู่ในลักษณะที่ปลอดภัยได้ ต้องจัดหาอุปกรณ์ PPE ข้อ 119
ความปลอดภัย ให้ลูกจ้างสวมใส่
ส่วนบุคลล ต้องจัดให้มีอุปกรณ์ PPE ที่ได้มาตรฐานตามประเภทและชนิดของงาน และดูแลให้ลูกจ้าง ข้อ 120
ใช้ตลอดเวลาที่ทำงาน ดังนี้
- งานเชื่อมหรือตัดชิ้นงานด้วยไฟฟ้า ก๊าซ
- งานลับ ฝน หรือแต่งผิวโลหะด้วยหินเจีย
- งานกลึง ไส ตัดโลหะหรือไม้
- งานปั๊มโลหะ
- งานชุบโลหะ
- งานพ่นสี
- งานยก ขนย้าย หรือติดตั้ง
- งานควบคุมเครื่องจักร
- งานปั้นจั่น
- งานหม้อน้ำ

กองนิติการ
กันยายน 2564
14

กฎกระทรวงการขึ้นทะเบียนและการอนุญาตให้บริการเพื่อส่งเสริมความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2564

เรื่อง รายละเอียด ข้อ

วันใช้บังคับ 26 กันยายน 2564 ข้อ 1


ยกเลิกกฎเดิม ยกเลิกกฎกระทรวงการเป็นหน่วยงานฝึกอบรมการดับเพลิงขึ้นต้น และการเป็น ข้อ 2
หน่วยงานฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ พ.ศ. 2556
คำนิยาม “ใบสำคัญ” = ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ให้บริการด้านความปลอดภัยฯ ข้อ 3
ตามมาตรา 9
“ใบอนุญาต” = ใบอนุญาตเป็นผู้ให้บริการด้านความปลอดภัยฯ ตามมาตรา 11
ประเภทการ แบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้ ข้อ 4
ขึ้นทะเบียน/ 1) การตรวจวัด ตรวจสอบ ทดสอบ และรับรอง
อนุญาต 2) การประเมินความเสี่ยง
3) การจัดฝึกอบรมหรือให้คำปรึกษา
การยื่นคำขอ การยื่นคำขอ ขึ้นทะเบียน ออกใบสำคัญ ออกใบแทนฯ การอนุญาต การแจ้ง ข้อ 5
หรือรายงาน ให้ดำเนินการโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นหลัก
แบบคำขอ/ ให้เป็นไปตามแบบที่อธิบดีกำหนด ข้อ 6
ใบอนุญาต
คุณสมบัติผู้ขอ 1) มีสัญชาติไทย 2) อายุไม่ต่ำกว่า 20 ปี 3) การศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี ข้อ 7
บุคคลรรมดา ทางด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์
หรือสาขาที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยฯ 4) ไม่เป็นคนไร้/เสมือนไร้
ความสามารถ 5) ไม่เคยถูกเพิกถอนการขึ้นทะเบียนในประเภทที่ขอ
เว้นแต่พ้นกำหนด 3 ปี นับแต่วันถูกเพิกถอน 6) ไม่เคยเป็นผู้กระทำการ
แทนนิติบุคคลซึ่งถูกเพิกถอนใบอนุญาตในประเภทที่ขอ เว้นแต่พ้น
กำหนด 5 ปี
คุณสมบัติผู้ขอ 1) เป็นนิติบุคคล 2) มีวัตถุประสงค์ให้บริการด้านความปลอดภัยฯ ข้อ 8
นิติบุคคล 3) ไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตในประเภทที่ขอ เว้นแต่พ้นกำหนด 3 ปี
4) ผู้กระทำการแทนนิติบุคคลต้องไม่เคยถูกเพิกถอนตามข้อ 7 (5) เว้นแต่
พ้นกำหนด 3 ปี 5) ผู้กระทำการแทนนิติบุคคลต้องไม่เคยเป็นผู้กระทำการ
แทนนิติบุคคลซึ่งถูกเพิกถอน เว้นแต่พ้นกำหนด 5 ปี 6) มีบุคคลกรสำเร็จ
การศึกษาไม่ต่ำปริญญาตรีทางด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์
สาธารณสุขศาสตร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยฯตามประเภท
งานที่ขอ
เรื่อง รายละเอียด ข้อ

การยื่นคำขอ บุคคลธรรมดา และนิติบุคคล ให้ยื่นต่ออธิบดี พร้อมเอกสารที่กำหนด ข้อ 10


ข้อ 11
การออกใบ เมื่อได้รับคำขอ ให้อธิบดีตรวจสอบ ถ้าถูกต้องครบถ้วน ให้ออกใบรับคำขอ ข้อ 12
รับคำขอ แก่ผู้ขอ หากไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน ให้บันทึกความบกพร่องไว้และแจ้งให้ผู้ขอ
ดำเนินการให้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่กำหนด
กรณีผู้ขอไม่ดำเนินการภายในระยะเวลาที่กำหนดถือว่าไม่ประสงค์ให้
ดำเนินการต่อไป ให้อธิบดีจำหน่ายเรื่องออกจากสารบบ
ระยะเวลา - กรณีหลักฐานถูกต้องครบถ้วน ให้อธิบดีพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน ข้อ 13
พิจารณาคำขอ - ในการตรวจสอบข้อมูล/เอกสาร/หลักฐาน อธิบดีมีอำนาจเข้าไปตรวจสอบ
สถานที่ให้บริการของผู้ยื่นคำขอ หรือเรียกให้มาชี้แจงได้
- กรณีอธิบดีสั่งไม่รับขึ้นทะเบียนหรือไม่อนุญาต ให้มีหนังสือแจ้งผู้ขอพร้อม
เหตุผลและสิทธิอุทธรณ์ภายใน 7 วัน
การชำระ - กรณีมีคำสั่งขึ้นทะเบียนหรืออนุญาต ให้มีหนังสือแจ้งผู้ขอภายใน 7 วัน และให้ ข้อ 14
ค่าธรรมเนียม ผูข้ อชำระค่าธรรมเนียมภายใน 30 วัน
- กรณีไม่ชำระค่าธรรมเนียมภายในกำหนด ให้ถือว่าผู้ขอไม่ประสงค์จะขึ้น
ทะเบียนหรือรับใบอนุญาต ให้จำหน่ายเรื่องออกจากสารบบ
อายุ ใบอนุญาตให้มีอายุ 3 ปี ข้อ 15
ใบอนุญาต
การต่อ ให้ยื่นคำขอภายใน 90 วัน ก่อนใบอนุญาตสิ้นอายุ ข้อ 16
ใบอนุญาต
การเพิกถอน ให้อธิบดีเพิกถอนทะเบียนกรณีผู้รับใบสำคัญ ข้อ 18
ทะเบียน - ขาดคุณสมบัติ
- เรียกเก็บค่าบริการเกินหลักเกณฑ์
- ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อ 23
การพักใช้ ให้อธิบดีพักใช้ใบอนุญาตไม่เกิน 60 วัน กรณี ข้อ 19
ใบอนุญาต - เรียกเก็บค่าบริการเกินหลักเกณฑ์
- ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อ 23
การเพิกถอน ให้อธิบดีเพิกถอนใบอนุญาตในกรณี ข้อ 20
ใบอนุญาต - ขาดคุณสมบัติ
- เคยถูกพักใช้ใบอนุญาตมาแล้ว 1 ครั้ง และมีเหตุต้องถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตซ้ำ
ในเรื่องเดียวกันอีกระหว่างอายุใบอนุญาต
- ให้บริการด้านความปลอดภัยฯ ระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต
เรื่อง รายละเอียด ข้อ

ค่าบริการ ค่าบริการที่ผู้รับใบสำคัญหรือผู้รับใบอนุญาตจะเรียกเก็บ ให้คำนวณจาก ข้อ 22


ค่าใช้จ่ายในการให้บริการ รวมกับค่าตอบแทนทีผ่ ู้รับใบสำคัญหรือผู้รับใบอนุญาต
ได้รับจากการให้บริการ ซึ่งค่าตอบแทนต้องไม่เกิน 1 เท่าของค่าใช้จ่ายในการ
ให้บริการ
ค่าใช้จ่ายในการให้บริการ หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เป็นต้นทุนในการให้บริการ
เช่น ค่าตอบแทนบุคลากร ค่าวัสดุ อุปกรณ์ หรือสถานที่ในการให้บริการ และ
ค่าใช้จ่ายอื่นของผู้รับใบสำคัญหรือผู้รับใบอนุญาต
ค่าธรรมเนียม ใบอนุญาต ฉบับละ 20,000 บาท ข้อ 24
ใบสำคัญ ฉบับละ 5,000 บาท
ใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ 500 บาท
ใบแทนใบสำคัญ ฉบับละ 500 บาท
การต่ออายุใบอนุญาต ครั้งละเท่ากับค่าธรรมเนียมใบอนุญาต

กองนิติการ
1 ตุลาคม 2564
15

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานการทำงานเกี่ยวกับรังสี พ.ศ. 2564

เรื่อง รายละเอียด ข้อ

วันใช้บังคับ 3 ธันวาคม 2564


ยกเลิกกฎเดิม ยกเลิกกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ ข้อ 1
ปลอดภัยฯ เกี่ยวกับรังสีชนิดก่อไอออน พ.ศ. 2547
คำนิยาม กำหนดคำนิยาม “รังสี” “วัสดุกัมมันตรังสี” เครื่องกำเนิดรังสี” ข้อ 2
“วัสดุนิวเคลียร์” “เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ใช้แล้ว” “กากกัมมันตรังสี” “ปริมาณ
รังสีสะสม” “พืน้ ที่ควบคุม” และ “ลูกจ้างซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับรังสี”
การแจ้ง - ให้นายจ้างแจ้งประเภทต้นกำเนิดรังสี ปริมาณรังสี และสถานประกอบการ ข้อ 5
ซึ่งต้นกำเนิดรังสีนั้นตั้งอยู่ รวมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับการอนุญาตหรือการแจ้ง
การครอบครองหรือใช้ตามกฎหมายว่าด้วยพลังงานนิวเคลียร์ฯ ต่ออธิบดี ภายใน
7 วัน นับแต่วันที่นำต้นกำเนิดรังสีเข้ามาในสถานประกอบกิจการ
- กรณีมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล ให้แจ้งภายใน 15 วัน นับแต่วันที่เปลี่ยนแปลง
การยกเว้น บทบัญญัตขิ ้อ ๗ ข้อ ๘ ข้อ ๑๑ ข้อ ๑๒ ข้อ ๑๓ ข้อ ๑๔ ข้อ ๑๕ ข้อ ๑๖ ข้อ ๑๗ ข้อ 6
การบังคับ ข้อ ๑๘ ข้อ ๒๐ ข้อ ๒๑ ข้อ ๒๒ ข้อ ๒๓ ข้อ ๒๔ และข้อ ๒๕ มิให้ใช้บังคับ
แก่นายจ้างซึ่งมีต้นกำเนิดรังสีที่ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมตามกฎหมายว่าด้วย
พลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติ
การกำหนด นายจ้างต้องกำหนดพื้นที่ควบคุมโดยจัดทำรั้ว คอกกั้น หรือเส้นแสดงแนวเขต ข้อ 7
พื้นที่ควบคุม และจัดให้มีป้ายสัญลักษณ์ทางรังสีพร้อมข้อความเตือนภัยให้เห็นชัดเจน
พื้นที่ควบคุมตามข้อ 7 นายจ้างต้องควบคุม ดังนี้ ข้อ 8
1) ไม่ให้ลูกจ้างซึ่งไม่มีหน้าที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับรังสีหรือบุคคลภายนอก
เข้าไปในพื้นที่ควบคุม เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากนายจ้าง
2) ไม่ให้ลูกจ้างหรือบุคคลใดเข้าพักอาศัย พักผ่อน นำอาหาร เครื่องดื่ม
บุหรี่เข้าไปในพื้นที่ควบคุม
3) ไม่ให้บุคคลใดนำต้นกำเนิดรังสีที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ออกไปนอกพื้นที่
ควบคุม
4) ไม่ให้บุคคลใดนำภาชนะหรือวัสดุซึ่งปนเปื้อนวัสดุกัมมันรังสีหรือวัสดุ
นิวเคลียร์ออกไปนอกพื้นที่ควบคุม
ลูกจ้างตั้งครรภ์ ห้ามให้ลูกจ้างซึ่งตั้งครรภ์หรืออยู่ระหว่างให้นมบุตรปฏิบัติงานเกี่ยวกับรังสี ข้อ 9
กฎระเบียบ ต้องจัดให้มีกฎระเบียบ ข้อบังคับ แนวปฏิบัติ ว่าด้วยความปลอดภัยฯ เกี่ยวกับ ข้อ 10
รังสี พร้อมทั้งปิดประกาศให้ลูกจ้างทราบบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน
เรื่อง รายละเอียด ข้อ

มาตรการ นายจ้างต้องจัดให้มีมาตรการด้านความปลอดภัยทางรังสี ข้อ 11


ความปลอดภัย
อุปกรณ์ ต้องจัดให้มีอุปกรณ์บันทึกปริมาณรังสีประจำตัวบุคคลและให้ลูกจ้างใช้อุปกรณ์ ข้อ 12
บันทึก ตลอดเวลาปฏิบัติงาน
ปริมาณรังสี
การจัดทำ - ต้องจัดทำข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณรังสีสะสมที่ลูกจ้างได้รับตามแบบที่กำหนด ข้อ 13
ข้อมูลปริมาณ ทุกเดือน หรือทุก 3 เดือน ขึ้นอยู่กับประเภทของต้นกำเนิดรังสี และแจ้งข้อมูล
รังสีสะสม ปริมาณรังสีสะสมให้ลูกจ้างทราบทุกครั้ง
- กรณีลูกจ้างได้รับปริมาณรังสีสะสมเกินปริมาณที่กำหนดตามกฎหมาย
ให้นายจ้างแจ้งปริมาณรังสะสม พร้อมหาสาเหตุและการป้องกันแก้ไขต่ออธิบดี
ภายใน 7 วัน ตามแบบที่กำหนด
- ให้เก็บเอกสารหลักฐานไว้ไม่น้อยกว่า 2 ปี นับแต่วันสิ้นสุดการจ้างลูกจ้างแต่ละราย
เจ้าหน้าที่ - นายจ้างซึ่งมีต้นกำเนิดรังสีที่ต้องมีใบอนุญาตตามกฎหมาย ต้องมีเจ้าหน้าที่ ข้อ 14
ความปลอดภัย ความปลอดภัยทางรังสี หรือเจ้าหน้าที่ดำเนินการทางเทคนิคเกี่ยวกับวัสดุ
ทางรังสี นิวเคลียร์ อย่างน้อย 1 คน
- นายจ้างซึ่งมีต้นกำเนิดรังสีประเภทที่ต้องแจ้งการครอบครองหรือใช้
ตามกฎหมาย ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับ
หัวหน้างานอย่างน้อย 1 คน
- กรณีเจ้าหน้าที่ตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองพ้นจากหน้าที่ ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่
คนใหม่แทนนับแต่วันที่เจ้าหน้าที่คนเดิมพ้นจากหน้าที่
อุปกรณ์ ต้องจัดให้มีที่ล้างมือ ล้างหน้า ที่อาบน้ำ สถานที่เก็บชุดทำงาน ข้อ 16
ต่าง ๆ ต้องจัดให้มีการทำความสะอาดชุดทำงานที่ใช้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับรังสี สิ่งของ ข้อ 17
อุปกรณ์ เครื่องใช้ สถานที่ที่มีการปนเปื้อนวัสดุกัมมันตรังสี
แผนป้องกัน - ต้องจัดให้มีแผนเพื่อป้องกันและระงับอันตรายจากรังสี และต้องจัดฝึกซ้อมตาม ข้อ 18
และระงับ แผนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
อันตราย - กรณีมีแผนเพื่อป้องกันและระงับอันตรายจากรังสีตามกฎหมายว่าด้วยพลังงาน
นิวเคลียร์เพื่อสันติหรือกฎหมายอื่น ให้ถือว่าได้จัดให้มีแผนตามวรรคหนึ่งแล้ว
กรณีตน้ กรณีต้นกำเนิดรังสีรั่วไหล หก หล่น หรือฟุ้งกระจาย เกิดอัคคีภัย อันอาจเป็นเหตุ ข้อ 19
กำเนิดรังสี ให้ลูกจ้างประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือเสียชีวิต ให้นายจ้างสั่งให้ลูกจ้างหยุดการ
รั่วไหล ทำงานและออกไปยังสถานที่ที่ปลอดภัยทันที
สัญลักษณ์ ต้องจัดให้มีสัญลักษณ์ทางรังสี ข้อความเตือนภัย ให้เห็นชัดเจนบริเวณพื้นที่ ข้อ 21
ควบคุม ต้นกำเนิดรังสี กากกัมมันตรังสี และเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ใช้แล้ว
สัญญาณไฟ ต้องจัดให้มีสัญญาณไฟสีแดงหรือป้ายสัญลักษณ์เตือนภัยให้เห็นชัดเจนขณะมี ข้อ 22
การใช้งานต้นกำเนิดรังสี
เรื่อง รายละเอียด ข้อ

ระบบ ต้องจัดให้มีระบบสัญญาณฉุกเฉิน มีลักษณะดังนี้ ข้อ 23


สัญญาณ 1) ต้องเปล่งเสียงให้ลูกจ้างซึ่งทำงานภายในอาคารได้ยินอย่างทั่วถึง
ฉุกเฉิน 2) อุปกรณ์ที่ทำให้เสียงของสัญญาณฉุกเฉินทำงานต้องอยู่ในที่เด่นชัดและ
เข้าถึงง่าย
3) มีเสียงแตกต่างจากเสียงทีใ่ ช้ทั่วไป
4) กิจการสถานพยาบาลหรือสถานที่ที่ไม่ต้องการใช้เสียง ต้องจัดให้มี
อุปกรณ์หรือมาตรการที่สามารถแจ้งเหตุได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น
สัญญาณไฟ รหัส
ต้องทดสอบประสิทธิภาพการทำงานของระบบสัญญาณฉุกเฉินอย่างน้อย
เดือนละ 1 ครั้ง
อุปกรณ์ PPE - ต้องจัดให้มีอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติที่สามารถ ข้อ 24
ป้องกันหรือลดอันตรายจากรังสีที่จะเข้าสู่ร่างกายให้ลูกจ้างสวมใส่ตลอดเวลา
ขณะปฏิบัติงาน
- ต้องควบคุมให้ลูกจ้างใช้หรือสวมใส่อุปกรณ์ PPE กรณีลูกจ้างไม่ใช้หรือไม่สวมใส่
ต้องสั่งให้ลูกจ้างหยุดปฏิบัติงานทันทีจนกว่าจะใช้หรือสวมใส่อุปกรณ์ฯ

กองนิติการ
9 ธันวาคม 2564

You might also like