You are on page 1of 63

เอกสารประกอบการอบรม

เรื่อง ความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย

วันที่ ๘ – ๙ มกราคม ๒๕๕๘


ณ อาคารกรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน
และการเหมืองแร่
กรุงเทพมหานคร

สานักควบคุมวัตถุอันตราย
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
1/13/2015

ความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอนั ตราย

นงคราญ สุจริตกิตติกุล
กลุ่มกากับดูแลผูเ้ ชี่ยวชาญหรือบุคลากรเฉพาะ
สานักควบคุมวัตถุอนั ตราย

1
1/13/2015

หัวข้อบรรยาย
• กฎหมายเกีย่ วกับการเก็บรักษาวัตถุอนั ตราย
• ความรูท้ วไปเกี
ั่ ย่ วกับสารเคมี
• การจาแนกประเภทวัตถุอนั ตรายสาหรับการจัดเก็บ
• การจัดเก็บวัตถุอนั ตรายและมาตรการการป้องกัน
• การรายงานความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอนั ตราย
ประจาปี

กฎหมายเกีย่ วกับการเก็บรักษาวัตถุอนั ตราย


• ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การเก็บรักษาวัตถุอนั ตรายที่กรมโรงงาน-
อุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ. 2551
• ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกาหนดให้สถานประกอบการวัตถุอนั ตราย
มีบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอนั ตรายที่
กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ. 2551
• ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งมีบุคลากรเฉพาะ
การจดทะเบียน เป็ นบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษา
วัตถุอนั ตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบและการรายงานความปลอดภัย
การเก็บรักษาวัตถุอนั ตราย พ.ศ. 2551
• ประกาศกรมโรงงานอุ ต สาหกรรม เรื่ อ ง คู่ มื อ การเก็ บ รัก ษาสารเคมี แ ละ
วัต ถุ อ ัน ตราย พ.ศ. 2550
4

2
1/13/2015

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง
การเก็บรักษาวัตถุอนั ตรายทีก่ รมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ
พ.ศ. 2551

หน้าทีข่ องผูป้ ระกอบการวัตถุอนั ตราย


 ให้ผปู ้ ระกอบการวัตถุอนั ตรายดาเนินการด้านความปลอดภัย
เกีย่ วกับการเก็บรักษาวัตถุอนั ตรายให้เป็ นไปตาม ประกาศ
กรมโรงงานอุตสาหกรรม เรือ่ งคู่มือการเก็บรักษาสารเคมีและ
วัตถุอนั ตราย พ.ศ. 2550
5

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง การกาหนดให้สถานประกอบการ


วัตถุอนั ตรายมีบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษา
วัตถุอนั ตรายทีก่ รมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ. 2551

ข้อยกเว้นของประกาศฯ
• ประกาศนี้ มิให้ใช้กบั ผูป้ ระกอบการวัตถุอนั ตรายที่เก็บรักษา
วัตถุอนั ตราย ในภาชนะบรรจุที่เป็ นแท็งก์ (Tank) ไซโล (Silo)
และภาชนะบรรจุกา๊ ซเหลวเย็นจัด (Portable/Bulk Container
Cryogenic liquefied gas or Refrigerated liquefied gas)

3
1/13/2015

ลักษณะของสถานประกอบการวัตถุอนั ตรายที่
ต้องมีบุคลากรเฉพาะ
• ผูผ้ ลิต ผูน้ าเข้า หรือผูส้ ่งออกวัตถุอนั ตราย ที่มีวตั ถุอนั ตราย
ชนิดที่ 1 2 หรือ 3 ปริมาณรวมตั้งแต่ 1,000 MT/y ขึ้ นไป
• ผูม้ ีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอนั ตรายทีม่ ีพื้นที่การเก็บรักษา
วัตถุอนั ตรายตั้งแต่ 300 ตารางเมตร
• ผูผ้ ลิต ผูน้ าเข้า ผูส้ ่งออก หรือมีไว้ในครอบครองฯ ทีเ่ ป็ น
วัตถุไวไฟ หรือวัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์ออกไซด์
7

หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของผูป้ ระกอบการวัตถุอนั ตราย

 จัดให้มีบุคลากรเฉพาะปฏิบตั ิงานประจาสถานที่เก็บ
รักษาวัตถุอนั ตราย และบุคลากรเฉพาะนั้นต้ องไม่ เป็ น
ผู้ปฏิบัตงิ านในสถานประกอบการวัตถุอนั ตรายแห่ งอืน่
 ต้องรายงานและรับรองรายงานความปลอดภัยการเก็บ
รักษาวัตถุอนั ตรายทุก 1 ปี ตามแบบที่กรมโรงงาน-
อุตสาหกรรมกาหนด
 ต้ องดาเนินการจัดหาบุคลากรเฉพาะแทนภายใน 90 วัน
นับตั้งแต่ วนั ทีท่ ราบว่ าบุคลากรเฉพาะถูกยกเลิกหนังสื อรับรอง
การจดทะเบียน เสี ยชีวติ ลาออก หรือทุพพลภาพ แล้วแต่ กรณี 8

4
1/13/2015

หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของบุคลากรเฉพาะ
 ปฏิบตั ิงานให้เป็ นไปตาม “คู่มือการเก็บรักษาสารเคมีและวัตถุอนั ตราย”
 จัดทาแผนความปลอดภัยประจาปี และให้ขอ้ มูลกรณีเกิดอุบตั ิภยั
 จัดทารายงานความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอนั ตราย (ทุก 1 ปี )
ตามแบบที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกาหนด
 หากบุคลากรเฉพาะไม่ประสงค์ทาหน้าที่หรือไม่ได้รบั มอบหมายจาก
ผูป้ ระกอบการวัตถุอนั ตรายให้รบั ผิดชอบการเก็บรักษาวัตถุอนั ตราย
ต่อไป แล้วแต่กรณีตอ้ งแจ้งให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมทราบล่วงหน้า
เป็ นลายลักษณ์อกั ษรไม่นอ้ ยกว่า ๑๕ วัน ก่อนวันที่จะไม่ดาเนินการ
ดังกล่าว

ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม
เรือ่ ง หลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งมีบุคลากรเฉพาะ การจดทะเบียน
เป็ นบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุ-
อันตรายทีก่ รมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบและการรายงาน
ความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอนั ตราย พ.ศ. 2551

หลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งมีบุคลากรเฉพาะ
• ผูป้ ระกอบการวัตถุอนั ตรายทีต่ อ้ งมีบุคลากรเฉพาะต้องแจ้งการมี
บุคลากรเฉพาะตามแบบ บฉ.1 โดยยืน่ ทีก่ รมโรงงานอุตสาหกรรม
หรือตามทีก่ รมกาหนด ทั้งนี้ กรมโรงงานอุตสาหกรรมจะออก
รหัสผ่านให้ เพือ่ ใช้ในการส่งรายงานความปลอดภัยการเก็บรักษา
วัตถุอนั ตราย 10

5
1/13/2015

การจดทะเบียนเป็ นบุคลากรเฉพาะ
• การขอจดทะเบียนเป็ นบุคลากรเฉพาะให้ยนื่ คาขอ
ตามแบบ บฉ.2 โดยยืน่ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรม
หรือตามที่กรมกาหนด ทั้งนี้ กรมโรงงานอุตสาหกรรม
ออกหนังสือรับรองการจดทะเบียนตามแบบ บฉ.3
โดยออกรหัสผ่าน (password) ให้แก่ผูข้ อจด
ทะเบียน เพือ่ ใช้ในการจัดส่งรายงานความปลอดภัย
การเก็บรักษาวัตถุอนั ตราย
11

12

6
1/13/2015

การส่งรายงานความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอนั ตราย
• ขั้นตอนการจัดส่งเป็ นดังนี้
(1) บุคลากรเฉพาะเข้าระบบโดยใช้ รหัสผ่าน และนาเข้าข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ ตามแบบ บฉ.4 ที่ปรากฏบนหน้าจอคอมพิวเตอร์
ตรวจสอบยืนยันและรับรองความถูกต้องการนาเข้าข้อมูลและแจ้ง
ผูป้ ระกอบการเพือ่ รับรองข้อมูล
(2) ผูป้ ระกอบการวัตถุอนั ตรายเข้าระบบโดยใช้ รหัสผ่าน และให้การ
รับรองรายงานข้อมูล
• จัดส่งรายงานความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอนั ตรายตามแบบ บฉ. 4 ให้
กรมโรงงานอุตสาหกรรมปี ละ 1 ครั้งทุกสิ้ นปี ปฏิทินโดยผ่านระบบสัญญาณ
คอมพิวเตอร์
13

14

7
1/13/2015

ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม
เรือ่ ง คู่มือการเก็บรักษาสารเคมีและวัตถุอนั ตราย
พ.ศ. 2550
ประกาศในราชกิจจานุ เบกษา
ฉบับประกาศและงานทัวไป ่
เล่ม 125 ตอนพิเศษ 15 ง วันที่ 22 มกราคม 2551

15

ความรูท้ วไปเกี
ั่ ย่ วกับสารเคมี

15

8
1/13/2015

สารเคมี (Chemical)
สารเคมี หมายถึง สารที่ประกอบด้วยธาตุชนิดเดียวกันหรือ
สารประกอบจากธาตุต่าง ๆ รวมกันด้วยพันธะเคมี ได้แก่
 ธาตุ (Element) : สารที่ไม่สามารถแยกได้โดยปฏิกิริยาเคมี
 สารประกอบ (Compound) : สารที่มีส่วนประกอบของธาตุ
ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้ นไป เชื่อมโยงกันโดยมีคุณสมบัติทางเคมีและฟิ สิกส์ ต่างจาก
ธาตุเดิมที่เป็ นองค์ประกอบ สามารถแยกออกจากกันได้โดยปฏิกิริยาเคมี
 สารผสม (Mixture) : สารที่ มี ส่ ว นประกอบของธาตุ
ตั้ง แต่ 2 ชนิดขึ้ นไป รวมกันโดยไม่ตอ้ งเกิดปฏิกิริยาเคมี สัดส่วนของ
องค์ประกอบไม่คงที่ แยกออกจากกันได้ง่ายโดยวิธีทางกายภาพ
17

สารเคมีอนั ตราย (Chemical hazard)


สารเคมีอนั ตราย หมายถึง สารเคมีที่มีหลัก ฐานที่
เชื่อถือได้ว่าก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ ทั้งผลกระทบ
อย่างฉับพลัน หรื อ เรื้ อรัง มักรวมถึงสารที่ ก่อให้เกิ ด
มะเร็ ง (Carcinogen) สารพิษที่ก่อให้เกิ ดผลต่ อ ระบบ
สื บพันธุ ์ (Reproductive toxins) สารที่ก่อให้เกิ ดการ
ระคายเคือง (Irritants) สารที่ส่งผลต่อระบบเลือด ระบบ
ประสาท เป็ นต้น
18

9
1/13/2015

สารเคมีที่เป็ นสารพิษ (Toxic chemicals)


สารทีเ่ ข้าสู่ร่างกายแล้วทาให้เกิดความเสียหายต่อ
โครงสร้างของอวัยวะต่างๆ ของร่างกายและ/หรือ
ทาลายระบบต่างๆ ภายในร่างกายจนไม่สามารถ
ทางานต่อไปได้
สารเหล่านี้ อาจเข้าสู่ร่างกายได้โดย
 การกิน
 การหายใจ
 การซึมผ่านทางผิวหนัง
Image:http://greenpack.rec.org/chemicals/dispersion
_of_chemicals/index.shtml
 การฉีดเข้าร่างกาย
19

หลักเกณฑ์ทีใ่ ช้พิจารณาความเป็ นพิษของสารเคมี


LD50 (Lethal dose) & LC50 (Lethal concentration)
 LD50 เป็ นการระบุความเข้มข้นของสารเคมีที่ให้สตั ว์ทดลองตาย
ลง 50% โดยสัตว์ทดลองได้รบั สารเคมีน้นั โดยการกิน การฉีด หรือการ
ดู ดซึ ม(Absorption) หรือ การหายใจ
 LC50 เป็ นการระบุความเข้มข้นของสารเคมีที่ให้สตั ว์ทดลองตาย
50% โดยการหายใจเท่านั้น
TLV (Threshold limit values) & PEL ( Permissible exposure limits)
 กาหนดระดับความเข้มข้นของสารเคมีสูงสุดที่มีได้ในอากาศ
 สารเคมีถูกจัดเป็ นสารพิษ (Toxic chemicals) เมื่อมีค่า TLV
หรือ PEL ตา่ กว่า 50 ppm
20

10
1/13/2015

Threshold Limit Value (TLV)


หมายถึง ค่าความเข้มข้นของสารเคมีในอากาศซึ่งคนปกติที่มีน้ าหนักตัว
60 กิโลกรัม และไม่ป่วยเป็ นโรคใดๆ สามารถรับสารนั้นๆ เข้าสู่ร่างกายได้โดยไม่เกิด
ผลกระทบใดๆ หรือ เป็ นค่าความเข้มข้นตา่ สุดของสารที่มีได้ในอากาศ โดยที่ผูป้ ฏิบตั ิงาน
ในบริ เ วณนั้น ทุ ก ๆ วัน ๆ ละ 8 ชัว่ โมง โดยไม่เป็ นอันตราย ซึ่งค่าที่กาหนดขึ้ นมานี้
เพือ่ เป็ นแนวทางที่บอกอันตรายของสารเป็ นพิษได้ แบ่งออกเป็ น
 TLV-TWA : ค่าความเข้มข้นของสารเคมีในอากาศที่ปลอดภัยสาหรับ
ผูป้ ฏิบตั ิงานจะได้รบั ในระยะเวลาไม่เกิน 8 ชม./วัน หรือ 40 ชม./สัปดาห์
 TLV-STEL : ค่าความเข้มข้นสูงสุดของสารเคมีในอากาศที่ปลอดภัย
สาหรับผูป้ ฏิบตั ิงานจะได้รบั ในระยะเวลา 15 นาที และได้รบั ซ้ ากันไม่เกินวันละ 4 ครั้ง
แต่ละครั้งต้องห่างกันอย่างน้อย 1 ชัว่ โมง แม้ว่าปริมาณที่ได้รบั รวมทั้งหมดจะไม่เกินค่า
TLV-TWA ก็ตาม
 TLV-C : ค่าความเข้มข้นสูงสุดที่ผูป้ ฏิบตั ิงานจะได้รบั ขณะใดๆ ที่
ปฏิบตั ิงานจะสูงเกินกว่าค่าความเข้มข้นนี้ ไม่ได้เลย
 PEL : ค่าความเข้มข้นของสารเคมีที่ผูป้ ฏิบตั ิงานจะสัมผัสกับสารเคมี
ได้อย่างปลอดภัยซึ่งมักมีค่าใกล้เคียงกับค่า TLV-TWA ค่า PEL เป็ นค่าที่ระบุปริมาณ
ของสารเคมีในอากาศ 21

สารเคมีไวไฟ (Flammable chemicals)

 สารเคมีไวไฟ หมายถึง สารเคมีที่มีจุดวาบไฟ (Flash point)


ที่อุณหภูมิตา่ กว่า 93C ถือเป็ นสารเสีย่ งต่อการติดไฟ
และอาจก่อให้เกิดความเสียหายจากเพลิงไหม้ได้
 การจัดเก็บสารเคมีไวไฟควรเก็บในตูเ้ ก็บสารเคมีสาหรับ
สารเคมีไวไฟเท่านั้น

22

11
1/13/2015

จุดวาบไฟ (Flash point)


หมายถึง อุณ หภูมิตา่ สุดที่ทาให้ของเหลวกลายเป็ นไอ
และลุกไหม้ขึ้นเมือ่ มีแหล่งจุดติดไฟ แต่มีไม่เพียงพอที่จะลุกติดไฟ
ได้อย่างต่อเนือ่ ง จุดวาบไฟใช้ในการแบ่งประเภทของสารเคมี
ตามมาตรฐาน NFPA 30 ดังนี้
 สารไวไฟ (Flammable)
 สารติดไฟได้ (Combustible)
 สารไม่ติดไฟ (Non-combustible)
23

อุณหภูมิลุกติดไฟได้เอง (Auto ignition temperature)

หมายถึง อุณหภูมิตา่ สุดที่ทาให้สารเคมีลุกติดไฟ


ได้เองจากแหล่งความร้อนในตัว หรือสัมผัสกับวัสดุผิวร้อน
โดยปราศจากการจุ ดติดไฟจากแหล่งภายนอก ทาการ
ทดสอบตามมาตรฐาน ASTM D 286 และ ASTM D 2155
ใช้ใ นการกาหนดบริเ วณและอุณ หภูมิใ นการเก็บ รักษา
การระบายอากาศ
24

12
1/13/2015

สารเคมีทีต่ ิดไฟได้เอง (Pyrophorics)


ตามมาตรฐานของ US OSHA (United States Office of
Occupation Safety and Administation) ได้แก่
 สารเคมีที่สามารถติดไฟ (ignition) ได้เองที่อุณหภูมิเท่ากับ หรือ
ตา่ กว่า 54.4 C สารในกลุ่มนี้ มักทาปฏิกิริยารุนแรงกับน้ า(Water
reactive) และติดไฟเมื่อสัมผัสกับน้ า หรืออากาศชื้ น ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้ น
จะเร็วหรือช้าขึ้ นกับชนิดของสารเคมี ตัวอย่างสารเคมีประเภทนี้ ได้แก่
calcium, magnesium
 สารเคมีบางตัวสามารถติดไฟขึ้ นเองได้ เมื่ออุณหภูมิภายนอกถึง
จุดสันดาปของสารเคมีน้นั โดยไม่ตอ้ งอาศัยอุปกรณ์อื่นช่วย สารเคมี
เหล่านี้ ได้แก่ sodium, potassium, phosphorus เป็ นต้น
25

สารเคมีทีไ่ วต่อปฏิกิริยาเคมี (Reactive chemicals)


สารทีท่ าปฏิกิริยารุนแรง ปล่อยความร้อน หรือ แก๊ส
ปริมาณมากอย่างรวดเร็ว จนถ่ายเทหรือกระจายสู่สิง่ แวดล้อม
ไม่ทนั ทาให้ควบคุมสถานการณ์ไม่ได้
 สารระเบิดได้ (Explosive)
 สารไวต่อน้ า (Water-sensitive)
 สารไวต่ออากาศ (Air-sensitive)

26

13
1/13/2015

สารระเบิดได้ (Explosive)
สารเคมีที่ก่อให้เกิดการระเบิดเมือ่ ได้รบั ความร้อน
แสง หรือตัวเร่ง (catalyst) ที่พบในห้องปฏิบตั ิการ ได้แก่
สารประกอบในกลุ่ม nitrate, chlorate, perchlorates, picrate
นอกจากนั้นสารประกอบของโลหะเช่น ผงแมกนีเซี ยม หรือ
ผงสังกะสี เมือ่ ผสมกับอากาศก็สามารถระเบิดได้เช่นกัน
สารไวต่อน้ า (Water-sensitive)
สารเคมีที่ไวต่อปฏิกิริยากับน้ า เกิดปฏิกิริยารุนแรง โดยเฉพาะ
เมือ่ มีน้ าอยู่จากัด สารเคมีในกลุ่มนี้ เช่น สาร Alkali และ สาร Alkali earth
เช่น potassium, calcium สารในกลุ่ม Anhydrous metal halides เช่น
Aluminum bromide, Germanium chloride เป็ นต้น
27

สารเคมีที่มีฤทธิ์กดั กร่อนและอันตรายต่อการสัมผัส
(Corrosive chemicals and contact hazard chemicals)
 หมายถึงสารเคมีทีม่ ีผลทาลายหรือเปลีย่ นแปลงเซลล์
สิง่ มีชีวิตรวมถึงสารเคมีทีส่ ามารถกัดกร่อนโลหะอีกด้วย
 สารในกลุ่มนี้ ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบ
ทางเดินหายใจ ทาลายเยือ่ บุผวิ หนัง และเยือ่ บุตา
 การปฏิบตั ิงานกับสารในกลุ่มนี้ ควรทาในตูด้ ูดควัน
28

14
1/13/2015

ตัวอย่างสัญลักษณ์ของนานาประเทศ

29

สัญลักษณ์แสดงความเป็ นอันตรายในสถานประกอบการ (ILO)

HIGHLY EXTREMELY
EXPLOSIVE OXIDIZING FLAMMABLE FLAMMABLE

TOXIC VERY TOXIC HARMFUL IRRITANT

CORROSIVE DANGEROUS FOR


ENVIRONMENT 30

15
1/13/2015

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการขนส่ง (UNTDG)

NON-INFLAMMABLE FLAMMABLE POISONOUS


EXPLOSIVE CLASS 1.4 CLASS 1.5 GAS SUBSTANCE
GAS

INFLAMMABLE INFLAMMABLE CONTACT WITH WATER,


COMBUSIBLE OXIDIZING INFECTIOUS
GAS SOLID EMIT FLAMMABLE GASES

RADIOACTIVE CORROSIVE

31

GHS Symbols

32

16
1/13/2015

การจาแนกประเภทวัตถุอนั ตราย
สาหรับการจัดเก็บ
 ให้ศึกษาข้อมู ลความปลอดภัยเบื้ องต้น
(ฉลาก เอกสารกากับการขนส่งวัตถุอนั ตราย
หรือเอกสารข้อมู ลความปลอดภัย)
 การจาแนกประเภทวัตถุอนั ตรายสาหรับการจัดเก็บ
ให้พิจารณาตามคุณสมบัติความเป็ นอันตรายของสาร
33

 คุณสมบัติความเป็ นอันตรายหลักทีน่ ามาพิจารณา ได้แก่

การติดไฟ การระเบิด การออกซิไดซ์


 คุณสมบัติรองของสารทีน่ ามาพิจารณา ได้แก่

ความเป็ นพิษ ความกัดกร่อน 34

17
1/13/2015

เอกสารข้อมูลความปลอดภัย
(Material safety data sheet หรือ MSDS)

เป็ นเอกสารที่แสดงข้อมู ลเฉพาะของสารเคมี


แต่ละตัวเกีย่ วกับลักษณะความเป็ นอันตราย พิ ษ วิธีใช้
การเก็บรักษา การขนส่ง การกาจัดและการจัดการอื่นๆ
เพื่อให้การดาเนินการเกี่ยวกับสารเคมีน้นั เป็ นไปอย่าง
ถูกต้องและปลอดภัย ประกอบด้วย 16 หัวข้อ ดังนี้

35

เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (ต่อ)
(Material safety data sheet หรือ MSDS)
1. ชื่อสาร สูตร และ CAS No. ข้อมู ลเกี่ยวกับสารเคมี และ
บริษทั ผูผ้ ลิต หรือจาหน่าย
2. ส่วนประกอบและข้อมู ลเกี่ยวกับส่วนผสม
3. ข้อมู ลระบุความเป็ นอันตราย
4. มาตรการปฐมพยาบาล
5. มาตรการผจญเพลิง
6. มาตรการจัดการเมื่อมีอุบตั ิเหตุการหกรัว่ ไหล
7. ข้อปฏิบตั ิในการใช้และการเก็บรักษา
8. การควบคุมการสัมผัสสาร/การป้องกันส่วนบุคคล 36

18
1/13/2015

เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (ต่อ)
(Material safety data sheet หรือ MSDS)
9. สมบัติทางกายภาพและทางเคมี
10. เสถียรภาพและความไวต่อการเกิดปฏิกิริยา
11. ข้อมูลทางพิษวิทยา
12. ข้อมูลทางนิเวศวิทยา
13. มาตรการการกาจัด
14. ข้อมูลการขนส่ง
15. ข้อมูลเกีย่ วกับกฎระเบียบและข้อกาหนดทีเ่ กีย่ วข้อง
16. ข้อมูลอื่น ๆ
37

การจัดประเภทสารเคมีและวัตถุอนั ตรายเพือ่ การจัดเก็บ


ประเภท รายละเอียด ประเภท รายละเอียด
1 วัตถุระเบิด 5.1C สารออกซิไดซ์แอมโมเนียมไนเตรท
2A ก๊าซอัด ก๊าซเหลว หรือก๊าซที่ละลายภายใต้ และสารผสม
ความดัน 5.2 สารอินทรียเ์ ปอร์ออกไซด์
2B ก๊าซภายใต้ความดันในภาชนะบรรจุขนาดเล็ก 6.1A สารติดไฟได้ที่มีคุณสมบัติเป็ นพิษ
(กระป๋ องสเปรย์)
6.1B สารไม่ติดไฟที่มีคุณสมบัติเป็ นพิษ
3A ของเหลวไวไฟ จุดวาบไฟ < 60 C
6.2 สารติดเชื้ อ
3B ของเหลวไวไฟที่มีคุณสมบัติเข้ากับน้ าไม่ได้
7 สารกัมมันตรังสี
4.1A ของแข็งไวไฟที่มีคุณสมบัติระเบิด
8A สารติดไฟที่มีคุณสมบัติกดั กร่อน
4.1B ของแข็งไวไฟ
8B สารไม่ติดไฟที่มีคุณสมบัติกดั กร่อน
4.2 สารที่มีความเสีย่ งต่อ การลุกไหม้ได้เอง 9 ไม่นามาใช้
4.3 สารที่ให้กา๊ ซไวไฟเมื่อสัมผัสน้ า 10 ของเหลวติดไฟได้ที่ไม่จดั อยู่ในประเภท
3A หรือ 3B
5.1A สารออกซิไดซ์ที่มีความไวในการทาปฏิกิริยามาก ของแข็งติดไฟได้
11
5.1B สารออกซิไดซ์ที่มีความไวในการทาปฏิกิริยา 12 ของเหลวไม่ติดไฟ
ปานกลาง 13 ของแข็งไม่ติดไฟ 38

19
1/13/2015

ประเภทที่ 1 วัตถุระเบิด

ตัวอย่าง เช่น ดินระเบิด เชื้ อประทุ สายชนวน พลุ ดอกไม้เพลิง


Barium azide Dinitrophenolate, wetted Nitroglycerine,
solution in alcohol เป็ นต้น

38

ประเภท 2A ก๊าซอัด ก๊าซเหลว หรือ


ก๊าซทีล่ ะลายภายใต้ความดัน

ตัวอย่าง เช่น ออกซิ เจน คลอรีน ไนโตรเจน เป็ นต้น

39

20
1/13/2015

ประเภท 2B ก๊าซภายใต้ความดันในภาชนะ
บรรจุขนาดเล็ก(กระป๋ องสเปรย์)

ตัวอย่าง เช่น สีสเปรย์ กระป๋ องสเปรย์ที่มีสารไวไฟ

40

ประเภท 3A ของเหลวไวไฟจุดวาบไฟ ≤ 60 C

ตัวอย่าง เช่น Acetic acid, Acetone, Acrylic acid, Benzene,


Toluene, Xylene เป็ นต้น
41

21
1/13/2015

ประเภท 3B ของเหลวไวไฟ ทีม่ ีจุดวาบไฟมากกว่า 60 C ถึง 93 C


และมีคุณสมบัติเข้ากับน้ าไม่ได้

ตัวอย่าง เช่น 2-Ethylhexyl Acrylate, Formaldehyde,


Furfural เป็ นต้น
42

ประเภท 4.1A ของแข็งไวไฟทีม่ ีคุณสมบัติระเบิด

ตัวอย่าง เช่น Picric acid เป็ นต้น

43

22
1/13/2015

ประเภท 4.1B ของแข็งไวไฟ ที่ไม่มีคุณสมบัติระเบิด สามารถลุกไหม้ง่าย


เนือ่ งจากการเสียดสีกนั (เวลาเผาไหม้นอ้ ยกว่า 45 วินาที
ในระยะทาง 100 เมตร หรืออัตราการเผาไหม้มากกว่า
2.2 ม.ม/วินาที) รวมทั้งสารที่ทาปฏิกิริยาได้ดว้ ยตัวเอง
(Self reactive)

ตัวอย่าง เช่น Lithium hydride, Sulfur, Para formaldehyde เป็ นต้น

44

ประเภท 4.2 สารที่มีความเสี่ยงต่อการลุกไหม้ ได้เอง ได้แก่


 สาร Pyrophoric : ตัวสารทาปฏิกิริยากับออกซิ เจนในอากาศ
ภายใน 5 นาที อุณหภูมิสูงจนลุกติดไฟได้ดว้ ยตัวเอง
 สาร Self-heating : ตัวสารทาปฏิกิริยากับออกซิ เจนในอากาศ
เกิดความร้อนรอบตัวไม่สามารถระบายออกได้ สะสมต่อเนือ่ ง
จนลุกติดไฟได้เอง

ตัวอย่าง เช่น Cobalt carbonyl, Phosphorus,


Sodium hydrosulfite,Carbon black เป็ นต้น 45

23
1/13/2015

ประเภท 4.3 สารทีใ่ ห้กา๊ ซไวไฟเมือ่ สัมผัสน้ า

ตัวอย่าง เช่น Aluminium alkyl hydrides, Lithium borohydrides,


Calcium carbide เป็ นต้น

46

ประเภท 5.1A สารออกซิไดซ์ทีม่ ีความไวในการทาปฏิกิริยามาก

ตัวอย่าง เช่น Barium chlorate, Calcium hypochlorite, Fluorine,


Hydrogen peroxide, Manganese dioxide เป็ นต้น
47

24
1/13/2015

ประเภท 5.1B สารออกซิไดซ์ทีม่ ีความไวในการทาปฏิกิริยาปานกลาง

ตัวอย่าง เช่น Barium nitrate, Chromium trioxide,


Calcium nitrate Aluminium nitrate,
Barium permanganate เป็ นต้น
48

ประเภท 5.1C สารออกซิไดซ์แอมโมเนียมไนเตรท และสารผสม

ตัวอย่าง เช่น Ammonium nitrate เป็ นต้น

49

25
1/13/2015

ประเภท 5.2 สารอินทรียเ์ ปอร์ออกไซด์

ตัวอย่าง เช่น Dibenzoyl peroxide,


Methyl Ethyl Ketone peroxide เป็ นต้น
50

ประเภท 6.1A สารติดไฟได้ทีม่ ีคุณสมบัติเป็ นพิษ

ตัวอย่าง เช่น Adiponitrile, Aniline, Benzyl cyanide,


Bromine, 3-Chloropropanenitrile เป็ นต้น

51

26
1/13/2015

ประเภท 6.1B สารไม่ติดไฟได้ทีม่ ีคุณสมบัติเป็ นพิษ

ตัวอย่าง เช่น Ammonium Fluoride, Arsenic, Arsenic Pentoxide,


Benzidine, Beryllium oxide, Carbon tetrachloride เป็ นต้น

52

ประเภท 6.2 สารติดเชื้ อ

ตัวอย่าง เช่น เชื้ อแบคทีเรีย ไวรัส ริกเก็ตเซีย


ปรสิต เชื้ อรา รวมทั้งจุลชีพพันธุใ์ หม่ๆ เป็ นต้น

53

27
1/13/2015

ประเภท 7 สารกัมมันตรังสี

ตัวอย่าง เช่น โคบอลท์-60 ยูเรเนียม


เรเดียม เป็ นต้น

54

ประเภท 8A สารติดไฟทีม่ ีคุณสมบัติกดั กร่อน

ตัวอย่าง เช่น Benzotrichloride,Dichloromethylphenylsilane,


Diethylentriamine เป็ นต้น
55

28
1/13/2015

ประเภท 8B สารไม่ติดไฟทีม่ ีคุณสมบัติกดั กร่อน

ตัวอย่าง เช่น Ammonium Hydroxide, Boron Tribromide,


Chromic Acid, Ethylenediamine, Hydrochloric Acid,
Mercury, Nitric Acid เป็ นต้น
56

ประเภท 9 ไม่นามาใช้

Only for sea transport

57

29
1/13/2015

ประเภท 10 ของเหลวติดไฟได้ทีไ่ ม่จดั อยู่ในประเภท 3A หรือ 3B

 ของเหลวติดไฟที่ผสมกับน้ าได้และมีจุดวาบไฟสูงกว่า 55 C
 ของเหลวติดไฟที่ไม่สามารถผสมกับน้ าได้และมีจุดวาบไฟสูงกว่า 100 C

ตัวอย่าง เช่น Bis(2-Ethylhexyl)Phthalate, 1,4-Butanediol,


Butyrolactone เป็ นต้น

58

ประเภท 11 ของแข็งติดไฟได้

 ของแข็งที่มีค่าการติดไฟตั้งแต่ 2, 3, 4 และ 5

ตัวอย่าง เช่น Azobenzene, 4-Nitrodiphenyl เป็ นต้น

59

30
1/13/2015

ประเภท 12 ของเหลวไม่ติดไฟ

 ของเหลวที่มีค่าการติดไฟตา่ มาก หรือไม่ติดไฟ

และบรรจุภณ
ั ฑ์ไม่ก่อให้เกิดการลุกลาม

60

ประเภท 13 ของแข็งไม่ติดไฟ

 ของแข็งทีม่ ีค่าการติดไฟตา่ มาก หรือไม่ติดไฟ


และบรรจุภณ
ั ฑ์ไม่ก่อให้เกิดการลุกลาม

ตัวอย่าง เช่น Asbestos, Borax, Boric Acid,


Carbendazim, Dichlorophen, Diuron เป็ นต้น
61

31
1/13/2015

ตารางเปรียบเทียบการจาแนกประเภทวัตถุอนั ตราย
ADR จาแนกตามการจัดเก็บ
6.2 6.2
7 7
1 1
2 2A , 2B
4.2 4.2
4.3 4.3
5.2 5.2
62

ตารางเปรียบเทียบการจาแนกประเภทวัตถุอนั ตราย
ADR จาแนกตามการจัดเก็บ
5.1 5.1A ,5.1B ,5.1C
4.1 4.1A ,4.1B
3 3A , 3B
สารพิษตามระบบ GHS 6.1A ,6.1B
8 8A ,8B
Liquid 10 ,12
Solid 11 ,13
63

32
1/13/2015

การจัดเก็บวัตถุอนั ตรายและมาตรการการป้องกัน
• แบบแยกบริเวณ (Separate Storage)
• แบบแยกห่าง (Segregate Storage)

65

การจัดเก็บแบบแยกบริเวณ (Separate storage)


กรณีอยู่ในอาคาร (ภายในคลังสินค้าเดียวกัน)
ถูกแยกจากสารอื่นๆ โดยมีผนังทนไฟ ซึ่งสามารถทนไฟ
ได้อย่างน้อย 90 นาที

 กรณีอยู่กลางแจ้ง (ภายนอกอาคารคลังสินค้า)
ถูกแยกออกจากบริเวณอื่นด้วยระยะทางทีเ่ หมาะสม
 5 เมตรระหว่างสารไวไฟกับสารไม่ไวไฟ
 10 เมตรระหว่างวัตถุอนั ตรายอื่นๆ
 การกั้นด้วยกาแพงทนไฟซึ่งสามารถทนไฟ
ได้อย่างน้อย 90 นาที 66

33
1/13/2015

การจัดเก็บแบบแยกห่าง (Segregate storage)


การจัดเก็บสารเคมีและวัตถุอนั ตรายตั้งแต่ 2 ประเภท
ขึ้ นไปในบริเวณเดียวกัน
ต้องมีมาตรการป้องกันที่เพียงพอสาหรับการจัดเก็บ
สารเคมีและวัตถุอนั ตราย
นาข้อกาหนดพิเศษเพิม่ เติมสาหรับการจัดเก็บสารเคมี
และวัตถุอนั ตรายที่มีคุณสมบัติเฉพาะ เช่น วัตถุระเบิด
สารออกซิ ไดส์ หรื อสารไวไฟ มาพิจารณาประกอบ
ตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในตารางการจัดเก็ บฯ

67

ตารางจัดเก็บสารเคมีและวัตถุอนั ตราย

68

34
1/13/2015

หลักการเก็บสารเคมีและวัตถุอนั ตรายในอาคาร
 จัดเก็บตามประเภทโดยพิจารณาจากเอกสารข้อมูลความปลอดภัย
 ยึดหลัก เข้าก่อน-ออกก่อน (first in- first out) เพือ่ ลดความเสี่ยง
จากการเสื่อมสภาพ หรือการถูกทาลายของสารเคมี
 ต้องตรวจสอบคุณลักษณะทั้งปริมาณและคุณภาพ ภาชนะบรรจุและ
หีบห่อต้องอยู่ในสภาพที่ดี ดังนี้
 ถ้าพบความเสียหายจนไม่สามารถนาเข้าเก็บในอาคารได้ ต้อง
กาหนดพื้ นที่เฉพาะเพือ่ ถ่ายบรรจุใหม่ หรือบรรจุในบรรจุภณ ั ฑ์ที่
ใช้กอบกู ้
 ให้นาสารเคมีและวัตถุอนั ตรายที่บรรจุอยู่ในภาชนะหรือ หี บห่อที่
ได้รบั ความเสียหายมาใช้ก่อน
 สารเคมีและวัตถุอนั ตรายที่รวไหลต้
ั่ องนาไปกาจัดด้วยวิธีที่
เหมาะสม
 ของเสียวัตถุอนั ตราย หรือภาชนะต้องกาจัดให้ถูกต้อง 69

หลักการเก็บสารเคมีและวัตถุอนั ตรายในอาคาร (ต่อ)


 จัดทาแผนผังกาหนดตาแหน่ง ประเภทกลุ่มสารเคมี พร้อม
ตาแหน่งอุปกรณ์ฉุกเฉิน อุปกรณ์ผจญเพลิง และเส้นทางหนีไฟ
 ต้องมีพนที ื้ ว่ ่างโดยรอบระหว่างผนังอาคารกับกองสารเคมี
เพือ่ ตรวจสอบและจัดการกรณีเกิดเพลิงไหม้หรือหกรัว่ ไหล
 การจัดเรียงสารเคมีไม่ควรสูงเกิน 3 เมตร
 ต้องมีมาตรการไม่ให้ภาชนะหรือหีบห่อทีว่ างบน pallet ตกหล่น
จากชั้นทีว่ าง
 ระมัดระวัง pallet ทีท่ าด้วยไม้ อาจมีตะปูเกีย่ วทาให้ภาชนะหรือ
หีบห่อเสียหาย 70

35
1/13/2015

การเก็บสารเคมีและวัตถุอนั ตรายนอกอาคาร
 บริเวณโดยรอบต้องไม่มีสาเหตุที่ทาให้เกิดอัคคีภยั ได้แก่
ไม่มีหญ้าขึ้ นรก / ไม่มีวสั ดุติดไฟได้ / ไม่มีแหล่งประกายความร้อน
 ต้องไม่เป็ นที่จอดยานพาหนะหรือเส้นทางจราจร
 พื้ นต้องแข็งแรงและรับน้ าหนักสารเคมีและวัตถุอนั ตรายได้ /ไม่ลื่น /
ทนต่อการกัดกร่อน / ทนน้ า /
 มีรางระบายลงสู่บ่อกักเก็บหรือเขื่อนไม่ให้ไหลออกสู่ภายนอก

71

การเก็บสารเคมีและวัตถุอนั ตรายภายนอกอาคาร (ต่อ)


o บริเวณที่เป็ นเขื่อนกั้นต้องติดตั้งระบบควบคุมการระบายน้ าด้วยประตู น้ า
o สารเคมีและวัตถุอนั ตรายที่เก็บต้องตรวจสอบการรัว่ ไหลอย่างสมา่ เสมอ
เพือ่ มิให้ปนเปื้ อน ลงสู่ระบบระบายน้ า
o สารเคมีและวัตถุอนั ตรายที่เก็บในถัง 200 ลิตร และไม่ไวต่อความร้อน
อาจเก็บไว้ในที่โล่งแจ้งได้ แต่จะต้องมีระบบป้องกันการรัว่ ไหลของ
สารเคมีและวัตถุอนั ตรายเช่นเดียวกับที่เก็บในอาคาร
o แนะนาให้เก็บสารเคมีและวัตถุอนั ตรายในถังกลมในลักษณะตั้งตรงบน
แผ่นรองสินค้า
o ถังที่เก็บในแต่ละแบบจะต้องมีพนที ื้ ่ว่างเพียงพอเพือ่ การดับเพลิง
o สารเคมีและวัตถุอนั ตรายที่เป็ นของเหลวไวไฟสูง แก๊ส หรือคลอรีนเหลว
ควรเก็บไว้นอกอาคาร 72

36
1/13/2015

อนุ ญาตให้เก็บสารเคมีและวัตถุอนั ตราย


นอกอาคาร ดังนี้

 ก๊าซอัด ก๊าซเหลว หรือก๊าซทีล่ ะลายภายใต้ ความดัน (2A)

 ของเหลวไวไฟ (3A)

 ของเหลวไวไฟ (3B)
73

ไม่อนุ ญาตให้เก็บสารเคมีและวัตถุอนั ตราย ประเภทต่อไปนี้


นอกอาคาร
วัตถุระเบิด (1)
ก๊าซภายใต้ความดันในภาชนะบรรจุขนาดเล็ก (2B)
ของแข็งไวไฟ (4.1A)
สารทีม่ ีความเสีย่ งต่อการลุกไหม้ได้เอง (4.2)
สารทีใ่ ห้กา๊ ซไวไฟเมือ่ สัมผัสกับน้ า (4.3)
สารออกซิไดส์ (5.1)
สารเปอร์ออกไซด์อินทรีย ์ (5.2)
สารทีต่ ิดไฟและไม่ติดไฟทีม่ ีคุณสมบัติเป็ นพิษ (6.1A 6.1B)
วัสดุกมั มันตรังสี (7)
74

37
1/13/2015

การเก็บวัตถุอนั ตรายประเภท 2A นอกอาคาร


 พื้ นทีเ่ ก็บต้องมีหลังคาปกคลุม ห่างจากอาคารอืน่
ไม่นอ้ ยกว่า 5 เมตร
 มีอุปกรณ์ยดึ ถังก๊าซป้องกันไม่ให้ลม้
 มีตาข่ายล้อมรอบ และจัดเก็บห่างจากตาข่ายไม่
น้อยกว่า 1 เมตร
 ไม่เก็บวัสดุอืน่ ๆ รวมกับถังก๊าซ

75

การเก็บสารเคมีและวัตถุอนั ตรายประเภท 3A & 3B


นอกอาคาร
พื้ นที่เก็บต้องมีระยะห่างจากอาคารอื่น
ไม่นอ้ ยกว่า 10 เมตร
พื้ นมีความลาดเอียงไม่นอ้ ยกว่า 1%
มีรางระบายสารเคมีและวัตถุอนั ตราย
ที่หกรัวไหลลงสู
่ ่บ่อกักเก็บ
มีเขื่อนที่สามารถควบคุมการระบายสู่ภายนอก
76

38
1/13/2015

มาตรการการป้องกัน

 การจัดการด้านสุขศาสตร์
 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 เครือ่ งหมายความปลอดภัย

77

การจัดการด้านสุขศาสตร์
หมายถึง การจัดการเพือ่ ควบคุมปั จจัยทางสิง่ แวดล้อม
ไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผูป้ ฏิบตั ิงาน
 สุขอนามัยของผูป้ ฏิบตั ิงาน
 การตรวจสุขภาพ / การส่งผลการตรวจสุขภาพ
ผูป้ ฏิบตั ิงานให้เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วยการ
คุม้ ครองแรงงาน
 สุขลักษณะสถานทีเ่ ก็บรักษาสารเคมีวตั ถุอนั ตราย

78

39
1/13/2015

สุขอนามัยของผูป้ ฏิบตั ิงาน


• ห้าม  ควรทา

 กิน ดืม่ หรือ สูดดม  ล้างมือ หลังสัมผัสสารเคมี

 ซัก หรือ เก็บเสื้ อผ้าที่ทางาน  ตรวจเช็คอุปกรณ์ป้องกัน


กับสารเคมีไว้รวมกับเสื้ อผ้าที่ ส่วนบุคคลให้มีสภาพ
สวมใส่ ปกติ พร้อมใช้งาน
 ตรวจเช็คความพร้อมของ
สภาพร่างกายในการ
79
ปฏิบตั ิงาน

อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
(Personal Protective Equipment : PPE)

• ต้องจัดให้คนงาน สวมอุปกรณ์ป้องกันอันตราย
ส่วนบุคคล ตามความเหมาะสมและจาเป็ นต่อ
การปฏิบตั ิงาน
• ต้องดูแลรักษาให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
80

40
1/13/2015

อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล
แว่นตา

หน้ากาก

ถุงมือ

หมวกนิรภัย

รองเท้า

ชุดป้องกันสารเคมี
81

อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (ต่อ)

82

41
1/13/2015

อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (ต่อ)

83

อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (ต่อ)

84

42
1/13/2015

เครื่องหมายความปลอดภัย
เป็ นสิง่ ทีใ่ ช้ในการสือ่ สารให้ตระหนักถึงอันตราย
ทีม่ ีอยู่ในบริเวณนั้นๆ โดยส่วนมากเป็ นสัญลักษณ์สี
รูปภาพทีเ่ ข้าใจง่าย อาจมีขอ้ ความกากับไว้ดว้ ย เพือ่
แสดงให้ปฏิบตั ิ ละเว้นการปฏิบตั ิ หรือแสดงการเตือน
อันตรายทีอ่ าจเกิดกับคน หรือทรัพย์สิน การติดตั้งควร
ติดตั้งไว้ในบริเวณทีเ่ ห็นได้ชดั เจน

85

การปิ ดฉลาก เครื่องหมายต่าง ๆ ในสถานที่ทางาน


 ฉลากตามข้อกาหนดของ ILO ของสถานประกอบการ
 รูปสัญลักษณ์ แสดงความเป็ นอันตรายตามระบบ GHS
 รูปสัญลักษณ์แสดงข้อควรระวังต่าง ๆ
 รูปสัญลักษณ์ทีเ่ กีย่ วข้องกับอัคคีภยั เช่น ทางออกฉุ กเฉิน
ทางหนีไฟ ถังดับเพลิง เป็ นต้น
86

43
1/13/2015

ADR ILO GHS

NFPA CODE HAZCHEM CODE 87

88

44
1/13/2015

89

สีทีใ่ ช้เพือ่ ความปลอดภัย ดังนี้


สีเพือ่ ความ
สีตดั ความหมาย ตัวอย่างการใช้งาน
ปลอดภัย
-เครื่องหมายหยุด
สีแดง สีขาว -หยุด -เครื่องหมายอุปกรณ์หยุดฉุกเฉิน
-เครื่องหมายห้าม
-เครื่องหมายเตือน
-ระวัง
สีเหลือง สีดา -ชี้ บ่งว่ามีอนั ตราย เช่นไฟ วัตถุระเบิด
-มีอนั ตราย
-ชี้ บ่งถึงเขตอันตราย เครื่องกีดขวาง
สีฟ้า สีขาว -บังคับให้ตอ้ งปฏิบตั ิ เครื่องหมายบังคับ
-ทางหนี
สีเขียว สีขาว -แสดงสภาวะปลอดภัย
-ทางออกฉุกเฉิน

90

45
1/13/2015

ตัวอย่างเครือ่ งหมายความปลอดภัยได้แก่
ป้ายห้าม
ป้ายเตือน
ป้ายข้อมูล
ป้ายบังคับ
91

ป้ายห้าม คือ ป้ายห้ามการปฏิบตั ิทีจ่ ะก่อหรือ


เป็ นเหตุให้เกิดอันตราย
ตัวอย่างป้ายห้าม
Prohibition signs

No drinking water

No fire or open flames

No water for fire extinguishing

No forklift truck

92

46
1/13/2015

ป้ายเตือน คือ ป้ายเตือนให้ระวังภัยหรือ


อันตรายที่อาจเกิดขึ้ น
Warning signs

Forklift trucks

Toxic substances

93

ป้ายข้อมูล คือ ป้ายที่ให้ขอ้ มูลเฉพาะ เช่น


ทางหนีไฟห้องปฐมพยาบาล
Emergency escape, first aid signs

94

47
1/13/2015

ป้ายบังคับ คือ ป้ายที่กาหนดให้ตอ้ งปฏิบตั ิสิง่ หนึง่ สิง่ ใด

Specific behaviour or action signs

95

การฝึ กอบรม
 ผูค้ วบคุมหรือหัวหน้าคลังสินค้า ควรได้รบั การฝึ กอบรมดังนี้
(1) คุณสมบัติของวัตถุอนั ตราย การจาแนกประเภทของ
วัตถุอนั ตรายในการจัดเก็บ / SDS / วิธีการจัดเก็บ
(2) วิธีการใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล และอุปกรณ์ป้องกันภัย
ชนิดต่างๆ
(3) การใช้งาน การใช้คู่มือการปฏิบตั ิงาน
(4) การกูภ้ ยั เบื้ องต้นรวมทั้งการใช้เครือ่ งมือดับเพลิงมือถือ
(5) ข้อมูลทีส่ าคัญในกรณีฉุกเฉิน โดยทัว่ ไปควรอบรมปี ละ 1 ครั้ง
96

48
1/13/2015

การฝึ กอบรม (ต่อ)


 ผูป้ ฏิบตั ิงานทัว่ ไปและผูป้ ฏิบตั ิงานใหม่ ควรได้รบั การ
ฝึ กอบรมอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง ซึ่งควรมีหวั ข้อ ดังนี้
(1) การจาแนกสารเคมีและวัตถุอนั ตรายในการจัดเก็บ /
SDS / วิธีการจัดเก็บ
(2) วิธีการจัดการเมือ่ มีการหกหรือรัว่ ไหล
(3) การใช้เครือ่ งมือดับเพลิงมือถือ การอพยพ
(4) การใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
(5) วิธีปฏิบตั ิเมือ่ เกิดเหตุฉุกเฉิน และการซ้อมแผนฉุ กเฉิน
97

แหล่งค้นหาข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี
• http://chemfinder.cambridgesoft.com/result.asphttp
• http://www.chemtrack.org/Chem.asp
ฐานความรูเ้ รือ่ งความปลอดภัยด้านสารเคมี สนับสนุนโดย สกว.
• http://www.chemwatch.com
• http://www2.diw.go.th/haz
• http://www.diwsafety.org
• http://msds.pcd.go.th : ศูนย์ขอ้ มูลวัตถุอนั ตรายและเคมีภณ
ั ฑ์
Chemical Data Bank ของกรมควบคุมมลพิษ
98

49
1/13/2015

การรายงานความปลอดภัย
การเก็บรักษาวัตถุอนั ตรายประจาปี

98

การรายงานความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอนั ตราย (แบบ บฉ.4)


ขั้นตอนการรายงาน เป็ นดังนี้
(1) บุคลากรเฉพาะเข้าระบบทางเว็บไซต์การทดสอบ ที่
http://hazexam.diw.go.th/haz_login.asp โดยใช้รหัสผ่าน และ
นาเข้าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ตามแบบ บฉ. 4 ทีป่ รากฏบนหน้า
จอคอมพิวเตอร์ ตรวจสอบยืนยันและรับรองความถูกต้องการ
นาเข้าข้อมูลและแจ้งผูป้ ระกอบการเพือ่ รับรองข้อมูล
(2) ผูป้ ระกอบการวัตถุอนั ตรายเข้าระบบทางเว็บไซต์การทดสอบ ที่
http://hazexam.diw.go.th/haz_login.asp โดยใช้ รหัสผ่าน และ
ให้การรับรองรายงานข้อมูล

100

50
1/13/2015

ระยะเวลาการส่งรายงานฯ
• กาหนดให้ส่งรายงานฯ ปี ละ 1 ครั้งทุกสิ้ นปี ปฏิทิน
โดยผ่านระบบสัญญาณคอมพิวเตอร์ ระหว่างวันที่
1 มกราคม ถึง สิ้ นเดือนกุมภาพันธ์ ของปี ถัดไป
• หากต้องการแก้ไขรายงานฯ ทีส่ ่งแล้ว ให้ยนื่ แจ้งเป็ น
ลายลักษณ์อกั ษรทีก่ รมโรงงานอุตสาหกรรม

101

เลือก

102

51
1/13/2015

บฉ57-xxxx
xxxxx
บุคลากรเฉพาะ

102

103

52
1/13/2015

104

ddd

105

53
1/13/2015

ให้ตรวจสอบ
ความถูกต้อง
ของข้อมูล
ก่อนทา
รายการต่อไป

106

กรณีที่ไม่ใช่ผผู ้ ลิตหรือ
ผูน้ าเข้า ไม่ตอ้ งกรอก

ให้กรอกรายละเอียดของวัตถุอนั ตรายที่
กรมโรงงานรับผิดชอบ และประเภทตาม
การจัดเก็บ (เช่น สารไวไฟ สารกัดกร่อน)
107

54
1/13/2015

108

109

55
1/13/2015

110

111

56
1/13/2015

บฉ57-xxxx

112

บฉ57-xxxx

113

57
1/13/2015

บฉ57-xxxx

บฉ57-xxxx

บฉ57-xxxx

114

คม57-xxx
xxxxx
สถานประกอบการ

115

58
1/13/2015

คม57-xxxx

บฉ57-xxxx

116

117

59
1/13/2015

บฉ57-xxxx

118

บฉ57-xxxx

119

60
1/13/2015

บฉ57-xxxx

120

aaa บฉ54-xxxx
aaa บฉ54-xxxx
aaa บฉ54-xxxx

121

61
1/13/2015

122

สานักควบคุมวัตถุอนั ตราย
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
โทรศัพท์ 0 2202 4248
E-mail : hazspecialist@diw.mail.go.th

124

62

You might also like