You are on page 1of 6

หน้า 1 จาก 6

THAI NITRATE COMPANY LIMITED


Revision : 6 Effective Date 16/04/2013

AMMONIUM NITRATE
SAFETY DATA SHEET
SECTION 1 การบ่ งชี้สารเดี่ยวหรือสารผสม และผู้ผลิต
( Identification Of the Substance Or Mixture And Of the Supplier )
ชื่อสารเคมี แอมโมเนียมไนเตรท โรงงานผูผ้ ลิต บริษัท ไนเตรทไทย จากัด
ชื่ออื่นๆ Nitric Acid, Ammonium Salt; 140/7 หมู่ 4 ตาบล ตะพง อาเภอเมือง
Nitram; Ammonia Nitrate; Nitric จังหวัด ระยอง 2100
Acid.
โทร 038942407-17 Fax. 038942400
ชื่อพ้องอื่นๆ Ammonium Salt; STCC
4918311; ข้อมูลผลิตภัณฑ์เพิ่มเติม 038942407-17 ต่อ 706 ทางด้านเทคนิค
UN NUMBER UN 1942;H4N203;OHSO1290 จันทร์-ศุกร์ 08.00-17.00 น.
ประเภทสารเคมี เกลือ อนินทรี ย ์ กรณี เกิดเหตุฉุกเฉิ น 038942403 ( control Room ) ตลอด 24
ชัว่ โมง
SECTION 2 การบ่ งชี่ความเป็ นอันตรายและอันตรายต่ อสุ ขภาพ
( Hazards Identification )
คุณสมบัติทางกายภาพ เป็ นของแข็ง (ผลึกของแข็งเม็ดเล็กๆ)
CERCLA RATINGS ( Scale 0-3 ) Health = 3 Fire = 0 Reactivity = 1 Persistence = 0
NFPA RATINGS ( Scale 0-4 ) Health = 3 Fire = 0 Reactivity = 0 Specific Hazard = OXY

ระวัง ระวัง ระวัง


สารออกซิไดซ์ ระคายเคืองต่ อ ดวงตา เป็ นอันตราย เมือ่ กลืนกิน
อาจเร่ งการลุกไหม้ ให้ รุนแรงขึน้ อย่ างรุนแรง 2A สัมผัสผิวหนังและหายใจเข้ าไป

ข้ อมูลอันตรายทัว่ ไป เป็ นผลึกของแข็งมีสีขาว มีลกั ษณะเป็ นเม็ดเล็กๆ ไม่มีกลิ่น ทาให้เกิดการระคายเคือง ต่อระบบทางเดินหายใจ


ผิวหนัง ดวงตา และอาจทาให้เลือดผิดปกติ ปอดเสี ยหาย และอาจเกิดระเบิดได้เนื่องจากเป็ นสารที่เป็ นออกซิไดร์ซิ่งห์หากสัมผัสกับสารที่เป็ น
เชื่อเพลิงในกรณี เกิดเพลิงไหม้หรื อได้รับความร้อนหรื อการเสี ยดสี
ห้ามทาให้เกิดการเสี ยดสี ที่กระตุน้ ให้เกิดความร้อน เก็บรักษาให้ห่างจากความร้อนและประกลายไฟ หลีกเลียงการสัมผัสกับผิวหนัง ดวงตา
เสื้ อผ้าและการสัมผัสกับวัสดุที่เป็ นเชื้อเพลิง เก็บรักษาให้ห่างจากวัสดุที่เป็ นเชื่อเพลิง
หน้า 2 จาก 6
ผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจ
ผลกระทบในระยะสั้น อาจทาให้เกิดการระคายเคือง
ผลกระทบในระยะยาว อาจทาให้เกิดการระคายเคือง ถ้าสูดดมเป็ นระยะเวลานาน อาจทาให้เกิดการไอ และปอดอาจเสี ยหาย
การสัมผัสทางผิวหนัง
ผลกระทบในระยะสั้น อาจทาให้เกิดการระคายเคือง อักเสบได้
ผลกระทบในระยะยาว เหมือนกับระยะสั้น
การสัมผัสทางดวงตา
ผลกระทบในระยะสั้น ทาให้เกิดการระคายเคืองเนื้อเยือ่ ตา ตาแดง ปวดแสบปวดร้อน น้ าตาไหลเป็ นแผลไหม้
ผลกระทบในระยะยาว เหมือนกับระยะสั้น
การสัมผัสทางระบบทางเดินอาหาร
ผลกระทบในระยะสั้น ทาให้คลื่นไส้ ผิวหนังเปลี่ยนสี
ผลกระทบในระยะยาว ทาให้คลื่นไส้ ผิวหนังเปลี่ยนสี ทาให้โลหิตจาง และทาให้เกิดอันตรายต่อไต
การก่ อมะเร็ง OSHA : ไม่เป็ นสารก่อมะเร็ ง
NTP : ไม่เป็ นสารก่อมะเร็ ง
IARC : ไม่เป็ นสารก่อมะเร็ ง
SECTION 3 องค์ ประกอบและข้ อมูลเกีย่ วกับส่ วนผสม
( Composition/Information On Ingredients )

ส่วนประกอบ แอมโมเนียมไนเตรท
CAS NUMBER : 6484-52-2
เปอร์เซ็นต์ 100.0

SECTION 4 มาตรการปฐมพยาบาล
( First-aid Measures )
ระบบทางเดินหายใจ
การปฐมพยาบาล นาผู้ป่วยออกจากพืน้ ทีเ่ พือ่ รับอากาศบริสุทธิ์ในทันทีถ่ ้ ามีอาการหยุดหายใจให้ ช่วยปั๊มหัวใจ แต่ ต้องกระทาโดยผู้ทผี่ ่านการอบรม
มาแล้ วเท่ านั้น ทาร่ างกายผู้ป่วยให้ อบอุ่นรักษาตามอาการแล้ วรีบนาส่ งแพทย์
การสัมผัสทางผิวหนัง
การปฐมพยาบาล ถอดเสื้อผ้า รองเท้ าทีป่ นเปื้ อนสารเคมีออกทันทีแ่ ล้ วล้ างบริเวณทีส่ ัมผัสด้ วยสบู่หรือผงซักฟอก โดยใช้ นา้ ไหลผ่านในปริมาณ
มากๆ จนกระทัง่ หมดฤทธิ์สารเคมี (อย่ างน้ อย 15-20 นาที) แล้ วนาส่ งแพทย์
การสัมผัสดวงตา
การปฐมพยาบาล ล้ างตาด้ วยนา้ สะอาดหรือนา้ เกลือ โดยใช้ นา้ ไหลผ่านในปริมาณมากๆ จนกระทัง่ หมดฤทธิ์สารเคมี (อย่ างน้ อย 15-20 นาที) แล้ ว
นาส่ งแพทย์
การสัมผัสทางระบบทางเดินอาหาร
การปฐมพยาบาล ให้ รักษาตามอาการ ถ้ าผู้ป่วยรู้ สึกตัวและสามารถกลืนอาหารได้ ให้ ดมื่ นา้ หรือนมมากๆในทันทีเ่ พือ่ ไปเจือจาง ถ้ าผู้ป่วยมีการ
อาเจียนให้ พยายามทาให้ ศีรษะผู้ป่วยอยู่ในระดับตา่ กว่ าระดับสะโพกเพือ่ ป้ องกันเศษอาหารอุดตันระบบทางเดินหายใจแล้ วนาส่ งแพทย์
หน้า 3 จาก 6

SECTION 5 มาตรการผจญเพลิง
( Fire-fighting Measures )
นตรายจากไฟและการระเบิด เมื่อมีการระเบิดเกิดขึ้นอันตรายจากไฟจะกลายเป็ นเรื่ องเล็กในทันที่
สารออกซิไดร์ซิ่งเอเจนท์เมื่อเกิดการสลายตัวให้ออกซิเจน โดยเฉพาะเมื่อได้รับความร้อนจะให้ก๊าซออกซิเจนและก๊าซอื่นๆที่จะทาให้อตั ราการเผา
ไหม้ของเชื้อเพลิงเพิม่ ขึ้น การสัมผัสกับสารที่มีความไวในการให้ออกซิเจนได้ง่ายเช่น สารอินทรี ยห์ รื อสารเชื้อเพลิงอื่นๆแล้วจะทาให้เกิดปฏิกิริยา
กันอย่างรุ นแรงทาให้เกิดไฟลุกไหม้ข้ ึนการลุกไหม้อาจรุ นแรงหรื อเกิดการระเบิดขึ้นได้
สารดับเพลิง : ใช้น้ าเท่านั้น ห้ามใช้สารเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์ แต่สาหรับไฟขนาดใหญ่ควรใช้วธิ ีการดับเพลิงด้วยน้ าจากระยะไกล
การผจญเพลิง :( 1990 Emergency Response Guidebook, DOT P 5800.0, Guide Page 44)
ห้ามเคลื่อนย้ายยานพาหนะที่ขนส่งสารเคมีขณะที่สมั ผัสกับไฟพยายามฉี ดน้ าคลุมหรื อฉีดน้ าหล่อเลี้ยงภาชนะบรรจุสารเคมีเพื่อป้ องกันการระเบิด
จนก่าวจะแน่ใจว่าเพลิงสงบ ในการฉี ดน้ าดับเพลิงให้ฉีดเป็ นลาตรง ฉี ดน้ าหล่อเลี้ยงภาชนะบรรจุ Cooling แต่ถา้ เป็ นไปได้ให้ใช้วธิ ีการควบคุมการ
ดับเพลิงจากระยะไกล พนักงานดับเพลิงจะต้องระมัดและหลีกเหลี่ยงการหายใจเอาไอระเหยของสารเคมีที่เป็ นก๊าซพิษที่เกิดขึ้นจากเพลิงไหม้
เนื่องจากการเกิดเพลิงไหม้สารเคมีดงั กล่าว อาจเกิดสารพิษ เช่น ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน ซึ่งเป็ นอันตรายต่อสิ่ งมีชีวติ อยูเ่ หนือลมและเข้า
ดับเพลิงเหนือลมเสมอ ถ้าไม่สามารถควบคุมเพลิงไหม้ได้ให้พยายามจากัดขอบเขตเพลิงไหม้และถ้าไม่สามารถจากัดขอบเขตของเพลิงไหม้ได้ ให้
ทาการอพยพผูท้ ี่ไม่เกี่ยวข้องออกนอกพื้นที่โดยเฉพาะที่อยูใ่ ต้ลมจากที่เกิดเหตุ และกั้นพื้นที่ป้องกันผูไ้ ม่เกี่ยวข้องออกจากบริ เวณที่เกิดเพลิงไหม้
อย่างน้อย 800 เมตร
กรณี การขนส่งแล้วเกิดเพลิงไหม้อย่างรุ นแรงให้ใช้วธิ ีการดับเพลิงโดยใช้หวั ฉี ดแบบที่เป็ น Monitor หรื อใช้วธิ ีหาอุปกรณ์จบั ยึดหัวฉี ดไว้แล้ว
สามารถควบคุมจากระยะไกลได้ แต่ถา้ ไม่สามารถทาได้ให้อพยพออกนอกพื้นที่รอจนกว่าเพลิงไหม้จะดับไปเอง
อันตรายจากการเผาไหม้ ของผลิตภัณฑ์ ความร้อนจาการเผาไหม้จะทาให้เกิดการสลายตัวของแอมโมเนียมไนเตรทแล้วให้ออกไซด์ที่เป็ นพิษของ
ไนโตรเจน การเข้าดับเพลิงควรสวมใส่ SCBA
SECTION 6 มาตรการจัดการเมือ่ มีการหกรั่วไหลของสาร
( Accidental Release Measures )
การหกรั่วไหลในพืน้ ทีท่ างาน เคลื่อนย้ายวัสดุเชื้อเพลิงออกจากพื้นที่ที่มีการหกรั่วไหล ห้ามสัมผัสกับสารเคมีที่รั่วหรื อหกโดยตรง จะต้องสวมใส่
PPE ที่เหมาะสม หยุดการรั่วไหลในทันที่ที่สามารถทาได้โดยปราศจากความเสี่ ยง ให้จดั เก็บในรู ปของแข็งให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ สาหรับการ
หกรั่วเล็กๆน้อยๆ สามารถฉี ดน้ าเป็ นละอองฝอยเพื่อดักจับไอระเหย ใช้วสั ดุดูดซับที่ไม่เป็ นเชื้อเพลิงดูดซับแล้วเก็บใส่ภาชนะก่อนนาไปทิ้งในที่ที่
จัดเตรี ยมไว้ สาหรับการหกหรื อรั่วไหลจานวนมากๆให้ทากันบริ เวณและกันผูท้ ี่ไม่เกี่ยวข้องออกนอกพื้นที่แล้วทาการจัดเก็บใส่ภาชนะเพื่อนาไป
บาบัดต่อไป
ควรจัดเก็บในรู ปของของแข็งเพือ่ ให้ ง่ายในการบาบัดกาจัดเนื่องจากแอมโมเนียมไนเตรทสามารถละลายนา้ ได้ ดี ระวังการปนเปื้ อนกับสารทีเ่ ป็ น
เชื้อเพลิงและผลกระทบกับแหล่ งนา้ สาธารณะ
SECTION 7 การขนถ่ าย เคลือ่ นย้ าย ใช้ งาน และเก็บรักษา
( Handling And Storage )
ต้องพิจารณากฎระเบียบข้อบังคับของพื้นที่และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ในการจัดเก็บสารเคมีแอมโมเนียมไนเตรท เพื่อป้ องกันความเสี ยหายทาง
กายภาพ ภาชนะที่ใช้บรรจุสารเคมีตอ้ งไม่แตกหรื อฉี กขาดง่าย
จัดเก็บโดยแยกจาก วัสดุที่เป็ นเชื้อเพลิง, สารเคมีจาพวกออแกนิด, น้ ามันสน, กรดอินทรี ยส์ ารซัลเฟอร์, คลอเรท, ผงโลหะ, ถ่านหิ น, ขี่เลื่อย,
สารอินทรี ยอ์ ื่นๆหรื อสารที่เป็ นสารทีมีความไวให้การให้ออกซิเจน เนื่องจากแอมโมเนียมไนเตรทเป็ นสารออกซิไดซ์ซิ่งเอเจนท์ การจัดเก็บจะต้อง
จัดในอาคารที่มีการระบายอากาศที่ดี มีระบบป้ องกันเพลิงไฟไหม้อาคารจัดเก็บแข็งแรงโครงสร้างและตัวอาคารทาด้วยวัสดุทนไฟ พื้นห้องสะอาด
หากมีการหกหรื อรั่วไหลจะต้องรี บดาเนินการแก้ไขในทันที่ ( NFPA 490,Hazardous Chemical Data,1975 )
หน้า 4 จาก 6

SECTION 8 การควบคุมการสั มผัสและการป้ องกันส่ วนบุคคล


( Exposure Controls/Personal Protection )
ค่ ามาตรฐานความปลอดภัย
ค่ามาตรฐานปริ มาณที่ปลอดภัยในการสัมผัส /ไม่มี
การระบายอากาศ จะต้องจัดให้มีระบบการระบายอากาศในพื้นและระบบการระบายอากาศจะต้องเป็ นแบบป้ องกันการระเบิดในกรณี ที่มีความ
เข้มข้นของฝุ่ น, ฝูม,ไอสารเคมีเกิดขึ้นเป็ นจานวนมาก
การป้ องกันดวงตา ผูป้ ฏิบตั ิงานจะต้องสวมใส่ที่ครอบตา, แว่นตา, ป้ องกันการกระเด็นหรื อฝุ่ นที่ปนเปื้ อนทั้งนี้ข้ นึ อยูก่ บั สถานการณ์โอกาสและ
ความเสี่ ยงในการสัมผัส
ในพื้นที่ทางานจะต้องจัดให้มี Emergency Eye Wash, และไม่มีสิ่งกีดขวางและมีพ้นื ที่ใช้งานเพียงพอกรณี เกิดเหตุฉุกเฉินขึ้น
การป้ องกันผิวหนัง ผูป้ ฏิบตั ิงานจะต้องสวมใส่ชุดป้ องกันที่เหมาะสมในการสัมผัสและอุปกรณ์อื่นๆตามความเหมาะสมขึ้นอยูก่ บั ความเสี่ ยง ใน
การที่จะสัมผัสกับแอมโมเนียมไนเตรท
ระบบทางเดินหายใจ การสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจให้ทาตามข้อแนะนาในหัวข้อข้อมูลความเป็ นพิษต่อสุขภาพและสภาพทาง
กายภาพของสารเคมี
คุณสมบัติของอุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจขึ้นอยูก่ บั ระดับการปนเปื้ อนของสารในพื้นที่ทางานและประสิ ทธิภาพและข้อจากัดของ
อุปกรณ์น้ นั ๆ อุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจที่เป็ นที่ยอมรับของหน่วยงานทางด้านความปลอดภัยแบ่งตามประสิ ทธิภาพการทางานดังนี้
หน้ากากป้ องกันฝุ่ นละออง dust and mist respirator
หน้ากากแบบมีตลับกรอง
หน้ากากเต็มหน้าที่มีตลับกรอง
หน้ากากแบบมีตลับกรองและปั๊ มลม
หน้ากากที่เป็ นแบบเต็มหน้ามี supplied – air
หน้ากาก SCBA (self - contained breathing apparatus )
สาหรับการเกิดเพลิงไหม้ หรือสภาวะทีเ่ ป็ นอันตรายต่ อสุขภาพ สวมใส่หน้ากาก SCBA และจะต้องมัน่ ใจว่าความดันภายในถังมีอากาศเพียงพอต่อ
การใช้งาน ควรมีการตรวจเช็คความพร้อมในการใช้งานของอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องเป็ นประจา
SECTION 9 คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
( Physical And Chemical Properties )
คุณสมบัติทางกายภาพ เป็ นของแข็ง มีสีขาวอ่อน ไม่มีกลิ่น เป็ นผลึกของแข็งเม็ดเล็กๆ
น้ าหนักโมเลกุล 80.04
สูตรโมเลกุล N- H4- N- O3
จุดเดือด 210 Co
จุดหลอมเหลว 170 Co
pH 5.4 @ 0.1 M Solution
ความถ่วงจาเพาะ 1.725 @ 25 Co
การละลายในน้ า 118%@ 0 Co
ความสามารถในการละลาย ในAcetone, แอมโมเนีย, เมธานอล
หน้า 5 จาก 6

SECTION 10 ความเสถียรและการเกิดปฏิกริ ิยา


( Stability And Reactivity )
การเกิดปฏิกริ ิยา สามารถระเบิดได้ถา้ ได้รับความร้อนหรื อมีได้รับการกระตุน้ ด้วยพลังงานอย่างรุ นแรง
สภาวะทีต่ ้ องหลีกเหลีย่ ง เพลิงไหม้ และสารติดไฟเช่น ไม้ กระดาษ น้ ามันเป็ นต้น ความร้อนจากการเสี ยดสี และการปนเปื้ อนในขณะผสมกับ
น้ ามันเชื่อเพลิง และอันตรายจากน้ าเสี ยที่เกิดจากการดับเพลิงหรื ออันตรายจากการระเบิด
อันตรายจากการสลายตัว ความร้อนจะทาให้เกิดการสลายตัวและให้ก๊าซและฟูมที่เป็ นพิษและกัดกร่ อนของแอมโมเนียและก๊าซพิษของไนโตรเจน
ออกไซด์
SECTION 11 ข้ อมูลความเป็ นพิษ
( Toxicological Information )
ความเป็ นพิษ LC50 =2217mg/kgการได้รับทางปากของหนู
ความเป็ นสารก่ อมะเร็ง ไม่เป็ นสารก่อมะเร็ ง
บริเวณทีม่ ผี ลกระทบ เกิดการระคายเคืองเนื้อเยือ่ ในระบบทางเดินหายใจ ผิวหนัง ดวงตา
ความเป็ นพิษเฉียบพลัน มีความเป็ นพิษเล็กน้อยหากได้รับโดยทางระบบทางเดินอาหาร(กลืนกิน)
อวัยวะเป้ าหมาย อาจมีผลกระทบต่อเลือด
ผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจ
อาการเฉียบพลัน อาจเกิดการระคายเคืองระบบทางเดินหายใจและมีอาการไอเจ็บคอหายใจลาบาก ในกรณี ที่มีความรุ นแรงอาจมีอาการเกี่ยวกับ
ปอดบวมน้ าตามมา
อาการเรื้อรัง ขึ้นอยูก่ บั ระยะเวลาและความเข้มข้นในการสัมผัส หรื ออาการแพ้ทางระบบทางเดินหายใจ (โรคภูมิแพ้)
การสัมผัสทางผิวหนัง
อาการเฉียบพลัน อาจเกิดการระคายเคือง เป็ นผืน่ แดง
อาการเรื้อรัง การสัมผัสบ่อยๆสัมผัสซ้ าๆเป็ นระยะเวลานานๆอาจทาให้เกิดการระคายเคืองและผิวหนังอักเสบ
การสัมผัสทางดวงตา
อาการเฉียบพลัน ทาให้เกิดการระคายเคืองเนื้อเยือ่ ตา ตาแดง ปวดแสบปวดร้อน น้ าตาไหลเป็ นแผลไหม้
อาการเรื้อรังรัง การสัมผัสบ่อยๆสัมผัสซ้ าๆเป็ นระยะเวลานานๆอาจทาให้เกิดการระคายเคืองและอาการอื่นๆที่ต่อเนื่องตามมา
ผลกระทบต่อระบบทางเดินอาหาร
อาการเฉียบพลัน อาจเกิดการระคายเคืองในกระเพาะอาหาร เกิดอาการเกร็ งในช่องท้อง คลื่นไส้เป็ นลม กรณี รับเข้าไปมากๆอาจทาให้ระบบภายใน
ร่ างกายเป็ นกรดและเม็ดเลือดแตกตัวเขียวและเสี ยชีวติ ได้ ในบ้างกรณี สารอนินทรี ยไ์ นเตรทจะถูกเปลี่ยนไนไตรโดยแบคทรี เรี ยในกระเพาะอาหาร
มีผลทาให้เม็ดเลือดแตก
อาการเรื้อรัง การสัมผัสบ่อยๆสัมผัสซ้ าๆเป็ นระยะเวลานานๆกับสารไนเตรทอาจทาให้เกิดโลหิตจางและอัตรายต่อไตระบบเม็ดเลือดในร่ างกาย
SECTION 12 ข้ อมูลทางระบบนิเวศน์ วทิ ยา
( Ecological Information )
ระดับการส่งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม ( 0-4 ) ไม่มีขอ้ มูล
ความเป็ นพิษต่อสิ่ งมีชีวติ ที่อาศัยอยูใ่ นน้ า ไม่มีขอ้ มูล
BOD&COD ไม่มีขอ้ มูล
หน้า 6 จาก 6

SECTION 13 ข้ อพิจารณาในการกาจัดและการบาบัด
( Disposal Considerations )
การบาบัด จะต้องขออนุญาตจากท้องถิ่นในการใช้พ้นื ที่กาจัดบาบัดของเสี ย สาหรับพื้นที่ในการบาบัดจะต้องแยกจากพื้นที่กาจัดและจะต้องแน่นใจ
ว่าสอดคล้องกับกฏระเบียบและข้อกาหนดของท้องถิ่น
SECTION 14 ข้ อมูลการขนส่ ง
( Transport Information )

UN number : UN1942
Proper Shipping Name : Ammonium Nitrate
Transport Hazard Class : Class 5.1
Packaging Group : PG III
การขนส่งให้เป็ นไปตามกฎหมายการขนส่งวัตถุอนั ตรายทางบก พ.ศ. 2545 ของกระทรวงอุตสาหกรรม
SECTION 15 กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ อง
( Regulatory Information )
พระราชบัญญัติ ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ 2530
ประกาศรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงกลาโหม ครั้งที่ 6 เรื่ อง กาหนดชนิดยุทธภัณฑ์ที่ตอ้ งขออนุญาต พ.ศ 2508
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่ องการขนส่งวัตถุอนั ตรายทางบก พ.ศ. 2545
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่ องความปลอดภัยในการทางานกับสารเคมีอนั ตราย
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่ องการประกันภัยความเสี ยหายจากการขนส่งวัตถุอนั ตราย พ.ศ. 2549
คู่มือการเก็บรักษาวัตถุอนั ตราย พ.ศ. 2550
เกณฑ์มาตรฐานการกากับดูแลวัตถุอนั ตราย พ.ศ. 2535
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่ องระบบการจาแนกและการสื่ อสารความเป็ นอันตรายของวัตถุอนั ตราย 2555
SECTION 16 ข้ อมูลอืน่ ๆ
( Other Information )
ทางบริ ษทั ไนเตรทไทย จากัด หวังว่าข้อมูลทั้งหลายเหล่านี้จะเป็ นประโยชน์และเป็ นแนวทางให้การจัดการกับสารเคมีดงั กล่าวในการจัดเก็บการ
ใช้งานและแนวทางตอบโต้หากเกิดเหตุฉุกเฉิ นและการป้ องกันผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมและชุมชนและเพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพอนามัยของ
ผูใ้ ช้งาน

You might also like