You are on page 1of 10

โครงการในพระราชดำริ ในหลวงรัชกาลที่ 9

โครงการฝายชะลอน้ำ

สมาชิกในกลุ่ม

นางสาวพรไพลิน ศรียะสัตย์

รหัสนักศึกษา 6411101005

นางสาวณัฐฌา ม่วงขาว

รหัสนักศึกษา 6411101011

นางสาวรัตนาพร สุทธิรักษ์

รหัสนักศึกษา 6411101013

นางสาวพิชญา บุญทอง

รหัสนักศึกษา 6411101019

นางสาวธมลวรรณ เผือกผ่อง

รหัสนักศึกษา 6411101023

นางสาวเรศรินทร์ คงปั้น

รหัสนักศึกษา 6411101029

สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย กลุ่มเรียน 01
โครงการในพระราชดำริ ในหลวงรัชกาลที่ 9

โครงการฝายชะลอน้ำ

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร ทรงทราบดีว่าประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพทางการเกษตรและ
อาศัยน้ำฝน จึงทรงเน้นการอนุรักษ์และพัฒนาแหล่งน้ำเป็ นพิเศษและทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯเพื่อสร้างความชุ่มชื้นดักตะกอนดินเก็บกักน้ำ ซึ่งหาก
สามารถเก็บกักน้ำได้ปริมาณมากพอ ก็สมควรที่จะกระจายน้ำออกไปรอบ
ๆ พื้นที่บริเวณฝายเพื่อสร้างความชุ่มชื้นให้กับพื้นที่ต้นน้ำ ดังนั้นในการ
ก่อสร้างฝายต้นน้ำลำธารแต่ละชนิด จึงมีวัตถุประสงค์และความเหมาะสม
ของพื้นที่ที่แตกต่างกันออกไปด้วย ซึ่งรูปแบบของฝายต้นน้ำลำธาร หรือ
Check Dam ตามแนวพระราชดำริ

ฝ่ ายต้นน้ำลำธาร หรือ Check Dam คือ สิ่งก่อสร้างขวาง หรือกั้นทาง


น้ำ ซึ่งปกติมักจะกั้นลำห้วยลำธารขนาดเล็กในบริเวณที่เป็ นต้นน้ำ หรือพื้นที่
ที่มีความลาดชันสูงให้สามารถกักตะกอน อยู่ได้ และหากช่วงที่น้ำไหลแรงก็
สามารถชะลอการไหลของน้ำให้ช้าลง และกักเก็บตะกอนไม่ให้ไหล ลงไป
ทับถมลำน้ำตอนล่าง ซึ่งเป็ นวิธีการอนุรักษ์ดินและน้ำได้มากวิธีการหนึ่ง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานคำอธิบายว่า การปลูกป่ า
ทดแทนพื้นที่ป่ ไม้ ที่ถูกทำลายนั้นจะต้องสร้างฝ่ ายเล็กเพื่อหมุนน้ำส่งไปตาม
เหมืองไปใช้ในพื้นที่เพาะปลูกทั้งสองด้าน ซึ่งจะให้ค่อย ๆ แผ่ขยายออกไป
ทำความชุ่มชื้น ในบริเวณนั้นด้วย....

พระราชดำรัสเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2521 ณ อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัด


แม่ฮ่องสอน "...

สำหรับต้นไม้ที่ขึ้นอยู่ในบริเวณสองข้างลำห้วย จำเป็ นต้องรักษาไว้ให้ดี


เพราะจะช่วยเก็บรักษาความชุ่มชื้นไว้ ส่วนตามร่องน้ำและบริเวณที่น้ำซับก็
ควรสร้างฝายขนาดเล็กกั้นน้ำไว้ในลักษณะฝ่ ายชุ่มชื้น แม้จะมีจำนวนน้อย
ก็ตาม สำหรับแหล่งน้ำที่มีปริมาณน้ำมาก จึงสร้างฝายเพื่อผันน้ำลงมาใช้ใน
พื้นที่ เพาะปลูก..."

พระราชดำรัส เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2527 ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่อ


งไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
"...เป้ าหมายหลักของโครงการ ฯ แห่งนี้ คือการฟื้ นฟูและอนุรักษ์บริเวณ
ต้นน้ำ ห้วยฮ่องไคร้ ซึ่งมีสภาพแห้งแล้งโดยเร่งด่วน โดยทดลองใช้วิธีการใหม่
เช่น วิธีการผันน้ำออกจาก อ่างเก็บน้ำในระดับบนลงไปตามแนวร่องน้ำต่าง
ๆ เพื่อช่วยให้ความชุ่มขึ้นค่อย
พระราชดำรัสเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2532 ณ ดอยอ่างขาง อำเภอฝาง
จังหวัดเชียงใหม่ ควรสร้างฝายลำธารตามร่องน้ำเพื่อช่วยชะลอกระแสน้ำ
และเก็บกักน้ำสำหรับสร้างความชุ่มชื้นให้กับบริเวณต้นน้ำ..

รูปแบบของฝายสามารถแบ่งออกได้ 3 แบบ

1. แบบท้องถิ่นเบื้องต้น หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า “ฝายแม้ว” เป็ นการ


ก่อสร้างด้วยวัสดุมีอยู่ตามธรรมชาติที่ เช่น กิ่งไม้ ท่อนไม้ ขนาบด้วยก้อนหิน
ขนาดต่างๆ ในลำห้วย หรือร่องน้ำ โดยจะสามารถดักตะกอน ชะลอการไหล
ของน้ำและเพิ่มความชุ่มชื้นให้แก่บริเวณพื้นที่รอบๆ ฝายได้

2. แบบเรียงด้วยหินค่อนข้างถาวร เป็ นการก่อสร้างด้วยการเรียงหินเป็ นผนัง


กั้นน้ำ ก่อสร้างบริเวณตอนกลางและตอนล่างของลำห้วย หรือร่องน้ำ จะ
สามารถดักตะกอน และเก็บกักน้ำในช่วงฤดูแล้งได้บางส่วน

3. แบบคอนกรีตเสริมเหล็ก เป็ นการก่อสร้างแบบถาวร ส่วนมากจะดำเนิน


การในบริเวณตอนปลายของลำห้วยหรือร่องน้ำ ทำให้สามารถดักตะกอน
และเก็บกักน้ำในฤดูแล้งได้ดี ค่าก่อสร้างขึ้นอยู่กับขนาดของลำห้วย ซึ่งควรมี
ความกว้างไม่เกิน 4 เมตร

วัตถุประสงค์ในการสร้างฝ่ ายต้นน้ำลำธาร
1) เพื่อชะลอการไหลของน้ำ ทำให้น้ำซึมลงสู่ดินได้มากขึ้น เพิ่มความชุ่มชื้น
ส่งผลให้เกิดความ

หลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศป่ าต้นน้ำลำธาร

2) เพื่อลดความรุนแรงของการเกิดการชะล้างพังทลายของดิน กักเก็บ
ตะกอน ซึ่งจะช่วยยืด

อายุของแหล่งน้ำตอนล่างให้ตื้นเขินช้าลง และทำให้มีปริมาณและคุณภาพ
ของน้ำที่ดีขึ้น

3) เพื่อกักเก็บน้ำไว้เป็ นแหล่งน้ำสาหรับใช้ในการอุปโภคบริโภคของมนุษย์
และสัตว์ป่ า

ตลอดจนการเกษตรกรรม

แนวทางการก่อสร้างฝายชะลอน้ำ

1.วัตถุประสงค์ของการก่อสร้าง

- การก่อสร้างฝายเพื่อกักเก็บตะกอน

- การสร้างฝ่ ายเพื่อชะลอการไหลของน้ำ

- การสร้างฝ่ ายเพื่อกักเก็บน้ำ
2. ขนาดของห้วยลำธาร

- ร่องน้ำไหลมีขนาดกว้างไม่เกิน 3 เมตร

- ลำธารขนาดเล็กมีน้ำไหลกว้างประมาณ 3-5 เมตร

- ลำธารขนาดใหญ่มีขนาดกว้าง และมีปริมาณน้ำที่มากขึ้น

3. ลักษณะภูมิประเทศ

- ความลาดชัน

- ทิศด้านลาด โดยเฉพาะด้านใต้และตะวันตก

4. ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน

- การทำเกษตรกรรม

- ป่ าเสื่อมโทรม

- ป่ าสมบูรณ์

5. การมีส่วนร่วมของชุมชน

- การเลือกจุดก่อสร้าง

- การบำรุงรักษา

6. การเลือกที่สร้างฝายต้นน้ำลำธาร

- ที่สร้างฝายอยู่ตำแหน่งกักเก็บน้ำบริเวณด้านหน้าฝ่ ายได้พอสมควร

- บริเวณที่จะสร้างควรมีตลิ่งของลำน้ำ
- ควรสร้างในบริเวณลำห้วยที่มีความลาดชันต่ำและแคบ

- ควรสำรวจสภาพพื้นที่

- คำนึงถึงความแข็งแรง

การก่อสร้างฝายต้นน้ำลำธารชนิดต่างๆ (หารูปมาใส่ในพ้อยท์)

1. แบบท้องถิ่นเบื้องต้น

1.1. แบบฝายคอกหมูแกนดินอัดขนาบด้วยหิน

1.2. แบบถุงทรายซีเมนต์

1.3. แบบผสมผสานแบบตาข่าย

2. การก่อสร้างฝายต้นน้ำลำธารแบบกึ่งถาวร

2.1 แบบหินเรียงแกนดินเหนียว

2.2 แบบหินก่อ

2.3 แบบถาวร

ประโยชน์ของฝายชะลอน้ำพอเพียงตามแนวพระราชดำริฝายชะลอน้ำพอ
เพียงตามแนวพระราชดำริ

1. ช่วยเก็บกักน้ำ

2. ช่วยลดความรุนแรงของการเกิดไฟป่ า
3. ช่วยลดการพังทลายของหน้าดิน และลดความรุนแรงของกระแสน้ำ
ในลำห้วย

4. ช่วยกักเก็บตะกอนและวัสดุต่างๆ ที่ไหลลงมากับน้ำในลำห้วย

5. ช่วยเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ

6. เป็ นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ และใช้เป็ นแหล่งน้ำ เพื่อการอุปโภค


บริโภค

ข้อควรคำนึงในการสร้างฝ่ ายต้นน้ำลำธาร

1) ควรสำรวจสภาพพื้นที่ วัสดุก่อสร้างตามธรรมชาติ และรูปแบบของ


ฝายต้นน้ำลำธารที่

เหมาะสมกับภูมิประเทศให้มากที่สุด

2) ต้องคำนึงถึงความแข็งแรงให้มากพอที่จะไม่เกิดการพังทลายเสีย
หายยามที่ฝนตกหนักและ

กระแสน้ำไหลแรง

3) ควรก่อสร้างในบริเวณลำห้วยที่มีความลาดชันต่ำและแคบ มีพื้นที่
รับน้ำนอง และรับ

ตะกอนได้มากพอควร
4) สาหรับฝายต้นน้ำลำธารแบบกึ่งถาวรและแบบถาวร ควรก่อสร้าง
ฐานให้ลึกถึงหินดานร่อง

ห้วย (bedrock) เพื่อมิให้น้ำรั่วซึมที่จะก่อให้เกิดความเสียหายได้

5) วัสดุก่อสร้างฝ่ ายต้นน้ำลำธาร ประเภทกิ่งไม้ ท่อนไม้ ที่นำมาใช้ใน


การสร้างให้พิจารณาใช้

เฉพาะไม้ล้มขอนนอนไพรเป็ นลำดับแรก ก่อนที่จะใช้กิ่งไม้ ท่อนไม้


จากการริดกึ่งถ้าจำเป็ นให้ใช้น้อยที่สุด

6) จัดลำดับความสำคัญของลำห้วย และต้องพิจารณาสภาพแวดล้อม
และความรุนแรงของ

ปั ญหาในพื้นที่เป็ นสำคัญ หากมีสภาพป่ าที่ค่อนข้างสมบูรณ์หรือมี


ต้นไม้หนาแน่นความจำเป็ นก็จะลดน้อยลงอาจจะสร้างบางจุดเสริมเท่านั้น

การบำรุงรักษาฝ่ ายต้นน้ำลำธาร

เนื่องจากฝายต้นน้ำลำธารแต่ละชนิด มีการใช้วัสดุและมีอายุการใช้งานแตก
ต่างกัน วัสดุแต่ละอย่างที่ใช้อาจเสื่อมสลายตามธรรมชาติ ฉะนั้นควรมีการ
บำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์และเป็ นปกติในแต่ละปี ก่อนฤดูฝนจะมา
ถึง เช่น ถ้าหากเป็ นฝ่ ายเศษไม้ หรือฝายกระสอบทราย ควรมีการซ่อมแซม
เสาหลักและเพิ่มเติมส่วนประกอบที่ชำรุด ส่วนฝายกึ่งถาวรและฝ่ ายถาวรนั้น
ควรหมั่นตรวจรอยรั่วซึมของน้ำบนตัวฝ่ ายตลอดจนสิ่งกีดขวางทางน้ำเป็ น
ประจำทุกปี ส่วนฝายที่มีวัตถุประสงค์ในการเก็บกักน้ำเพื่อประโยชน์ด้านใด
ด้านหนึ่ง ถ้าหากมีตะกอนทับถมมากควรมีการขุดลอกเพื่อให้มีพื้นที่กักเก็บ
น้ำได้เพียงพอ

คำถาม

1.ฝ่ ายต้นน้ำลำธาร หรือ Check Dam คืออะไร

2.รูปแบบของฝายสามารถแบ่งออกได้ 3 แบบมีอะไรบ้าง

You might also like