You are on page 1of 48

จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา

ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
คำ�นำ�
“๘๔ พรรษา ประโยชน์สุขสู่ปวงประชา” สำ�นักราชเลขาธิการ มูลนิธิชัยพัฒนา สำ�นักงบประมาณ
และสำ � นั ก งานคณะกรรมการพิ เ ศษเพื่ อ ประสานงานโครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชดำ � ริ (สำ � นั ก งาน
กปร.) ได้ร่วมกันจัดขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสอันเป็นมงคลที่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระชนมพรรษา ๗ รอบ ในวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔
หนังสือชุด จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา เป็นหนึง่ ในกิจกรรมทีไ่ ด้จดั ทำ�ขึน้ เพือ่ เผยแพร่พระราชกรณียกิจ
พระราชดำ�ริ พระปรีชาสามารถและผลสำ�เร็จจากการพัฒนาในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริที่ก่อให้เกิด
คุณูปการต่อประชาชน ประเทศชาติมาอย่างต่อเนื่อง โดยจัดทำ�เป็นหนังสือชุด จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา
มีทั้งสิ้น ๑๔ เล่ม ประกอบด้วย หลักการทรงงาน, รากฐานความมั่นคงของมนุษย์, นํ้าคือชีวิต, ปราชญ์แห่งดิน,
รักษ์ปา่ : รักษาสิง่ แวดล้อม, วิถแี ห่งดุลยภาพ, ทฤษฎีใหม่, ชะลอนํา้ : เพิม่ ความชุม่ ชืน้ , กำ�แพงธรรมชาติทมี่ ชี วี ติ ,
พลังงานสีเขียว, จากนํา้ เสียสูน่ าํ้ ใส, พิพธิ ภัณฑ์ธรรมชาติทมี่ ชี วี ติ , ผลสำ�เร็จสูป่ ระชาชน และพระเกียรติเกริกไกร
โดยมีเป้าหมายหลักคือ เพื่อให้การจัดโครงการเฉลิมพระเกียรติ “๘๔ พรรษา ประโยชน์สุขสู่
ปวงประชา” เป็นไปอย่างสมพระเกียรติและสามารถเผยแพร่พระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมีต่อพสกนิกรชาวไทย
มาอย่างต่อเนือ่ งยาวนาน ประกอบกับเพือ่ ให้เยาวชนและประชาชนทัว่ ไป ได้มสี ว่ นร่วมในการสานต่อและถ่ายทอด
แนวพระราชดำ�ริได้อย่างชัดเจน เหมาะสม ผ่านการเรียนรูจ้ ากหนังสือชุด จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา ทัง้ ๑๔ เล่ม
ที่มีลักษณะที่เรียบง่ายสามารถนำ�ไปประยุกต์ได้อย่างหลากหลาย อันนำ�ไปสู่การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม
องค์กร และประเทศชาติ ให้บังเกิดความสุขและความยั่งยืนตลอดไป
คณะทำ�งานจัดทำ�หนังสือเฉลิมพระเกียรติ “๘๔ พรรษา ประโยชน์สุขสู่ปวงประชา”
สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ
(สำ�นักงาน กปร.)
ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
3
“…จะต้องสร้างฝายเล็กเพื่อหมุนนํ้าส่งไปตาม

ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
เหมืองไปใช้ ในพื้นที่เพาะปลูกทั้งสองด้าน ซึ่งจะ
ค่อยๆ แผ่ขยายออกไปทำ�ความชุ่มชื้นในบริเวณ
นั้นด้วย...”
4
จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา
ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
ฝายต้นนํ้าลำ�ธาร : พลิกผืนป่าให้สมบูรณ์
การดูแลรักษา และฟื้นฟูสภาพป่าไม้เพื่อนำ�มาซึ่งความ
สมบูรณ์ของป่าไม้ ดิน และนํ้า มีหลากหลายวิธีการ พระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักถึงความสำ�คัญของป่าไม้ และ
สภาพปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น จึงทรงเสนอวิธีการอันเป็นเครื่องมือ
ที่ ส ามารถจะใช้ ป ระโยชน์ ใ นการอนุรักษ์ ฟื้น ฟูป่ าไม้ ให้ ไ ด้ผ ลดี
โดยใช้ฝายกัน้ นํา้ ทีเ่ รียกว่า “Check Dam” หรืออาจเรียกอีกอย่างหนึง่ 5
ได้ว่า “ฝายต้นนํ้า” หรือ “ฝายชะลอนํ้า” หรือ “ฝายชะลอ

ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
ความชุ่มชื้น”
แนวพระราชดำ�ริเกี่ยวกับฝายต้นนํ้า
แนวพระราชดำ � ริ ที่ สำ � คั ญ ยิ่ ง ของพระบาทสมเด็ จ
พระเจ้าอยู่หัว คือ การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ
โดยเฉพาะด้านดินและนํ้า การก่อสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้น
หรือฝายแม้ว (Check Dam) ที่พระราชทานพระราชดำ�ริขึ้นตั้งแต่
ปี ๒๔๙๘ ที่บ้านสี่แยก จังหวัดกาฬสินธุ์ มิเพียงจะป้องกันการ
ถูกชะล้างของแร่ธาตุในดิน ยังช่วยทำ�ให้พื้นดินมีความชุ่มชื้น
ทำ�ให้ป่าเกิดความชุ่มชื้น ซึ่งพระราชดำ�รินี้มีความสำ�คัญมาก
ต่อระบบนิเวศป่าไม้
6
ฝายต้นนํ้าลำ�ธาร หรือ Check Dam คือ สิ่งก่อสร้างขวาง
หรือกัน้ ทางนาํ้ ซึง่ ปกติมกั จะกัน้ ลำ�ห้วยลำ�ธารขนาดเล็กในบริเวณ
ที่เป็นต้นนํ้า หรือพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงให้สามารถกักตะกอน
จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา

อยู่ได้ และหากช่วงที่นํ้าไหลแรงก็สามารถชะลอการไหลของนํ้า
ให้ช้าลง และเก็บกักตะกอนไม่ให้ไหลลงไปทับถมลำ�นํ้าตอนล่าง
ซึ่งเป็นวิธีการอนุรักษ์ดินและนํ้าได้มากวิธีการหนึ่ง
ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
7
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระราชดำ�ริ
เกี่ยวกับการปลูกป่าทดแทนพื้นที่ป่าไม้ที่ถูกทำ�ลายนั้น
“…จะต้องสร้างฝายเล็กเพือ่ หมุนนํา้ ส่งไปตามเหมือง
ไปใช้ในพื้นที่เพาะปลูกทั้งสองด้าน ซึ่งจะค่อยๆ แผ่ขยาย
ออกไปทำ�ความชุ่มชื้นในบริเวณนั้นด้วย...”
การพิ จ ารณาสร้ า งฝายชะลอความชุ่ ม ชื้ น เพื่ อ สร้ า ง
ระบบวงจรนํ้าแก่ป่าไม้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดนั้น ได้พระราชทาน
พระราชดำ�ริ สรุปได้ว่า
“...ให้ ดำ�เนิ น การสำ�รวจหาทำ�เลสร้ า งฝายต้ น นํ้ า
ลำ�ธารในระดับที่สูงใกล้บริเวณยอดเขามากที่สุดเท่าที่จะ
9
เป็นไปได้ ลักษณะของฝายดังกล่าวจำ�เป็นต้องออกแบบใหม่
เพื่อให้สามารถกักเก็บนํ้าไว้ได้ ปริมาณนํ้าหล่อเลี้ยงประคับ

ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
ประคองกล้าไม้พนั ธุท์ แี่ ข็งแรงและโตเร็วทีใ่ ช้ปลูกแซมในป่า
แห้งแล้งอย่างสมํา่ เสมอและต่อเนือ่ ง โดยการจ่ายนํา้ ออกไป
รอบๆ ตัวฝายจนสามารถตั้งตัวได้...”
รูปแบบและลักษณะ Check Dam นั้น ได้พระราชทาน
พระราชดำ�ริ สรุปว่า
“...ให้พิจารณาดำ�เนินการสร้างฝายราคาประหยัด
โดยใช้วัสดุราคาถูกและหาง่ายในท้องถิ่น เช่น แบบหินทิ้ง
คลุ ม ด้ ว ยตาข่ า ย ปิ ด กั้ น ร่ อ งนํ้ า กั บ ลำ�ธารขนาดเล็ ก เป็ น
ระยะๆ เพื่อใช้เก็บกักนํ้าและตะกอนดินไว้บางส่วน โดยนํ้า
ที่กักเก็บไว้จะซึมเข้าไปในดินทำ�ให้ความชุ่มชื้นแผ่ขยาย
ออกไปทั้งสองข้าง ต่อไปจะสามารถปลูกพันธุ์ไม้ป้องกันไฟ
พันธุไ์ ม้โตเร็วและพันธุไ์ ม้ไม่ทงิ้ ใบ เพือ่ ฟืน้ ฟูพนื้ ทีต่ น้ นํา้ ลำ�ธาร
ให้มีสภาพเขียวชอุ่มขึ้นเป็นลำ�ดับ…”
การก่อสร้าง Check Dam นัน้ ได้พระราชทานพระราชดำ�ริ
เพิ่มเติมในรายละเอียด สรุปได้ว่า
10 “…สำ�หรับ Check Dam ชนิดป้องกันไม่ให้ทรายไหล
ลงไปในอ่างใหญ่จะต้องทำ�ให้ดีและลึก เพราะทรายลงมา
จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา

จะกักเก็บไว้ ถ้านํ้าตื้นทรายจะข้ามไปลงอ่างใหญ่ได้ ถ้าเป็น


Check Dam สำ�หรับรักษาความชุ่มชื้น ไม่จำ�เป็นต้องขุดลึก
เพี ย งแต่ กั ก นํ้ า ให้ ล งไปในดิ น แต่ แ บบกั น ทรายนี้ จ ะต้ อ ง
ทำ�ให้ลึกและออกแบบอย่างไรไม่ให้นํ้าลงมาแล้วไล่ทราย
ออกไป…”
ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
11
ประเภทของ Check Dam นัน้ ทรงแยกออกเป็น ๒ ประเภท
ดังพระราชดำ�ริ สรุปได้ว่า
Check Dam นัน้ มี ๒ อย่าง ชนิดหนึง่ สำ�หรับชะลอนํา้
เพื่อสร้างความชุ่มชื้น อีกอย่างสำ�หรับป้องกันมิให้ทรายลง
ในอ่างใหญ่
จึงอาจกล่าวได้ว่า Check Dam นั้น ประเภทแรก คือ
ฝายต้นนาํ้ ลำ�ธาร หรือฝายชะลอความชุม่ ชืน้ ส่วนประเภททีส่ องนัน้
เป็นฝายดักตะกอนนั่นเอง
นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน
พระราชดำ�รัสซึ่งเป็นแนวทางการดำ�เนินงานเกี่ยวกับฝายต้นนํ้า
ลำ�ธาร (Check Dam) ในพื้นที่ต่างๆ ดังนี้
เมื่อวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๒๑ ณ อำ�เภอแม่ลาน้อย จังหวัด 13
แม่ฮ่องสอน ความตอนหนึ่งว่า

ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
“…สำ�หรับต้นนํา้ ไม้ทขี่ นึ้ อยูใ่ นบริเวณสองข้างลำ�ห้วย
จำ�เป็นต้องรักษาไว้ให้ดี เพราะจะช่วยเก็บรักษาความชุม่ ชืน้
ไว้ ส่วนตามร่องนํา้ และบริเวณทีน่ าํ้ ซับก็ควรสร้างฝายขนาด
เล็กกัน้ นํา้ ไว้ในลักษณะฝายชุม่ ชืน้ แม้จะมีจำ�นวนน้อยก็ตาม
14
จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา
สำ�หรับแหล่งนํ้าที่มีปริมาณนํ้ามาก จึงสร้างฝายเพื่อผันนํ้า
ลงมาใช้ในพื้นที่เพาะปลูก…”
เมื่อวันที่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๗ ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนา
ห้ ว ยฮ่ อ งไคร้ อั น เนื่ อ งมาจากพระราชดำ � ริ อำ � เภอดอยสะเก็ ด
จังหวัดเชียงใหม่ สรุปได้ว่า
“...เป้าหมายหลักของโครงการฯ แห่งนี้คือ การฟื้นฟู
และอนุรักษ์บริเวณต้นนํ้าห้วยฮ่องไคร้ ซึ่งมีสภาพแห้งแล้ง
โดยเร่งด่วน โดยทดลองใช้วิธีการใหม่ เช่น วิธีการผันนํ้า
ออกจากอ่างเก็บนํา้ ในระดับบนลงไปตามแนวร่องนํา้ ต่างๆ
เพื่อช่วยให้ความชุ่มชื้นค่อยๆ แผ่ขยายตัวออกไป สำ�หรับ
นํ้าส่วนที่เหลือก็จะไหลลงอ่างเก็บนํ้าในระดับตํ่าลงไป เพื่อ
นำ�ไปใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตรกรรมต่อไป ในการนี้ 15
ควรเริ่มปลูกป่าทดแทนตามแนวร่องนํ้า ซึ่งมีความชุ่มชื้น

ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
มากกว่าบริเวณสันเขา ซึง่ จะทำ�ให้เห็นผลโดยเร็ว นอกจากนี้
ยังเป็นการประหยัดกล้าไม้ และปลอดภัยจากไฟป่าด้วย
เมื่อร่องนํ้าดังกล่าวมีความชุ่มชื้นเพิ่มขึ้น ลำ�ดับต่อไปก็ควร
สร้างฝายต้นนํ้าเป็นระยะๆ เพื่อค่อยๆ เก็บกักนํ้าไว้แล้ว
ส่งต่อท่อไม้ไผ่ส่งนํ้าออกทั้งสองฝั่งร่องนํ้า อันเป็นการช่วย
แผ่ขยายแนวความชุ่มชื้นออกไปตลอดแนวร่องนํ้า…”
เมื่ อ วั น ที่ ๒๕ พฤศจิ ก ายน ๒๕๒๗ ณ ศู น ย์ ศึ ก ษา
การพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ จังหวัดสกลนคร
สรุปได้ว่า
“...ควรดำ�เนินการพัฒนาป่าไม้ด้วยนํ้าชลประทาน
แบบง่ า ยๆ เช่ น การต่ อ ท่ อ นํ้ า ด้ ว ยไม้ ไ ผ่ เพื่ อ นำ�นํ้ า ไป
สนับสนุนการปลูกป่า การปลูกป่าในบริเวณที่มีฝายกั้นนํ้า
และการปลูกป่าโดยธรรมชาติ ซึ่งไม่มีฝายกั้นนํ้าอยู่ และ
แสดงให้คนมาดูงานได้เห็นวิธกี ารต่างๆ ด้วย ในบริเวณทีว่ า่ ง
เปล่า และสามารถเข้าไปถึง ก็ให้พยายามก่อสร้างฝายกัน้ นํา้
16 ขนาดเล็กๆ เพื่อรวบรวมนํ้าเข้ามาอยู่รวมกัน และพยายาม
กระจายนํ้าออกไปให้ทั่วบริเวณ เพื่อเสริมสร้างความชุ่มชื้น
จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา

ให้ แ ก่ ดิ น ในบริ เ วณนั้ น อั น จะช่ ว ยพั ฒ นาป่ า ไม้ ไ ด้ อ ย่ า ง


รวดเร็ว เมื่อก่อสร้างฝายเล็กๆ แล้ว ก็ให้ปลูกป่าไม้เสริมให้
สามารถปกปิดในบริเวณนั้นได้ทั่วถึง และพยายามส่งเสริม
ให้มีการสร้างแนวกันไฟด้วย…”
ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
17
18
จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา
เมื่อวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๘ ณ ศูนย์ศึกษาการ
พัฒนาห้วยฮ่องไคร้อนั เนือ่ งมาจากพระราชดำ�ริ อำ�เภอดอยสะเก็ด
จังหวัดเชียงใหม่ สรุปได้ว่า
“…การก่อสร้างฝายเก็บกักนํ้าลำ�ธาร มีประโยชน์
ในด้านช่วยให้พื้นที่ใกล้ร่องนํ้ามีความชุ่มชื้น ทำ�ให้ป่าไม้
นั้นเจริญเติบโตดี จึงเห็นควรให้พิจารณาสร้างเพิ่มเติมขึ้น
ตามความเหมาะสมทั้งในบริเวณพื้นที่พัฒนาป่าไม้ด้วยนํ้า
ชลประทานและพื้นที่ทั่วไป ส่วนระบบแจกจ่ายนํ้าจากท่อ
ส่งนํ้าของอ่างเก็บนํ้าห้วยฮ่องไคร้ ๑ ให้เป็นพื้นที่ปลูกป่า
ทั่วไป ให้พิจารณาขยายขอบเขตต่อไปตามความเหมาะสม
เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๒ ณ โครงการอ่างเก็บนํ้า
ห้วยลานอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ จังหวัดเชียงใหม่ สรุปได้ว่า 19
“…งานด้านป่าไม้ มีความจำ�เป็นทีจ่ ะต้องเร่งปรับปรุง

ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
สภาพป่าไม้ ทั้งบริเวณเหนืออ่างเก็บนํ้าและบริเวณดอย
รอบๆ นี้ให้สมบูรณ์ขึ้น เพราะนอกจากจะทำ�ให้ป่าสมบูรณ์
แล้ว ยังจะช่วยทำ�ให้นํ้าในบริเวณนี้มีความสมบูรณ์ขึ้นด้วย
วิธีการปรับปรุงสภาพป่านั้นขอให้อาศัยวิธีการที่ได้ดำ�เนิน
การแล้วทีศ่ นู ย์ศกึ ษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อนั เนือ่ งมาจาก
พระราชดำ�ริ เพราะถือเสมือนว่าที่ห้วยลานนี้เป็นศูนย์สาขา
ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ โดยการทำ�เป็น
ฝายหินทิ้งขนาดเล็ก หรือ Check Dam บริเวณร่องนํ้าสาขา
ของห้วยลานเพื่อกักเก็บและชะลอความชุ่มชื้นแก่ต้นไม้
บริเวณเหนืออ่างเก็บนํา้ แต่ถา้ เป็นร่องนํา้ ขนาดใหญ่ จะต้อง
ทำ�ฝายกักเก็บให้แข็งแรงขึ้น
สำ�หรั บการฟื้ นฟู ส ภาพป่ าในพื้น ที่ สูงตามสัน ดอย
ต่างๆ นัน้ จะใช้วธิ กี ารติดตัง้ ปัม๊ Turbine ทีอ่ า่ งเก็บนํา้ ห้วยลาน
ห้ ว ยป่ า ไร่ และดอยโตน เพื่ อ ส่ ง นํ้ า ขึ้ น ที่ สู ง บริ เ วณยอด
ดอยม่อนผักชี ดอยยาว และดอยโตน ไปเก็บไว้บนแท็งก์
20 และต่อท่อเล็กๆ เจาะรูปล่อยนํา้ ให้ไหลลงมาจากแนวสันเขา
เพือ่ สร้างความชุม่ ชืน้ ให้แก่ปา่ ไม้ วิธกี ารนีจ้ ะทำ�ให้ปา่ ไม้อดุ ม
จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา

สมบูรณ์ได้ภายใน ๒ - ๓ ปี และจะเป็นป่าไม้ตัวอย่างที่อุดม
สมบูรณ์และช่วยให้ปริมาณนํา้ ในอ่างเก็บนํา้ มากขึ้น โดยขอ
ให้มีการบันทึกข้อมูลระดับนํ้าในอ่างเก็บนํ้าไว้ด้วย สำ�หรับ
พันธุไ์ ม้ทจี่ ะใช้ในการปลูกป่านัน้ ขอให้ใช้พนั ธุไ์ ม้ดงั้ เดิมทีไ่ ม่
ผลัดใบเป็นหลักไว้
นอกจากนี้ บริเวณทีส่ องข้างทาง ขอให้พจิ ารณาปลูก
พันธุ์ไม้ยึดพื้นดินหรือจะใช้หญ้าแฝกก็ได้ เพื่อป้องกันการ
ชะล้างพังทลายของดินลงไปในอ่างนํ้า และพิจารณาค่อยๆ 21
จัดสร้างฝายกักเก็บตะกอน ดังเช่นที่กรมพัฒนาที่ดินได้

ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
ดำ�เนินการแล้วทีศ่ นู ย์ศกึ ษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อนั เนือ่ ง
มาจากพระราชดำ�ริ ซึ่งตะกอนเหล่านี้เมื่อมีจำ�นวนมากขึ้น
ก็ ส ามารถตั ก เอามาใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ อี ก นอกจากนั้ น อาจ
จัดทำ�เป็นร่องดินขวางทางเดินของนํา้ ให้แตกกระจายไปทัว่ ๆ
ซึ่งจะช่วยลดปัญหาของการชะล้างและตกตะกอนได้...”
22 เมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๓๒ ณ ดอยอ่างขาง อำ�เภอฝาง
จังหวัดเชียงใหม่ สรุปได้ว่า
จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา

“...ควรสร้างฝายลำ�ธารตามร่องนํ้าเพื่อช่วยชะลอ
กระแสนํ้ า และเก็ บ กั ก นํ้ า สำ�หรั บ สร้ า งความชุ่ ม ชื้ น ให้ กั บ
บริเวณต้นนํ้า...”
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดำ�ริเพิ่มเติม
สรุปได้ว่า
“...ในเขตของศูนย์ศึกษาฯ แห่งนี้ ควรจะต้องมีการ
แสดงการศึกษาทดลองเปรียบเทียบให้เห็นชัด โดยแบ่งพืน้ ที่
ที่มีการใช้ระบบนํ้าชลประทานส่วนหนึ่ง และพื้นที่ที่ได้รับ
เฉพาะนํ้าฝน โดยมี Check Dam ช่วยกักนํ้าฝนไว้ส่วนหนึ่ง
และพื้นที่ที่ปล่อยไว้โดยระบบธรรมชาติอีกส่วนหนึ่ง ต้นไม้
ต่างๆ ในศูนย์ฯ จะเจริญเติบโตหรือจะหงิกงอก็ไม่เป็นไร
เพราะนัน่ เป็นการทดลองหรือเปรียบเทียบให้เห็นข้อแตกต่าง
ซึ่งเป็นจุดประสงค์ที่สำ�คัญของศูนย์ศึกษาฯ...”
เมื่ อ วั น ที่ ๒๖ มิ ถุ น ายน ๒๕๓๓ พระบาทสมเด็ จ
พระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ 23
เสด็จพระราชดำ�เนินไปทอดพระเนตรการดำ�เนินงานของศูนย์

ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ จังหวัด
เพชรบุรี ในการนี้ ได้พระราชทานพระราชดำ�ริเกี่ยวกับฝายชะลอ
ความชุ่มชื้น สรุปได้ดังนี้
“...การฟืน้ ฟูสภาพป่าไม้บนภูเขา ก็ให้ดำ�เนินการแบบ
เขาเสวยกะปิ โดยการสูบนํา้ ด้วยเครือ่ งสูบนํา้ กังหันนํา้ ขึน้ ไป
เก็บไว้ที่ฝายเก็บกักนํ้า ซึ่งได้สร้างปิดกั้นร่องนํ้าตามช่องเขา
ต่างๆ เป็นชัน้ ๆ ตามความเหมาะสม พร้อมกับต่อท่อกระจาย
นํ้าไปตามลาดเขา เป็นการทดลองสร้างภูเขาป่าในระดับสูง
ด้วยระบบนํ้าชลประทานที่บริเวณเขาเสวยกะปิแห่งนี้ ให้มี
สภาพสมบู ร ณ์ และดำ�เนิ น การปลู ก ป่ า ประเภทไม้ โ ตเร็ ว
คนกินได้ สัตว์กินได้ ไม้สวยงาม ตลอดจนไม้ทำ�ฟืนบริเวณ
ลาดเขาต่างๆ เมื่อสามารถปลูกป่าไม้ได้เจริญเติบโตได้ผล
ดีแล้ว ก็ให้นำ�รูปแบบเดียวกันนี้ไปขยายผลการดำ�เนินงาน
ไปยังภูเขาลูกอื่นๆ ก็จะช่วยให้พื้นที่มีสภาพป่าไม้ที่อุดม
24 สมบูรณ์และมีความชุมชื้นตลอดไปด้วย...”
เมือ่ วันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๓๔ ณ โครงการพัฒนาห้วยลาน
จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา

อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ สรุปได้ว่า
“...Check Dam มี ๒ อย่าง ชนิดหนึง่ สำ�หรับให้มคี วาม
ชุม่ ชืน้ รักษาความชุม่ ชืน้ อีกอย่างสำ�หรับป้องกันไม่ให้ทราย
ลงไปในอ่างใหญ่ สำ�หรับ Check Dam ชนิดป้องกันไม่ให้ทราย
ไหลลงไปในอ่างใหญ่ ความจริงจะต้องทำ�ให้ดีและลึก เพราะ
ทรายลงมาจะกักเก็บไว้ ถ้าทำ�ตืน้ ทรายจะข้ามไปลงอ่างใหญ่
ได้ ถ้าเป็น Check Dam สำ�หรับรักษาความชุ่มชื้นไม่จำ�เป็น
ต้องขุดลึกเพียงแต่กกั นํา้ ไว้ให้ลงไปในดิน แต่แบบกักทรายนี้ 25
จะต้องทำ�ให้ลึกและออกแบบอย่างไรไม่ให้นํ้าลงมา แล้วไล่

ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
ทรายออกไป สำ�หรับ Check Dam ตัวที่ ๖ นี้ มิได้ดักทราย
เท่าไหร่เพราะว่าไม่ได้ทำ�หน้าที่ดักทรายเท่าไหร่ และที่นี้
จะไม่มที รายเพราะว่าอ่างเก็บนํา้ ห้วยดอยโตน และอ่างเก็บนํา้
ห้ ว ยป่ า ไร่ ซึ่ ง เก็ บ นํ้ า ไว้ สำ�หรั บ กิ จ กรรมศู น ย์ ป ระมงและ
ป่าไม้นั้น จะช่วยดักตะกอนไว้ แล้ว Check Dam ตัวที่ ๖
จึงทำ�หน้าที่สำ�หรับรักษาความชุ่มชื้นของป่า และป้องกัน
26
จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา
ตะกอนในพื้นที่ในกรณีที่มีการเกษตรเท่านั้น ส่วน Check
Dam ที่ทำ�หน้าที่ดักตะกอนทราย ได้แก่ Check Dam ที่ทำ�
เหนืออ่างเก็บนํ้าห้วยดอนโตนและห้วยป่าไร่...”
เมือ่ วันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๔๑ ณ โครงการอนุรกั ษ์และ
ฟื้นฟูสภาพป่าบริเวณป่าสงวนแห่งชาติป่ากุยบุรีอันเนื่องมาจาก
พระราชดำ�ริ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สรุปได้ว่า
“...ให้ สำ�รวจตรวจสอบพื้ น ที่ ที่ เ หมาะสมที่ จ ะทำ�
Check Dam ซึ่งหากพิจารณาแล้วเห็นว่ามีความเหมาะสมก็
ดำ�เนินการได้เลย...ถ้ามีฝนแล้งหรือเกิดนํ้าท่วมก็พิจารณา
หาแหล่งนํ้าสัก ๑ จุด ซึ่งจะใช้นํ้ามาเติม Check Dam ก็ได้
และเนื่องจากแม่นํ้ากุยบุรีเป็นแม่นํ้าสายสำ�คัญ ปัจจุบันมี
ปริมาณนํ้าน้อยและตื้นเขินในฤดูแล้ง ควรมีการสร้างฝาย 27
หรือเขื่อนเก็บกักนํ้า รวมถึงการขุดลอกหรือหาแนวทาง

ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
แก้ไขโดยวิธีอื่นเพื่อให้มีนํ้าใช้ได้ตลอดปี เพื่อใช้ประโยชน์
ทางการเกษตรและการใช้สอยของราษฎรในบริเวณลุ่มนํ้า
ดังกล่าว...”
เมือ่ วันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๔๖ ณ โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพ
การเก็บกักนํ้าของอ่างเก็บนํ้ายางชุมฯ อำ�เภอกุยบุรี จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ สรุปได้ว่า
“...ให้พิจารณาก่อสร้างฝายต้นนํ้า (Check Dam)
สระนํ้าขนาดเล็กตามลำ�ห้วยในพื้นที่เหนืออ่าง เพื่อเก็บกัก
28 นํ้าไว้ใช้ ซึ่งจะช่วยชะลอไม่ให้เกิดนํ้าท่วม เกิดความชุ่มชื้น
และช้างมีนํ้ากินด้วย...”
จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา

ฉะนัน้ จะเห็นว่าการก่อสร้างฝายต้นนาํ้ ลำ�ธาร หรือ Check


Dam จึงเป็นแนวทางหรือวิธีหนึ่งในการฟื้นฟูสภาพป่าไม้บริเวณ
ต้ น นํ้ า ลำ � ธารเพื่ อ คื น ความอุ ด มสมบู ร ณ์ และทำ � ให้ เ กิ ด ความ
หลากหลายทางชีวภาพ (Bio diversity) แก่สังคมของพืชและสัตว์
ตลอดจนนำ�ความชุ่มชื้นกลับมาสู่แผ่นดิน
ฝายต้นนํ้า คืออะไร?
ฝายต้นนํ้า หรือฝายต้นนํ้าลำ�ธาร หรือฝายกั้นนํ้า หรือ
ฝายแม้ว หรือฝายชะลอนํา้ คือสิง่ เดียวกัน เรียกด้วยภาษาอังกฤษ
Check Dam คือ สิ่งก่อสร้างขวางทางเดินของลำ�นํ้า ซึ่งปกติ
มักจะกัน้ ลำ�ห้วย ลำ�ธารขนาดเล็ก ในบริเวณทีเ่ ป็นต้นนาํ้ หรือพืน้ ที่
ทีม่ คี วามลาดชันสูง ให้สามารถกักตะกอนอยูไ่ ด้ และหากช่วงทีน่ าํ้
ไหลแรงก็สามารถชะลอการไหลของนาํ้ ให้ชา้ ลง และกักเก็บตะกอน
ไม่ให้ไหลลงไปทับถมลำ�นาํ้ ตอนล่าง ซึง่ เป็นวิธกี ารอนุรกั ษ์ดนิ และ
นํ้าได้มากวิธีการหนึ่ง

ประโยชน์ของฝายต้นนํ้า
29
• ช่วยลดความรุนแรงของการเกิดไฟป่า เนื่องจากการ

ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
กระจายความชุ่มชื้นมากขึ้น สร้างระบบการควบคุมไฟป่า ด้วย
แนวป้องกันไฟป่าเปียก (Wet Fire Break)
• ช่ ว ยลดการชะล้ า งพั ง ทลายของดิ น และลดความ
รุนแรงของกระแสนํ้าในลำ�ห้วย ทำ�ให้ระยะเวลาการไหลของนํ้า
เพิ่มมากขึ้น ความชุ่มชื้นมีเพิ่มขึ้นและแผ่กระจายความชุ่มชื้น
ออกไปเป็นวงกว้างในพื้นที่ทั้งสองฝั่งของลำ�ห้วย
• ช่วยกักเก็บตะกอนและวัสดุตา่ งๆ ทีไ่ หลลงมากับนาํ้ ใน
ลำ�ห้วยได้ดี เป็นการช่วยยืดอายุแหล่งนํ้าตอนล่างให้ตื้นเขินช้าลง
คุณภาพของนํ้ามีตะกอนปะปนน้อยลง
• ช่วยเพิม่ ความหลากหลายทางด้านชีวภาพให้แก่พนื้ ที่
• ทำ�ให้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์นํ้า และใช้เป็น
แหล่งนํ้าเพื่อการอุปโภคบริโภคของมนุษย์ และสัตว์ป่าต่างๆ
ตลอดจนมีนํ้าใช้เพื่อการเกษตรกรรมอีกด้วย

รูปแบบและลักษณะของฝายต้นนํ้า
จากแนวพระราชดำ�ริเกี่ยวกับการสร้างฝายชะลอความ
ชุ่มชื้นเพื่อสร้างวงจรนํ้าแก่ป่าไม้ สามารถกระทำ�ได้ ๓ รูปแบบ
30
กล่าวคือ
แบบท้ อ งถิ่ น เบื้ อ งต้ น เป็ น การก่ อ สร้ า งด้ ว ยวั ส ดุ
จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา

ธรรมชาติที่มีอยู่ เช่น กิ่งไม้ และท่อนไม้ล้มขอนนอนไพร ขนาบ


ด้วยก้อนหินขนาดต่างๆ ในลำ�ห้วยเป็นการก่อสร้างแบบง่ายๆ
ก่อสร้างในบริเวณตอนบนของลำ�ห้วยหรือร่องนํ้า ซึ่งจะสามารถ
ดักตะกอน ชะลอการไหลของนาํ้ และเพิม่ ความชุม่ ชืน้ บริเวณฝาย
ได้เป็นอย่างดี วิธีนี้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายน้อยมาก หรืออาจจะไม่มี
ค่าใช้จ่ายเลย นอกจากแรงงานเท่านั้น
แบบเรียงด้วยหินค่อนข้างถาวร ก่อสร้างด้วยการเรียง
หินเป็นผนังกัน้ นาํ้ ก่อสร้างบริเวณตอนกลาง และตอนล่างลำ�ห้วย
หรือร่องนํ้า จะสามารถดักตะกอน และเก็บนํ้าในช่วงฤดูแล้งได้
เป็นบางส่วน

31

ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
แบบคอนกรีตเสริมเหล็ก เป็นการก่อสร้างแบบถาวร
ส่วนมากจะดำ�เนินการบริเวณตอนปลายของลำ�ห้วยหรือร่องนํ้า
จะสามารถดักตะกอน และเก็บกักนํ้าในฤดูแล้งได้ดี ค่าก่อสร้าง
จะมีราคาค่อนข้างสูงกว่าแบบอื่นๆ

การสร้างฝายต้นนํ้า ทำ�อย่างไร?
32
การเลือกที่สร้างฝายต้นนํ้า
การเลือกทำ�เลสำ�หรับสร้างฝายต้นนาํ้ ควรพิจารณาเลือก
จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา

ให้เหมาะสม ตามหลักเกณฑ์ ดังนี้


๑. ทีส่ ร้างฝาย ควรจะอยูใ่ นตำ�แหน่งทีส่ ามารถเป็นแหล่ง
เก็บกักนํ้าบริเวณด้านหน้าฝายได้พอสมควร
๒. บริเวณที่สร้างฝาย ควรมีตลิ่งของลำ�นํ้าด้านข้างของ
ตัวฝายสูงมากพอทีจ่ ะไม่ท�ำ ให้นา้ํ ไหลท่วมและกัดเซาะเป็นร่องนา้ํ ได้
๓. ควรสร้างในบริเวณลำ�ห้วยทีม่ คี วามลาดชันตา่ํ และแคบ
เพือ่ จะได้ฝายในขนาดทีไ่ ม่เล็กเกินไป อีกทัง้ ยังสามารถเก็บกักนํา้
และตะกอนได้มากพอควร สำ�หรับลำ�ห้วยที่มีความลาดชันสูง
ก็ควรสร้างฝายให้ถี่ขึ้น
๔. ควรสำ�รวจสภาพพื้นที่ วัสดุก่อสร้างตามธรรมชาติ
และรูปแบบฝายที่เหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศมากที่สุด เช่น
ควรพิจารณาสร้างฝายต้นนํ้าแบบท้องถิ่นเบื้องต้นในตอนบนของ
พื้นที่ป่าหรือในลำ�ห้วยสาขา สำ�หรับตอนกลางหรือตอนล่างของ
พื้นที่ซึ่งเป็นลำ�ห้วยหลัก ก็ควรจะกำ�หนดเป็นฝายแบบกึ่งถาวร
หรือฝายแบบถาวร

33

ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
๕. ต้องคำ�นึงถึงความแข็งแรงให้มากพอที่จะไม่เกิดการ
พังทลายเสียหายกรณีฝนตกหนักและกระแสนํา้ ไหลแรง การเลือก
ทำ�เลที่สร้างฝายบริเวณที่ผ่านโค้งของลำ�ห้วยมาเล็กน้อย หรือ
บริเวณที่มีต้นไม้ใหญ่หรือกอไผ่อยู่บริเวณริมห้วย จะเสริมให้ฝาย
มีความมั่นคงแข็งแรงมากขึ้น ไม่เกิดการพังทลายได้ง่าย
๖. ข้อสำ�คัญอีกประการหนึง่ ก็คอื ฝายต้นนํา้ มิได้ท�ำ หน้าที่
เป็นฝายทดนํ้าเพื่อส่งนํ้าเข้าสู่พื้นที่เพาะปลูก ดังนั้น จุดที่จะสร้าง
ฝายต้นนํ้าจึงควรเป็นลำ�ห้วยที่มิได้มีนํ้าไหลตลอดปี สภาพป่า
มีความแห้งแล้ง ซึง่ จะต้องฟืน้ ฟูให้เกิดความชุม่ ชืน้ และอุดมสมบูรณ์
ต่อไป
34 ๗. การเลือกจุดที่ก่อสร้างฝายต้นนํ้า ปัจจัยสำ�คัญที่ควร
คำ�นึงถึงคือ ประโยชน์ที่จะได้รับจากฝาย ไม่ว่าจะเป็นด้านการ
จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา

อนุรกั ษ์ตน้ นาํ้ ด้านการพัฒนาฟืน้ ฟูปา่ ไม้ ด้านนิเวศวิทยา ตลอดจน


ด้านชุมชน นอกจากนี้ การกำ�หนดพื้นที่จะก่อสร้างต้องขึ้นอยู่กับ
สภาพพื้นที่ความจำ�เป็นและความเหมาะสมอื่นๆ อีกด้วย
การสำ�รวจรายละเอียดภูมิประเทศ
เมื่อเลือกทำ�เลที่จะสร้างฝายต้นนํ้าได้เรียบร้อยจนพร้อม
ที่จะเริ่มงานออกแบบ และทำ�การก่อสร้างต่อไปได้แล้ว ขั้นตอน
ต่อไปก็ควรจะต้องทำ�การสำ�รวจรายละเอียดสำ�หรับใช้ประกอบ 35
การออกแบบและประมาณราคางาน รายละเอียดภูมิประเทศที่

ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
สำ�คัญได้แก่ ระดับแสดงความสูงตํ่าของพื้นที่ ต้นนํ้าตามแนวฝาย
และบริเวณทีจ่ ะสร้างฝาย ซึง่ ควรจะทำ�การสำ�รวจแล้วเขียนแผนที่
แสดงด้วย ในแผนทีด่ งั กล่าวควรจะแสดงรายละเอียดเกีย่ วกับแนว
และรูปร่างของทางนํ้าในบริเวณที่จะสร้างฝายให้ชัดเจน วิธีการ
สำ�รวจและการจัดทำ�แผนที่ สามารถดำ�เนินการได้ ดังนี้
๑. เครื่องมือสำ�รวจที่จำ�เป็น ได้แก่ โซ่หรือเทปสำ�หรับ
วัดระยะทาง กล้องส่องระดับหรือกล้องส่องระดับมือ ไม้แสดงระยะ
36 สำ�หรับใช้ส่องระดับ และเข็มทิศ
๒. การสำ�รวจบริเวณที่สร้างฝาย จะเริ่มด้วยการสร้าง
จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา

หมุดหลักฐานสองหมุดไว้ที่สองฟากของลำ�นํ้า พร้อมทั้งกำ�หนด
ค่าระดับสมมติที่หมุดหนึ่ง หาค่าระดับ แนว และระยะของอีก
หมุดหนึ่ง เพื่อใช้ในการสำ�รวจต่อไปเช่นกัน
การสำ�รวจรายละเอียดบริเวณที่สร้างฝายที่สำ�คัญ ได้แก่
การสำ�รวจแนวและความกว้างของลำ�นํ้า และระดับความสูงตํ่า
ของพื้นดินจากตลิ่งทั้งสองฝั่งลงมาจนถึงท้องลำ�นํ้า
ในการสำ�รวจฝายต้นนํ้า ฝายแบบท้องถิ่นเบื้องต้นนั้น
อาจจะไม่จำ�เป็นที่จะต้องเขียนแผนที่บริเวณที่ก่อสร้างหรือระดับ
อาจจะใช้การเดินสำ�รวจลำ�ห้วยหรือร่องนํ้าโดยราษฎร แล้วทำ�
แผนที่ลำ�ห้วยบริเวณร่องนํ้า (Mapping) แบบง่ายๆ แล้วกำ�หนด
จุดที่จะสร้างฝาย เพื่อให้ทราบตำ�แหน่งของตัวฝาย ความกว้าง
และความสูงของฝาย เนือ่ งจากฝายรูปแบบนีจ้ ะก่อสร้างแบบง่ายๆ
ใช้วสั ดุธรรมชาติทม่ี อี ยู่ จึงไม่ตอ้ งคำ�นึงถึงเรือ่ งการออกแบบมากนัก
จะเน้นเฉพาะการก่อสร้างให้เกิดความมั่นคงแข็งแรงเป็นหลัก
สำ�หรับรูปแบบฝายที่ค่อนข้างถาวรและฝายแบบถาวร ซึ่งจะต้อง
นำ�ผลการสำ�รวจรายละเอียดภูมิประเทศไปประกอบการคำ�นวณ
ออกแบบ
หลังจากที่ได้มีการสำ�รวจรายละเอียดภูมิประเทศบริเวณ 37
ที่จะก่อสร้างฝายต้นนํ้าแล้ว ควรทำ�การศึกษาสภาพฐานรากของ

ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
ท้องลำ�ห้วยหรือร่องนํ้าว่าตัวฝายอยู่บนฐานรากลักษณะใด การ
ออกแบบโดยทั่ ว ไปจะต้ อ งคำ � นึ ง ถึ ง ความแข็ ง แรงของตั ว ฝาย
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการใช้งานให้มากที่สุด โดยเฉพาะ
ฝายต้นนํ้าแบบท้องถิ่นเบื้องต้น ถึงแม้จะไม่มีการออกแบบตาม
หลักวิชาการ ก็ควรจะมีการกำ�หนดวิธกี ารก่อสร้างให้ใช้งานได้นาน
ที่สุดเท่าที่จะนานได้ โดยเสียค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างน้อยที่สุด
ด้วยเหตุนี้การออกแบบฝาย
จึ ง จะต้ อ งมี ก ารดำ � เนิ น งาน
อย่ า งละเอี ย ดรอบคอบ ให้
เกิดประโยชน์ในการใช้งานได้
มากทีส่ ดุ และมีความประหยัด
เป็นหลักเสมอ
การออกแบบเพื่ อ
กำ�หนดขนาดของฝาย ไม่มี
การกำ�หนดขนาดที่แน่นอน
แต่ ใ ห้ คำ � นึ ง ถึ ง ปั จ จั ย ต่ า งๆ
ดังนี้
38 ๑. พื้นที่รับนํ้าของแต่ละลำ�ห้วย/ฝาย
๒. ความลาดชันของพื้นที่
จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา

๓. สภาพของต้นนํ้าและการชะล้างพังทลายของดิน
๔. ปริมาณนํ้าฝน
๕. ความกว้าง - ลึกของลำ�ห้วย
๖. แหล่งวัสดุธรรมชาติ
๗. วัตถุประสงค์ของการก่อสร้าง
การประมาณราคา
ราคาก่อสร้างงานต่างๆ จะประกอบไปด้วยค่าใช้จ่ายใน
การดำ�เนินงานก่อสร้าง ค่าวัสดุก่อสร้าง ค่าอุปกรณ์ต่างๆ ที่จะ
ต้องจัดหามาใช้งาน
การประมาณค่าก่อสร้างให้ถูกต้องและใกล้เคียงกับค่าใช้
จ่ายจริงนัน้ จะต้องอาศัยประสบการณ์และต้องทราบหรือเข้าใจถึง
องค์ประกอบต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับการก่อสร้าง รวมทัง้ จะต้องพิจารณา
ถึงขั้นตอนว่าจะดำ�เนินการอย่างไร ผู้ก่อสร้างจะสามารถควบคุม
การก่อสร้างให้เป็นไปตามแผนงานที่กำ�หนดไว้ได้ใกล้เคียงมาก
น้อยเพียงใด ฤดูกาลขณะที่จะทำ�การก่อสร้างจะเป็นอุปสรรคต่อ
การก่อสร้างมากน้อยเพียงไร อัตราค่าแรง ค่าใช้จ่ายของช่างและ 39
ผู้ควบคุมงาน ตลอดจนราคาวัสดุที่จะซื้อ รวมทั้งค่าขนส่งที่นำ�

ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
มายังบริเวณก่อสร้าง ความสามารถในการทำ�งานของผู้ปฏิบัติ
งานแต่ละคน และพัฒนาความรู้เกี่ยวกับเครื่องจักรเครื่องมือที่
จะใช้ทำ�งานอย่างละเอียด ซึ่งเมื่อคำ�นวณปริมาตรงานต่างๆ ไว้
เรียบร้อยแล้วก็จะทราบค่าก่อสร้างของงานแต่ละประเภทนั้นได้
ตัวอย่างต้นทุนในการก่อสร้างฝายต้นนํ้าลำ�ธาร
(แบบท้องถิ่นเบื้องต้น)
ความยาวฝาย ต่อ ๑ เมตร
ที่ รายการ หน่วย อัตรา จำ�นวน ราคา หมาย
(บาท/หน่วย) ที่ใช้ เหตุ
๑. งานขุดดินด้วยแรงคน ลบ.ม. ๑๐๐.๘๘ ๐.๓๖ ๓๖.๓๒
๒. งานดินถมบดอัดแน่น ลบ.ม. ๒๐๑.๗๕ ๑.๔๔ ๒๙๐.๕๒
ด้วยแรงคน
๓. ไม้ไผ่ ขนาด Ø ๒.๕ - ลำ� ๒๕.๐๐ ๑๑.๐๐ ๒๗๕.๐๐
๓ นิ้ว ความยาวท่อละ
๕.๐๐ ม.
๔. หินใหญ่ ขนาด Ø ลบ.ม. ๓๐๐.๐๐ ๐.๗๒ ๒๑๖.๐๐
๐.๑๕ - ๐.๓๐ ม.
40 ๕. แผ่นพลาสติกอ่อน เมตร ๑๖๐.๕๐ ๒.๐๐ ๓๒๑.๐๐
โพลีไวนิลคลอไรด์
จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา

สำ�หรับกรุแหล่งนํ้า
ขนาดกว้าง ๑.๕๐ ม.
หนา ๐.๕๐ มม. มอก.
๕๗๕ - ๒๕๒๘
๖. ค่านํ้ามันเชื้อเพลิงและ บาท - - ๒๘๔.๐๐
เบ็ดเตล็ดอื่นๆ
รวมทั้งสิ้น ๑,๔๒๒.๘๔ บาท
การขยายผลตามแนวพระราชดำ�ริ
ความสมบูรณ์ของป่าจะยังคงอยู่ได้ด้วยการดูแลรักษา
ซึง่ ในอดีตการบุกรุกทำ�ลายป่า ตัดไม้ การทำ�ไร่เลือ่ นลอย ได้ท�ำ ให้
เกิดปัญหาใหญ่ที่ตามมา คือ การชะล้างพังทลายของหน้าดินที่
ขาดพืชปกคลุม เมื่อฝนตกลงมาการไหลบ่าของนํ้าฝนปริมาณ
มากไม่มีสิ่งใดมากั้นชะลอเอาไว้ ผิวหน้าดินซึ่งประกอบไปด้วย
สารอาหารที่สมบูรณ์ จะถูกนํ้าฝนกัดเซาะพังทลายอย่างรุนแรง
สร้างความเสียหายให้กบั พืน้ ทีเ่ กษตรกรรมส่งผลให้ราษฎรเดือดร้อน
รายได้น้อยลง คุณภาพชีวิตตํ่าลง ดังเช่น ชาวบ้านโป่งนํ้าร้อน
อำ�เภอเสริมงาม จังหวัดลำ�ปาง ได้คำ�นึงถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจึงได้
ร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาพื้นที่ผืนป่าตามพระราชดำ�ริในพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในการสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้น โดยมี
อุปกรณ์ที่ใช้ทำ�ฝายที่สำ�คัญๆ ประกอบด้วยไม้ท่อนหรือไม้ไผ่
41
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๔ - ๖ นิ้ว ไม้ไผ่ขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางประมาณ ๓ - ๔ นิ้ว ทราย หิน กิ่งไม้ ใบไม้ ในพื้นที่

ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
วิธีการดำ�เนินการโดยสำ�รวจ และคัดพื้นที่ตอกหลักไม้ท่อนหรือ
ไม้ไผ่ขวางลำ�ห้วย ระยะห่างประมาณ ๑๕ - ๒๐ เซนติเมตร ยาว
ประมาณ ๓.๐๐ - ๔.๐๐ เมตร นำ�ไม้ไผ่ผ่าครึ่งมาวางด้านหน้า
หลักไม้ท่อนที่ตอกลงไป ตั้งแต่ด้านหลังของตัวฝายขึ้นไปเรื่อยถึง
หน้าฝาย นําเศษไม้ ใบไม้ ทราย หรือวัสดุที่หาได้ในบริเวณนั้น
มาใส่ตามช่องระหว่างไม้ไผ่ผ่าตั้งแต่หลังฝายถึงหน้าฝาย
จากพระราชดำ�ริที่ได้พระราชทานให้กับราษฎรได้มีการ
ถ่ายทอดความรูใ้ นเรือ่ งของการพัฒนาพืน้ ทีต่ น้ นาํ้ ลำ�ธาร โดยฝาย
ทั้งจากส่วนราชการและเอกชนที่ให้ความสนใจยังผลให้ปัจจุบัน
ได้มีราษฎรจำ�นวนมากน้อมนำ�พระราชดำ�ริไปใช้ในแนวทางการ
พัฒนาท้องถิ่นจนประสบความสำ�เร็จ อาทิ กลุ่มราษฎรอนุรักษ์
42 ป่าบ้านสามขา อำ�เภอแม่ทะ จังหวัดลำ�ปาง ซึ่งทำ�ให้พื้นที่ป่าที่
เคยแห้งแล้งได้กลับคืนความสมบูรณ์อีกครั้ง และผืนป่าแห่งนี้ยัง
จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา

เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สำ�คัญให้กับเยาวชนและผู้สนใจทั่วไปได้นำ�ไป
ประยุกต์ใช้ในพื้นที่ของตน จึงนับได้ว่าฝายต้นนํ้ามีส่วนสำ�คัญ
อย่างยิ่งในการพลิกผันความแห้งแล้งสู่ความชุ่มชื้นให้กับชุมชน
และภูมิภาคของประเทศไทยในที่สุด
กระทรวงมหาดไทยได้ น้ อ มนำ � แนวพระราชดำ � ริ แ ละ
ให้ความสำ�คัญในการดำ�เนินงานตามนโยบายรัฐบาล เพื่อสร้าง
ความชุ่มชื้นให้แก่ผืนป่าทั่วประเทศ โดยได้มอบหมายให้จังหวัด
ได้ ประยุกต์ใช้การบริหารงานที่มีป ระสิ ทธิ ภาพในภาคเอกชน
มาใช้กบั ภาครัฐในส่วนภูมภิ าคระดับจังหวัด โดยปรับบทบาทและ
ภารกิจการบริหารราชการส่วนภูมภิ าค “จังหวัด” ให้มปี ระสิทธิภาพ
เป็นเสมือนหน่วยงานธุรกิจเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Business
Unit : SBU) ต้องบริหารงานให้สัมฤทธิผลที่วัดได้ บริหารเสมือน
ให้ มี กำ � ไรเหมื อ นในภาคธุ ร กิ จ มี ยุ ท ธศาสตร์ ชี้ นำ � การพั ฒ นา
ทำ�งานในเชิงรุกและมีการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ
น้อมนำ�พระราชดำ�ริและนโยบายรัฐบาลไปแปลงสู่การปฏิบัติให้
เกิดผลในพื้นที่
ดังเห็นได้ว่า กระทรวงและกรมที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ ร่วมกับจังหวัดได้ประสานและดำ�เนินการก่อสร้าง 43
ฝายชะลอความชุ่มชื้นกว่าสี่หมื่นแห่ง ส่วนกระทรวงมหาดไทย

ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
ได้ดำ�เนินการรณรงค์และสนับสนุนการก่อสร้างฝายชะลอความ
ชุ่มชื้น ซึ่งสามารถดำ�เนินการก่อสร้างโดยใช้งบประมาณจังหวัด
แบบบูรณาการ งบประมาณองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
งบประมาณส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้อง รวมจำ�นวนกว่าเจ็ดหมืน่ แห่ง
ในพื้นที่ที่มีความเหมาะสม ๖๒ จังหวัด
________________________
44
จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา
หนังสือชุด จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา เป็นหนังสือชุดจำ�นวน ๑๔ เล่ม ประกอบด้วย
๑. หลักการทรงงาน ๘. ชะลอนํ้า : เพิ่มความชุ่มชื้น
๒. รากฐานความมั่นคงของมนุษย์ ๙. กำ�แพงธรรมชาติที่มีชีวิต
๓. นํ้าคือชีวิต ๑๐. พลังงานสีเขียว
๔. ปราชญ์แห่งดิน ๑๑. จากนํ้าเสียสู่นํ้าใส
๕. รักษ์ป่า : รักษาสิ่งแวดล้อม ๑๒. พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต
๖. วิถีแห่งดุลยภาพ ๑๓. ผลสำ�เร็จสู่ประชาชน
๗. ทฤษฎีใหม่ ๑๔. พระเกียรติเกริกไกร
จัดทำ�โดย
สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ (สำ�นักงาน กปร.)
เลขที่ ๒๐๑๒ อาคารสำ�นักงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ซอยอรุณอมรินทร์ ๓๖
ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ๑๐๗๐๐
โทรศัพท์ ๐-๒๔๔๗-๘๕๐๐ โทรสาร ๐-๒๔๔๗-๘๕๖๒ www.rdpb.go.th
คณะผู้จัดทำ�
ที่ปรึกษา
๑. นายเฉลิมเกียรติ แสนวิเศษ เลขาธิการ กปร.
๒. นายโกวิทย์ เพ่งวาณิชย์ รองเลขาธิการ
๓. หม่อมหลวงจิรพันธุ์ ทวีวงศ์ รองเลขาธิการ
คณะทำ�งาน
๑. นายสุวัฒน์ เทพอารักษ์ รองเลขาธิการ ประธานคณะทำ�งาน
๒. นายปวัตร์ นวะมะรัตน ผู้อำ�นวยการสำ�นักประสานงานโครงการพื้นที่ภาคเหนือ
๓. นางสุพร ตรีนรินทร์ ผู้อำ�นวยการกลุ่มแผนงาน
๔. นางศศิพร ปาณิกบุตร นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชำ�นาญการพิเศษ
๕. นายศุภรัชต์ อินทราวุธ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชำ�นาญการพิเศษ
๖. นางกุญชัชญา ทองคำ� นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชำ�นาญการ
๗. นายอิทธิพล วรนุช นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชำ�นาญการ
๘. นางสาวณัฐฤดี แสนทวีสุข เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน
๙. นางสาวปุญชรัสมิ์ ราศรี เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน
ภาพประกอบ
ฝ่ายโสตทัศนศึกษา สำ�นักประชาสัมพันธ์ สำ�นักงาน กปร.
พิมพ์ที่
บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
ปีที่พิมพ์
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ISBN 978-974-7569-10-0
จัดพิมพ์โดย
สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ (สำ�นักงาน กปร.)
Office of the Royal Development Projects Board (Rdpb)
เลขที่ ๒๐๑๒ อาคารสำ�นักงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ
ซอยอรุณอมรินทร์ ๓๖ ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ๑๐๗๐๐
โทรศัพท์ ๐-๒๔๔๗-๘๕๐๐ โทรสาร ๐-๒๔๔๗-๘๕๖๒
www.rdpb.go.th
ISBN 978-974-7569-10-0

You might also like