You are on page 1of 11

ไขขอของใจ

“พื้นที่เสี่ยงภัยแลง”

กรมพัฒนาที่ดิน
Land Development Department
1 Q : “ภัยแลง” คืออะไร เกิดชวงไหน
A : ภัยแลง คือ ภัยที่เกิดจากการขาดแคลนน้ํา โดยอาจจะมีสาเหตุจาก ฝนทิ้งชวง ฝนไมตก
ตามฤดู ก าล หรื อ พื้ น ที่ อ ยู ห างจากแหล ง น้ํ า ไม มี แ หล ง น้ํ า เพี ย งพอ หรื อ ดิ น มี ก ารระบายน้ํ า ได ดี
จนทําใหเกิดความขาดแคลนน้ําเปนเวลานานจนกอใหเกิดความแหงแลงและสงผลกระทบตอชุมชน
ซึ่งความแหงแลงสามารถเกิดขึ้นไดทุกฤดูกาล ทุกสภาพพื้นที่ และ อาจคงอยูไดอยางไมจํากัดเวลา
โดยปกติในประเทศไทยจะเกิดใน 2 ชวง ไดแก
1. ช ว งฤดู ห นาวต อ เนื่ อ งถึ ง ฤดู ร อ น ซึ่ ง เริ่ ม จากครึ่ ง หลั ง ของเดื อ นตุ ล าคมเป น ต น ไป
บริเวณประเทศไทยตอนบน (ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออก)
จะมีปริมาณฝนลดลงเปนลําดับ จนกระทั่งเขาสูฤดูฝนในชวงกลางเดือนพฤษภาคมของ ปถัดไป
ซึ่งภัยแลงลักษณะนี้จะเกิดขึ้นเปนประจําทุกป
2. ชวงกลางฤดูฝน ประมาณปลายเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม จะมีฝนทิ้งชวงเกิดขึ้น
ภัยแลงลักษณะนี้จะเกิดขึ้นเฉพาะทองถิ่นหรือบางบริเวณ บางครั้งอาจครอบคลุมพื้นที่เปนบริเวณ
กวางเกือบทั่วประเทศ กรมพัฒนาที่ดิน
Land Development Department
2 Q : “ฝนแลง” กับ “ฝนทิ้งชวง” แตกตางกันอยางไร
A: ฝนแล ง หมายถึ ง สภาวะที่ มี ฝ นน อ ยหรื อ ไม มี ฝ นเลยในช ว งเวลาหนึ่ ง
ซึ่งตามปกติ ควรจะตองมีฝน โดยขึ้นอยูกับสถานที่และฤดูกาล ณ ที่นั้น ๆ ทําใหเกิดสภาวะ
การขาดแคลนน้ําของพืช
ฝนทิ้งชวง หมายถึง ชวงที่มีปริมาณฝนตกไมถึงวันละ 1 มิลลิเมตรติดตอกัน
เกิ น 15 วั น ในช ว งฤดู ฝ น เดื อ นที่ มี โ อกาสเกิ ด ฝนทิ้ ง ช ว งสู ง คื อ เดื อ นมิ ถุ น ายน และ
เดือนกรกฎาคม

กรมพัฒนาที่ดิน
Land Development Department
Q : ปจจัยที่กอใหเกิดสภาวะความแหงแลงสําหรับประเทศไทย
3 มีอะไรบาง
A: ปจจัยที่กอใหเกิดสภาวะความแหงแลงสําหรับประเทศไทย ไดแก
1. สภาพภูมิอากาศ เกิดปรากฏการณเอลนิโญรุนแรง ทําใหฝนนอยกวาปกติ
สงผลดานการเกษตรทําใหผลผลิตลดลง
2. การทําลายปาตนน้ําลําธาร ทําใหฝนไมตกตามฤดูกาล สงผลใหแหลงน้ําตื้นเขิน
ประสิทธิภาพการกักเก็บน้ําใชประโยชนลดลง
3. ความตองการใชน้ําเพิ่มขึ้น เนื่องจากประชากรเพิ่ม กอใหเกิดปญหามลภาวะ
ทางน้ําความตองการใชน้ําเพิ่มขึ้น สงผลใหเกิดปญหาขาดแคลนน้ํา

กรมพัฒนาที่ดิน
Land Development Department
Q : ปญหาภัยแลงในประเทศไทยสงผลกระทบอยางไรบาง
4 กับการดํารงชีวิตของประชาชน
A : ปญหาภัยแลงสงผลกระทบตอการดํารงชีวิตของประชาชน โดยแบงเปนดานตาง ๆ ดังนี้
ดานอุทกวิทยา ดานสิ่งแวดลอม
ดานเกษตร
ทําใหระดับและปริมาณน้ําลดลง การขาดแคลนน้ํา กอใหเกิดโรค
กอใหเกิดความเสียหายตอ
พื้นที่ชุมน้ําลดลง คุณภาพน้ํา กั บ สั ต ว คุ ณ ภาพดิ น และน้ํ า ลดลง
ผลผลิตทางการเกษตรทั้งในดาน
เปลี่ยนแปลง เกิดการกัดเซาะของดิน อีกทั้งยังเพิ่มโอกาสในการเกิดไฟปา
คุณภาพและปริมาณ
การเกิดไฟปาเพิ่มขึ้น ซึ่งสงผลตอคุณภาพอากาศ
ดานเศรษฐกิจ ดานสังคม
ทําใหเกิดการเพิ่มตนทุน และ เกิดผลกระทบในดานสุขภาพอนามัย
ในการผลิตสินคาเกษตร ปศุสัตว การใชน้ําและการจัดการคุณภาพชีวิต
ปาไม รวมทั้งการประมง ของประชาชน
กรมพัฒนาที่ดิน
Land Development Department
5 Q : ประโยชนของการคาดการณพื้นที่เสี่ยงภัยแลง
A : ชวยใหเกษตรกรไดมีการเตรียมตัวรับมือกับปญหาภัยแลงที่จะเกิดขึ้น
ไดอยางถูกตอง มีการวางแผนการจัดการปญหาภัยแลง เพื่อลดผลกรทบ
ที่จะเกิดขึ้นจากภัยแลง

กรมพัฒนาที่ดิน
Land Development Department
Q: กรมพัฒนาที่ดิน มีมาตรการลดผลกระทบ
6 จากความแหงแลง อะไรบาง
A : 1. สงเสริมความรูเพื่อลดความเสี่ยงจากภัยแลง ใหกับเกษตรกรใหสามารถประเมินความเสี่ยง
และปรับตัวเพื่อลดความเสี่ยงได ไดแก
# ปรับปรุงขอมูลแผนที่พื้นที่แลงซ้ําซาก # จัดทําแผนที่คาดการณความแหงแลงในพื้นที่ทําการเกษตร
# เฝาระวังและใหขอมูลขาวสารพื้นที่เสี่ยงที่จะเกิดความแหงแลง
2. เพิ่มประสิทธิภาพการใชน้ําเพื่อการเกษตรเพื่อการเพาะปลูกในพื้นที่แลง ไดแก
# สงเสริมและสนับสนุนการปลูกพืชใชน้ํานอย ทดแทนการทํานาปรัง เชน ปลูกพืชปุยสด
# การปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่การปลูกพืชใหเหมาะสม “Zoning by Agri-map”
3. การเพิ่มปริมาณน้ําตนทุน เพื่อสํารองน้ําไวใชในฤดูเพาะปลูก ไดแก
# การสรางแหลงกักเก็บน้ําไวบนผิวดิน “บอจิ๋ว” เพื่อสํารองน้ําไวใชในระหวางฝนทิ้งชวง
# เก็บน้ําไวในดิน โดยการเพิ่มศักยภาพการอุมน้ํา และลดการระเหยของน้ําในดิน
“ไถกลบตอซัง งดการเผา เพิ่มอินทรียวัตถุลงดิน”
4. การฟนฟู และพัฒนาพื้นที่เกษตรที่ประสบภัย ไดแก
# ชวยเหลือ และฟนฟูพื้นที่เกษตรกรรมใหสามารถใชประโยชนได กรมพัฒนาที่ดิน
โดยการมีสวนรวมของเกษตรกรในพื้นที่ Land Development Department
Q : การอนุรักษดินและน้ําเพื่อการเกษตร
7 สามารถแกไขปญหาความแหงแลงไดอยางไร

A : การใช ร ะบบอนุ รั ก ษ ดิ น และน้ํ า เพื่ อ การเกษตร เช น การทํ า ฝายชะลอน้ํ า


บอดักตะกอน คันดินรับน้ํารอบขอบเขารวมกับการปลูกหญาแฝก และการใชปุยพืชสด
พืชคลุมดินในระบบ ทําใหน้ําสามารถซึมลงดินไดมากขึ้น ชวยเก็บกักน้ําและชวยรักษา
ความชุมชื้นใหแกดิน นอกจากนี้ยังชวยดักตะกอนดินที่จะถูกน้ําพัดพาลงไปทับถมใน
แหลงน้ํา ปองกันการตื้นเขินของแหลงน้ํา และกักเก็บน้ําไวใชในฤดูแลงไดเพิ่มขึ้น

กรมพัฒนาที่ดิน
Land Development Department
8 Q : จะบริหารจัดการน้ําอยางไรใหยั่งยืน
A : ตองมีการจัดการโดยแบงเปนตนน้ํา กลางน้ําและปลายน้ํา โดยมีรายระเอียดดังนี้
ตนน้ํา กลางน้ํา ปลายน้าํ
1. อนุรักษปาไมและเพิ่มพื้นที่ปาไม 1. สร า งระบบเตื อ นภั ย น้ํ า แล ง น้ํ า 1. ปลูกพืชใชน้ํานอยในฤดูแลง
ปา 3 อยาง ประโยชน 4 อยาง ทวมที่มีประสิทธิภาพ 2. ปลูกพืชรักษาหนาดิน หรือพืช
2. รั ฐ บา ลมี ก าร วา งนโย บา ย 2. เพิ่มพื้นที่กักเก็บน้ําฝายชะลอน้ํา คลุมดิน
ที่ชัดเจน 3. บริ ห ารจั ด การน้ํ า อย า งเป น
3. สร า งจิ ต สํ า นึ ก และให ค วามรู ร ะบบ และมี ค วา ม สั ม พั น ธ กั น 3. ดูแลแหลงน้ําธรรมชาติ
การอนุ รั ก ษ แ ละการใช ป ระโยชน ระหวางตนน้ํา กลางน้ํา และปลาย 4. ปลูกพืชผสมผสาน
แหลงน้ํา น้ํา 5. นํ า หลั ก เกษตรทฤษฎี ใ หม ม า
4. สรางการมีสวนรวมระหวางรัฐ 4. ขุดลอกทางระบายน้ํา ประยุกตใช
กับทุกหนวยงานและประชาชน 5. สร า งแนวปองกั น การไหลของ 6. ธนาคารน้ําใตดินเติมน้ําลงดิน
5. สร า งเครื อ ข า ย สร า งต น แบบ น้ํ า โดยปลู ก พื ช ลดแรงปะทะ เช น 7. ไมสรางสิ่งกอสรางขวางทางน้ํา
จุดเรียนรูในการอนุรักษดินและน้ํา หญาแฝก
6. ระบบอนุรักษดินและน้ํา
กรมพัฒนาที่ดิน
Land Development Department
9 Q : เกษตรกร ควรเตรียมตัวรับมือกับสถานการณภัยแลง
ที่อาจเกิดขึ้นอยางไรบาง
A: ติ ด ตามสถานการณ น้ํ า และแผนการจั ด สรรน้ํ า เพื่ อ วางแผนการ
เพาะปลู ก ให ส อดคล อ งกั บ ปริ ม าณน้ํ า ในพื้ น ที่ งดการปลู ก พื ช ที่ ใ ช น้ํ า มาก
ปลู ก พื ช ที่ ใ ช น้ํ า น อ ยทดแทน เพื่ อ ให ส ามารถใช น้ํ า ได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
คลุมโคนตนไมดวยฟางขาวหรือเศษหญาเพื่อชวยกักเก็บความชุมชื้นในดิน
และลดการระเหยของน้ํา

กรมพัฒนาที่ดิน
Land Development Department
Q : เกษตรกรสามารถสอบถามขอมูลพื้นที่เสี่ยงภัยแลง
10 และมาตรการเยียวยาไดจากแหลงใด
A: เบื้ อ งต น เกษตรกรสามารถสอบถามข อ มู ล พื้ น ที่ เ สี่ ย งภั ย แล ง และมาตรการ
เยี ย วยาภั ย แล ง ได จ ากสํ า นั ก งานเกษตรอํ า เภอในพื้ น ที่ หรื อ สํ า นั ก งานเกษตรจั ง หวั ด
ของพื้นที่ทําการเกษตร หรือ ติดตอ สายดวน 1170 ศูนยบริการขอมูลขาวสารกระทรวง
เกษตรและสหกรณ เพื่อสอบถามขอมูลเพิ่มเติม

กรมพัฒนาที่ดิน
Land Development Department

You might also like