You are on page 1of 32

ทะเลกับชีวิต

ความสาคัญของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
"ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง " หมายความว่า สิ่ งที่มีอยู่หรื อ
เกิดขึ้นตามธรรมชาติในบริเวณทะเลและชายฝั่ง รวมถึงพรุชายฝั่ง
พื้นที่ชุ่มน้าชายฝั่ง คลอง คูแพรก ทะเลสาบ และบริเวณพื้นที่ปาก
แม่น้า ที่มีพื้นที่ติดต่อกับทะเลหรืออิทธิพลของน้าทะเลเข้าถึง เช่น
ป่าชายเลน ป่าชายหาด หาด ที่ชายทะเล เกาะ หญ้าทะเล ปะการัง
ดอนหอย พืชและสัตว์ทะเล หรือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อประโยชน์
แก่ระบบนิเวศ ทางทะเลและชายฝั่ง เช่น ปะการังเทียม แนวลด
แรงคลื่น และการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง

ที่มา : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
https://www.dmcr.go.th
ความสาคัญของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
▪ เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสาคัญต่อประเทศ
▪ เป็นแหล่งอาหารของมนุษย์
▪ เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้า
▪ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับประเทศ
▪ ทาให้มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว
ที่ดินชายฝั่งทะเลมีพื้นที่ยาวทั้งหมดประมาณ 2,960 กิโลเมตร
ทรัพยากรธรรมชาติที่มีค่ามากมาย เช่น ก๊าชธรรมชาติ น้า แร่
ธาตุ อาหาร ชายหาด ป่าชายเลน แนวปะการัง หญ้าทะเล
และน้าทะเลใกล้ชายฝั่งที่มีบรรยากาศที่งดงาม นอกจากนี้ยัง
เป็นพื้นที่สาคัญของโครงข่ายคมนาคมสาหรับเศรษฐกิจของ
ประเทศไทยอีกด้วย ดังนั้นพื้นที่ชายฝั่งทะเลจึงเป็นฐานสาคัญ
สาหรับเศรษฐกิจที่ผลิตสินค้าต่างๆแล้วมีความสาคัญอย่างสูง
ต่ อสั งคมและคนในประเทศ เพราะพื้ นที่ เหล่ า นี้จ ะเป็ น ที่ตั้ ง
โรงงานอุตสาหกรรม แหล่งพาณิชยกรรม และแหล่งท่องเที่ยว
สถานการณ์ ด้ า นทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง มี แ นวโน้ ม ของ
ปริมาณทรัพยากรที่เพิ่มขึ้น ในปี พ.ศ.2561 พบว่า
- มีพื้นที่ป่าชายเลนใน 24 จังหวัด รวมทั้งหมด 2.86 ล้านไร่
- มีพื้นที่แหล่งหญ้าทะเลใน 19 จังหวัด รวมทั้งหมด 159,828 ไร่
- มีพื้นที่แนวปะการังใน 17 จังหวัด รวมทั้งหมด 149,025 ไร่
- มีสั ต ว์ ท ะเลหายากที่ พ บในประเทศไทย แบ่ งออกเป็ น 3 กลุ่ ม
ได้แก่ เต่าทะเล พะยูน โลมาและวาฬ
ป่าชายเลน (mangroves)
คือ ระบบนิเวศที่ประกอบไปด้วยพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ หลายชนิด ดารงชีวิตร่วมกัน
ในสภาพแวดล้อมที่เป็นดินเลน น้ากร่อย และมีน้าทะเลท่วมถึงอย่างสม่าเสมอ
ดังนั้น จึงพบป่าชายเลนปรากฏอยู่ทั่วไปตามบริเวณที่เป็นชายฝั่งทะเล ปากแม่น้า
ทะเลสาบ และรอบเกาะแก่งต่างๆ ในพื้นที่ชายฝั่ง ทะเล พันธุ์ไม้ที่มีมากและมี
บทบาทสาคัญที่สุดในป่าชายเลน คือ ไม้โกงกาง ป่าชายเลนจึงมีชื่อเรียกอีกอย่าง
ว่า ป่าโกงกาง ในระบบนิเวศ ป่าชายเลนประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต
สิ่งไม่มีชีวิต ประกอบไปด้วย พวกธาตุอาหาร เกลือแร่ น้า พวกซาก-พืช ซากสัตว์
ยั ง รวมไปถึ ง สภาพภู มิ อ ากาศ เช่ น อุ ณ หภู มิ แสง ฝน ความชื้ น เป็ น ต้ น และ
สิ่งมีชีวิต ประกอบด้วย ผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อย
ชนิดพันธุ์ไม้ป่าชายเลน
สัตว์ในป่าชายเลน
หญ้าทะเล
ระบบนิเวศหญ้าทะเล ประกอบด้วยกลุ่มของพืชดอกที่ปรับตัวเติบโตอยู่ได้ในทะเล
และสามารถเจริญได้ดีในบริเวณน้าตื้นที่มีแสงแดดส่องถึง โครงสร้างของใบที่
ซับซ้อนมีความสาคัญในด้านเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยแหล่งอนุบาลตัวอ่อนสัตว์น้า
ตลอดจนเป็นแหล่งหากินของสัตว์ทะเลนานาชนิด รวมถึงสัตว์น้าเศรษฐกิจอัน
ได้แก่ ปลา กุ้ง ปู หอยหลายชนิด และยังมีส่วนช่วยในการกรองและปรับปรุง
คุ ณ ภาพน้ า ด้ ว ยเพราะหญ้ า ทะเลมี ร ะบบรากที่ ค อยยึ ด จั บ เพื่ อ ป้ อ งกั น การ
พังทลายของหน้าดินได้เป็นอย่างดี นอกจากนั้นสามารถพบสัตว์ทะเลหายากและ
ใกล้สูญพันธุ์ อย่างเช่น เต่าทะเลบางชนิด และพะยูน ได้ในพื้นที่หญ้าทะเลบาง
แห่ง โดยสัตว์ทะเลทั้งสองชนิดนี้จะกินหญ้าทะเลเป็นอาหารโดยตรง รวมถึงยังมี
ความสาคัญทางด้านเศรษฐกิจจากการทาประมงในแหล่งหญ้า เช่น การรวบรวม
ลูกปลาเก๋าเพื่อนาไปเพาะเลี้ยงต่อในกระชัง การทาประมงอื่น ๆ เช่น อวนจมปู
แร้วปู และลอบ เป็นต้น
ระบบนิเวศหญ้าทะเล

ที่มา : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
https://www.dmcr.go.th
แนวปะการัง
เป็นแนวหินปูนใต้ทะเลในระดับน้าตื้นที่แสงแดดส่องถึง หินปูนดังกล่าวเป็นผลมา
จากการเจริญเติบโตของปะการังหลายๆ ชนิด นอกจากนี้ ยังมีสิ่งมีชีวิตอื่นๆ อีก
หลายชนิดที่มีส่วนเสริ มสร้ างหินปูนพอกพูนสะสมในแนวปะการั ง เช่น สาหร่ าย
หินปูน หอยที่มีเปลือกแข็ง ฯลฯ ทั้งปะการังเองและสิ่งมีชีวิตที่สร้างหินปูนได้ เมื่อ
ตายไปแล้วจะยังคงเหลือซากหินปูนทับถมพอกพูนต่อไป เนื่องจากแนวปะการัง
ประกอบด้วยปะการังหลายชนิดและปะการังแต่ละชนิดมีลักษณะโครงสร้างแตกต่าง
กัน ไป ทาให้โครงสร้ างของแนวปะการั งมีลั กษณะซับซ้ อน เต็ม ไปด้ว ยซอกหลื บ
เหมาะสมต่อการดารงชีวิตสิ่งมีชีวิตต่างๆ เช่น ปลาชนิดต่าง ๆ กุ้ง หอย ดาวทะเล
ปลิงทะเล ฟองน้า ปะการังอ่อน กัลปังหา หนอนทะเล สาหร่ายทะเล เป็นต้น ทาให้
แนวปะการังเป็นระบบนิเวศที่มีความซับซ้อน และมีความหลากหลายทางชีวภาพสูง
ที่สุดในทะเล ความอุดมสมบูรณ์ของแนวปะการังดึงดูดให้มีการใช้ประโยชน์จากแนว
ปะการังมากขึ้นทั้งโดยตรงและโดยทางอ้อม ทรัพยากรสัตว์น้านานาชนิดจากแนว
ปะการังถูกนาขึ้นมาใช้ประโยชน์และการท่องเที่ยวในแนวปะการังเป็นที่นิยมมากขึ้น
พะยูน
เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมที่อาศัยอยู่ในทะเล เชื่อว่าพะยูนเคยอาศัยหากินอยู่บนบก
และมีบรรพบุรุษที่ใกล้เคียงกับบรรพบุรุษของช้าง เมื่อราว 55 ล้านปีมาแล้วสายพันธุ์
ของพะยูนได้มีวิวัฒนาการลงไปอยู่ในน้าและไม่กลับขึ้นมาอยู่บนบกอีกเลย
เช่นเดียวกับพวกโลมาและปลาวาฬ
พะยูน (Dugong dugon)
มีลาตัวรูปกระสวยคล้ายโลมา ลาตัวมีสีเทาอมชมพูหรือน้าตาลเทา สีของส่วนท้องอ่อนกว่า
พะยูนมีขนสั้นๆ ประปรายตลอดลาตัวและมีขนเส้นใหญ่อยู่อย่างหนาแน่นบริเวณปาก มีตาและหู
ขนาดเล็กอย่างละคู่ ส่วนของหูเป็นรูเปิดเล็กๆ ไม่มีใบหู มี รูจมูกอยู่ชิดกันหนึ่งคู่ รูจมูกมีลิ้นปิด-เปิด
พะยูนหายใจทุก 1-2 นาที มีครีบด้านหน้าหนึ่งคู่อยู่สองข้างของลาตัวและมีติ่งนมอยู่ด้านหลังของฐาน
ครีบ ครีบทั้งสองเปลี่ยนแปลงมาจากขาคู่หน้า ภายในครีบประกอบด้วยนิ้ว 5 นิ้ว ปกติพะยูนว่ายน้า
ช้าด้วยความเร็ว 1.8-2.2 กิโลเมตร/ชั่วโมง พะยูนมีกระดูกที่มีโครงสร้างแน่นและหนักซึ่งเหมาะกับวิถี
ชีวิตของพะยูนที่อาศัยหากินอยู่ที่พื้น พะยูนไม่มีอาวุธป้องกันตัว มีเพียงลาตัวที่ใหญ่ มีหนังหนาซึ่ง
อาจป้องกันอันตรายจากการกัดหรือทาร้ายจากสัตว์อื่นเช่น ฉลาม เมื่อมีบาดแผลเลือดแข็งตัวได้เร็ว
มาก ส่วนลูกอ่อนจะอยู่กับแม่และอาศัยตัวแม่เป็นโล่กาบังที่ดี
เต่าทะเล
เต่าทะเลเป็นสัตว์ดึกดาบรรพ์ ที่เคยมีหลักฐานพบว่าอาศัยอยู่ทั่วไปในสมัย 130 ล้านปี
ก่อน นอกจากนั้นยังมีหลักฐานว่าเคยพบซากโบราณ (fossil) ก่อนหน้านั้นไม่น้อยกว่า
200 ล้านปีการแพร่กระจายของเต่าทะเล พบอยู่เฉพาะในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่น
เต่าทะเลทั่วโลกพบอยู่ 7 ชนิดด้วยกัน คือ เต่ามะเฟือง (Dermochelys coriacea) เต่า
ตนุ (Chelonia mydas) เต่าหลังแบน (Natator depressus) เต่ากระ
(Eretmochelys imbricata), เต่าหัวฆ้อน (Caretta caretta) เต่าหญ้า
(Lepidochelys olivacea) และเต่าหญ้าแคมป์ (Lepidochelys kempi) ในประเทศ
ไทยพบเต่าทะเลเพียง 5 ชนิด คือ เต่ามะเฟือง เต่าตนุ เต่ากระ เต่าหญ้า และเต่าหัวค้อน
โดยเต่าหัวค้อนไม่เคยพบขึ้นวางไข่ในประเทศไทยเลยตลอดระยะ 20 ปี ที่ผ่านมาเพียงแต่
มีรายงานพบหากินอยู่ในน่านน้าไทยเท่านั้น
หมายเหตุ นักอนุกรมวิธาน ได้รวมเต่าตนุดา (Chelonia agassizii) เข้าเป็นชนิด
เดียวกันกับเต่าตนุแล้ว
วาฬและโลมา
จัดเป็นสัตว์เลือดอุ่น เลี้ยงลูกด้วยนม หายใจด้วยปอด และมีอุณหภูมิใน
ร่างกายคงที่เกือบตลอดเวลา ปลาวาฬและโลมาอาศัยอยู่ในทะเลเปิด มี
การย้ายถิ่นข้ามไปมาในประเทศหรือระหว่างประเทศ การโยกย้ายถิ่น
อาจมีทั้ง การย้ายตามแหล่งอาหาร โยกย้ายตามฤดูกาล และย้ายแหล่ง
เพื่อการแพร่ขยายพันธุ์ น่านน้าไทยเป็นบริเวณหนึ่งที่มีอุณหภูมิสูงอยู่
ตลอดเวลา การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในแต่ละฤดูกาลมีน้อยมาก จึง
เป็นบริเวณที่เหมาะอย่างยิ่งที่จะเป็นแหล่งแพร่พันธุ์และแหล่งอาหาร ใน
อดีตที่ผ่านมามีการล่าจับวาฬและโลมากันมาก เพื่อใช้บริโภคและแปรรูป
เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ
โลมา และ วาฬบรูด้า
ฉลามวาฬ
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรที่ดินชายฝั่ง
▪ การท่องเที่ยว : พื้นที่ชายฝั่งทะเลเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญ จาก
สภาพภูมิทัศน์ที่สวยงามของเกาะ หาดทราย แนวปะการังและแหล่ง
หญ้ า ทะเล แหล่ ง โบราณคดี ใ ต้ น้ า และแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วอื่ น ๆที่ เ ป็ น
โบราณสถานหรือโบราณคดี ประเพณีและวัฒนธรรม
▪ การอุตสาหกรรม : พื้นที่ชายฝั่งทะเลมีการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเป็น
นิคมอุตสาหกรรม เนื่องจากเขตพื้นที่ชายฝั่งทะเลเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพ
สูงสุดในการพัฒนาทั้งด้า นความสะดวกในการคมนาคม การขนส่ง
สร้างท่าเรือน้าลึก ปัญหาที่พบเป็นเรื่องปัญหามลพิษอุตสาหกรรมและ
การกาจัดของเสีย ปัญหาการใช้ที่ดินไม่เหมาะสม ความขัดแย้งระหว่าง
ชุมชนกับนิคมอุตสาหกรรม ระบบสาธารณูปโภคไม่เพียงพอ
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรที่ดินชายฝั่ง
▪ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า : พื้นที่ติดทะเลเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการ
เพาะเลี้ยงสัตว์น้าชายฝั่ง ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เพาะเลี้ยงกุ้งทะเล ปลา
หอย และปู ปั ญ หาคื อ การเกิ ด โรคระบาด ความเสื่ อ มโทรมของ
สิ่งแวดล้อม การขาดแคลนพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์
▪ การทานาเกลือ : พื้นที่ทานาเกลือมีประมาณ 120,000 ไร่ มากกว่า
ครึ่งหนึ่งอยู่ในบริเวณที่ลุ่มน้าทะเลท่วมในเขตอ่าวไทยตอนบน
▪ แหล่งชุมชนและเมือง : การตั้งถิ่นฐานของชุมชนในพื้นที่ชายฝั่งทะเล
ส่วนใหญ่เป็นแหล่งชุมชนขนาดเล็กที่มีอาชีพประมงดั้งเดิม และการ
ค้าขายที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกรประมง
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรที่ดินชายฝั่ง
▪ แหล่งป่าไม้ : ป่าชายเลนมี 2 กลุ่ม คือ กลุ่มไม้โกงกาง ซึ่งจะขึ้นหนา
ใกล้ฝั่งน้านอกสุดของป่าชายเลน และถัดเข้ามาเป็นต้นจาก ไม้แสม
และไม้พังงา
▪ การทาเหมืองแร่และเหมืองทราย : เหมืองแร่ดีบุกส่วนใหญ่อยู่ทาง
ภาคใต้ แ ละด าเนิ น การทั้ ง ทางบกและทะเล การท าเหมื อ งทราย
อุตสาหกรรม ทาให้มีปัญหาของเสียทั้งตะกอนและน้าเสีย การพังทลาย
ของชายหาด ผลกระทบต่อระบบนิเวศบริเวณแนวปะการัง
▪ พื้นที่รับน้า: การจัดการทรัพยากรน้าบริเวณลุ่มน้า เพื่อการผลิตและ
รักษาน้า ทั้งการชลประทาน การผลิตประปา และทรัพยากรอื่นๆที่มีน้า
เป็นพื้นฐาน
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรที่ดินชายฝั่ง
▪ การคมนาคมและขนส่ง : ท่าเรือและการขนส่งทางเรือมีบทบาทสาคัญ
ทั้งด้านคมนาคมและขนส่งสินค้า ท่าเรือและที่จอดเรือตามแนวชายฝั่ง
ทะเลส่วนใหญ่เป็นท่าเรือประมงขนาดเล็กไม่มีบทบาทในการขนส่ง
สินค้า
การใช้ประโยชน์ของพื้นที่และทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ของประเทศไทย เช่น
▪ การอุตสาหกรรมตามแนวชายฝั่งและในทะเล
▪ การขนส่งทางทะเลและพาณิชย์นาวี
▪ การท่องเที่ยวทางทะเล
▪ ชุมชนและเมืองชายฝั่ง

ความเสื่อมโทรมของทรัพยากร
ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
▪ พื้นที่ป่าชายเลนลดลงอย่างรวดเร็ว
▪ ปริมาณสัตว์น้าที่จับได้ลดลงอย่างมาก
▪ ผลกระทบต่อการขยายพันธ์ของสัตว์น้า
▪ มลพิษทางทะเล น้าทะเลเสื่อมคุณภาพ สร้างความเสียหายต่อพืชและ
สัตว์ที่อยู่อาศัยในทะเลและบริเวณชายฝั่ง
การบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งให้มีประสิทธิภาพ
▪ แผนแม่บทการบริหารจัดการทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง พ.ศ.
2560-2579 (แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี)
▪ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12
▪ แผนปฏิรูปประเทศ 11 ด้าน
▪ พระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝั่ง พ.ศ.2558
▪ กฎหมายทีเกี่ยวข้องกับการคุ้มครองและรักษาสิ่งแวดล้อมทางทะเล
• พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
• พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่าน้าไทย พ.ศ. 2546
• พระราชบัญญัติประมง พ.ศ. 2490
• พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510
• พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514
• พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
ฟื้นฟูทฟืะเลไทยด้
้ นฟูทะเลไทยด้วว ยแผนแม่
ยแผนแม่ บท บท
❑ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เปลี่ยนแปลงไปจากการกระทาของมนุษย์ มากกว่า
ธรรมชาติ รัฐบาลจึงได้ให้ความสาคัญมากกับการดาเนินนโยบายเพื่อดูแลและ
ฟื้นฟูทรัพยากรอันมีค่านี้ไว้ เพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ภายใต้แผนแม่บทการ
บริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ. 2560-2579 ที่มุ่งบูรณาการ
การทางานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ฉับไวยิ่งขึ้น โดยหวังจะให้เท่าทันต่ออัตรา
การเสื่อมสลายของทรัพยากร
❑ ตลอดปี 2561-2562 รัฐบาลมีโครงการสาคัญในการฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล
อย่างต่อเนื่อง เพื่อสนับสนุนการทางานร่วมกับทุกภาคส่วนที่จะช่วยชะลอความ
เสี ย หายต่ อ ทรั พ ยากรทางทะเล เกาะ แก่ ง และชายฝั่ ง รวมทั้ ง ร่ ว มกั น สร้ า ง
จิตสานึกด้านสิ่งแวดล้อม อาทิ กิจกรรมการปลูกปะการัง การปลูกหญ้าทะเล การ
ปลูกป่าชายเลน ใน 23 จังหวัด มาตรการลดขยะพลาสติก และการให้ความ
ช่วยเหลือสัตว์ทะเลหายากเกยตื้น
https://www.pmdu.go.th/thailand-today/marine-resources/
https://www.pmdu.go.th/thailand-today/marine-resources/
การอ้างอิง

▪ https://sites.google.com/site/thangthalelaeachayfang/payha-hlak
▪ https://www.pmdu.go.th/thailand-today/marine-resources/
▪ https://www.dmcr.go.th/home
▪ http://km.dmcr.go.th/th/c_11
▪ http://km.dmcr.go.th/th/c_3
▪ https://km.dmcr.go.th/th/category?cat=6
▪ นรากร นันทไตรภพ (กันยายน 2563) ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, รายการ
ร้อยเรื่อง...เมืองไทย
▪ https://scontent.fbkk62.fna.fbcdn.net/v/t1.64359/70253157_1355042374643454_91121240516
51821568_n.jpg?_nc_cat=109&ccb=15&_nc_sid=730e14&_nc_ohc=t0qZzsw_7_EAX8siS6T&_nc
_ht=scontent.fbkk62.fna&oh=00_AT_zg0Lpi2D321rt08pdzgsN4fiVqcwpoeh88TXwhwevow&oe=
61F22748
▪https://youtu.be/9mSuLypDzHw

▪https://youtu.be/5-aYLEWA2_I

▪https://youtu.be/dQ155knTuos

▪https://youtu.be/bkX1BJu

You might also like