You are on page 1of 124

คูม

่ อ
ื ศึกษาทรัพยากร
ในระบบนิ เวศทางทะเลและชายฝั่ง

สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
หนัังสืือ คู่่�มืือศึึกษาทรััพยากรในระบบนิิเวศทางทะเลและชายฝั่่�ง: หาดทราย
ผู้้�เขีียน สุุเมตต์์ ปุุจฉาการ เศรษฐพงษ์์ ปุุจฉาการ สมโชค เนีียนไธสง อนััญญา ทองสิิมา
จัันทร์์จรััส วััฒนะโชติิ และกฤดาอร จุุนวิิเชีียร
สงวนลิิขสิิทธิ์์�โดย
การจััดพิิมพ์์ ทำำ�ซ้ำำ�� หรืือคััดลอกต้้องได้้รัับอนุุญาตเป็็นลายลัักษณ์์อัักษร
จากกรมทรััพยากรทางทะเลและชายฝั่่�ง
พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 1 กัันยายน 2563
จำำ�นวนพิิมพ์์ 300 เล่่ม
ISBN 978-616-316-615-9
อ้้างอิิง
สถาบัันวิิจััยและพััฒนาทรััพยากรทางทะเลและชายฝั่่�ง. 2563.
คู่่�มืือศึึกษาทรััพยากรในระบบนิิเวศทางทะเลและชายฝั่่�ง: หาดทราย.
กรมทรััพยากรทางทะเลและชายฝั่่�ง กรุุงเทพฯ.
บริิษััท เอ.พีี. พริ้้�นติ้้�ง มีีเดีีย จำำ�กััด. 120 หน้้า
คณะที่่�ปรึึกษาและบรรณาธิิการ
ที่่�ปรึึกษา: อุุกกฤต สตภููมิินทร์์ และสุุมนา ขจรวััฒนากุุล
บรรณาธิิการ: กััญจนพร วุุฒิิวรวงศ์์ มิิถิิลา ปรานศิิลป์์
และอิิสรา อาศิิรนัันต์์
จััดพิิมพ์์และเผยแพร่่โดย
สถาบัันวิิจััยและพััฒนาทรััพยากรทางทะเลและชายฝั่่�ง
กรมทรััพยากรทางทะเลและชายฝั่่�ง
ศููนย์์ราชการเฉลิิมพระเกีียรติิ 80 พรรษา 5 ธัันวาคม 2550
120 หมู่่� 3 อาคารรััฐประศาสนภัักดีี ชั้้�น 6 ถนนแจ้้งวััฒนะ
แขวงทุ่่�งสองห้้อง เขตหลัักสี่่� กรุุงเทพฯ 10210
โทร. 021 414 690 โทรสาร 021 439 259
หนัังสืือเล่่มนี้้�เป็็นส่่วนหนึ่่�งของโครงการอนุุรัักษ์์พัันธุุกรรมพืืช
อัันเนื่่�องมาจากพระราชดำำ�ริิ สมเด็็จพระเทพรััตนราชสุุดาฯ
สยามบรมราชกุุมารีี กรมทรััพยากรทางทะเลและชายฝั่่�ง
บทนำ�

ประเทศไทยเป็็นประเทศหนึ่่�งที่่�มีีความ ชายฝั่่�ง เป็็นหน่่วยงานหนึ่่�งที่่�สนัับสนุุนการศึึกษา


หลากหลายทางชีีวภาพ (Biodiversity) ของ วิิจััยเพื่่�อการบริิหารจััดการทรััพยากรทางทะเล
พัันธุ์์�พืืชและพัันธุ์์�สัตั ว์์สููงมากแห่่งหนึ่่�งของโลก ทั้้�งนี้้� และชายฝั่่ง� ให้้เกิิดความยั่่�งยืืน ประจวบกัับแนวคิิด
เนื่่�องจากปััจจััยทางสิ่่�งแวดล้้อมต่่าง ๆ ของ ของโครงการอนุุรักั ษ์์พันั ธุุกรรมพืืชอัันเนื่่�องมาจาก
ประเทศไทยมีีความเหมาะสมและเอื้้�ออำำ�นวย พระราชดำำ�ริิ สมเด็็จพระเทพรััตนราชสุุดาฯ
เช่่น ประเทศไทยตั้้�งอยู่่�ในเขตร้้อนที่่�มีีอุุณหภููมิิ สยามบรมราชกุุมารีี ในการจััดทำำ�ฐานข้้อมููล
เหมาะสม เป็็นประเทศที่่�เป็็นชุุมชนเชื่่�อมต่่อ ทรััพยากรท้้องถิ่่น� ซึ่่ง� เปิิดโอกาสให้้นักั เรีียนสามารถ
ของ 2 มหาสมุุทรใหญ่่ ประเทศไทยตั้้�งอยู่่�บน ศึึกษาสำำ�รวจและบัันทึึกข้้อมููลทรััพยากรในท้้องถิ่่น�
เปลืือกโลกที่่�เก่่าแก่่และมั่่�นคง ปััจจััยต่่าง ๆ ส่่งผลให้้ นัั ก เรีี ย นเกิิ ด ความรัั ก และหวงแหน
เหล่่านี้้�จึงึ ส่่งผลให้้ประเทศไทยมีีความหลากหลาย ทรััพยากรในท้้องถิ่่�นตน และยัังเป็็นการปลููกฝััง
ทางชีีวภาพสููงมาก อุุดมสมบููรณ์์ทั้้�งทรััพยากร การพััฒนาด้้านความคิิดและสร้้างนัักอนุุกรมวิิธาน
ชีีวภาพบนบกและทางทะเล ความหลากหลายทาง รุ่่�นเยาว์์ นอกจากนี้้� องค์์กรส่่วนท้้องถิ่่�นที่่�มีีหน้้าที่่�
ชีีวภาพนี้้� เป็็นแหล่่งให้้บริิการทางนิิเวศ เป็็นต้้น ในการรวบรวมฐานข้้อมููลความหลากหลายของ
ทุุนทางเศรษฐกิิจ และก่่อให้้เกิิดความสมดุุลทาง ทรััพยากรทางทะเลและชายฝั่่�งในระบบนิิเวศใน
ธรรมชาติิ ในระยะเวลากว่่า 30 ปีี ที่่�ผ่่านมา ท้้องถิ่่�นมีีข้้อมููลในการปกป้้องและใช้้ประโยชน์์
ประเทศไทยได้้ สูู ญเสีี ย พื้้� น ที่่� ท างทรัั พ ยากร ทรััพยากรในท้้องถิ่่�นให้้เกิิดความยั่่�งยืืนต่่อไป
ธรรมชาติิเป็็นจำำ�นวนมหาศาล เนื่่�องจากหลาย จึึงดำำ�เนิินการจ้้างสถาบัันวิิทยาศาสตร์์ทางทะเล
สาเหตุุ อาทิิ การเพิ่่�มของประชากรทำำ�ให้้มีีการ จััดทำำ�โครงการบริิการวิิชาการในการจััดทำำ�คู่่�มืือ
บุุกรุุกพื้้�นที่่�ป่า่ เพื่่�อขยายพื้้�นที่่�ทำำ�กินิ และที่่�อยู่่อ� าศััย ศึึกษาทรััพยากรในระบบนิิเวศทางทะเลและชายฝั่่ง�
และใช้้ ท รัั พ ยากรทั้้� ง ทางบกและทางทะเล ประเภทหาดหิิน หาดทราย ซึ่่ง� คู่่มื� อื ศึึกษาทรััพยากร
จนเกิินขีีดจำำ�กัดั โดยไม่่มีีการทดแทน ตลอดจนการ นี้้�จะช่่วยให้้โรงเรีียนระดัับมััธยมศึึกษาสามารถใช้้
พััฒนาพื้้�นที่่�ชายฝั่่�งและกิิจกรรมทางทะเลก่่อเกิิด ประกอบการศึึกษาลัักษณะทางกายภาพของ
มลพิิษส่่งผลต่่อสััตว์์น้ำำ�� ส่่งผลให้้แหล่่งทรััพยากร ชายหาดและจำำ�แนกชนิิดสิ่่�งมีีชีีวิิตในระบบนิิเวศ
และนิิ เวศวิิ ท ยาเสีี ย สมดุุ ล ทางธรรมชาติิ ชายหาดได้้โดยง่่าย และมีีความถููกต้้อง และสามารถ
สถาบัันวิิจััยและพััฒนาทรััพยากรทางทะเล ศึึกษาสำำ�รวจทรััพยากรในระบบนิิเวศชายหาดได้้
และชายฝั่่�งทะเล กรมทรััพยากรทางทะเลและ อย่่างต่่อเนื่่�องได้้ด้้วยตนเอง

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย ก
4 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
สารบัญ

หน้า

บทนำ� ก
ชายหาดและบทบาทความสำ�คัญ 1
คุณลักษณะของชายหาดประเภทต่างๆ ในประเทศไทย 5
หาดทราย 10
สิ่งแวดล้อมของหาดทราย 11
ความสำ�คัญของหาดทราย 13
วิธีการสำ�รวจหาดทรายทางชีวภาพ 16
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดทราย 21
- สาหร่่ายทะเล 21
- ฟองน้ำำ�ทะเล 35
- ไนดาเรีีย 46
- หนอนตััวแบน 60
- หนอนปล้้อง 62
- หนอนถั่่�ว 64
- หนอนช้้อน 65
- ไบรโอซััว 66
- หนอนเกืือกม้้า 68
- หอยปากเป็็ด หอยราก 69
- หอยและหมึึก 70
- อาร์์โทรพอด 86
- เอคไคโนเดิิร์์ม 93
- เพรีียงหััวหอม 101
- หนอนลููกโอ๊๊ค 102
- ปลากระดููกอ่่อน 103
- ปลากระดููกแข็็ง 104

วิธีการจำ�แนกสิ่งมีชีวต
ิ ในหาดทราย 106
ดัชนี 113
บรรณานุ กรม 116

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย ค
ง คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ชายหาดและบทบาทความสำ �คัญ

ชายหาด คืือ พื้้�นที่่�ระหว่่างขอบฝั่่�งถึึงแนวน้ำำ��ลงต่ำำ��สุุดเป็็นแถบยาวไปตามชายฝั่่�งโดยมีีวััตถุุหรืือดิินตะกอน


ที่่�แตกต่่างกัันตกตะกอนทัับถม หรืือปะทะคลื่่�นลมจนผุุพัังแตกหัักตามธรรมชาติิ วััตถุุที่่�ตกตะกอนทัับถม
ตามชายหาดมีีขนาดที่่�แตกต่่างกัันตั้้�งแต่่อนุุภาคเล็็ก ๆ จนถึึงเป็็นก้้อนหิินขนาดใหญ่่ เป็็นแหล่่งที่่�อยู่่�อาศััยของ
สิ่่�งมีีชีีวิิตชนิิดต่่าง ๆ ก่่อให้้เกิิดเป็็นระบบนิิเวศชายฝั่่�งทะเลตามวััตถุุต้้นกำำ�เนิิดนั้้�น ๆ เช่่น หาดทราย หาดหิิน
หาดโคลน เป็็นต้้น
ชายหาดเป็็นระบบนิิเวศหนึ่่ง� ที่่มีีคุ � ณ ุ ค่่าและมีีความสำำ�คัญั เนื่่อ� งจากเป็็นแหล่่งที่่อุ� ดุ มสมบููรณ์์ด้ว้ ยทรััพยากรธรรมชาติิ
ที่่�มีีคุุณค่่ามากมาย ต่่อระบบนิิเวศวิิทยา สัังคมและเศรษฐกิิจปััจจุุบัันพื้้�นที่่�ชายฝั่่�งทะเลของประเทศไทยได้้ถููกนำำ�
ไปใช้้ประโยชน์์ในรููปแบบต่่างๆ มากมาย นอกจากความสวยงามของหาดทรายที่่เ� ป็็นแหล่่งท่่องเที่่ย� วที่่สำ� ำ�คัญ ั แล้้ว
นั้้�น หาดทราย ยัังมีีบทบาทและความสำำ�คััญต่่อระบบนิิเวศด้้านอื่่�น ๆ อีีกมากมาย ได้้แก่่
1. แหล่่งที่่�อยู่่�อาศััยของสิ่่�งมีีชีีวิิต
2. แหล่่งอาศััยและวางไข่่ของสััตว์์น้ำำ��หายาก
3. แหล่่งพัักผ่่อนหย่่อนใจ ท่่องเที่่�ยวและนัันทนาการ
4. แหล่่งอาหารและประมง
5. แหล่่งศึึกษาธรรมชาติิวิิทยา
แหล่่งที่่�อยู่่�อาศััยของสิ่่ง� มีีชีีวิิต เนื่่�องจากสภาพแวดล้้อมและพื้น�้ ที่่ช� ายหาดที่่มีีคว � ามแตกต่่างกััน ได้้แก่่ ขนาด
ของตะกอน ระดัับของน้ำำ��ขึ้้น� น้ำำ��ลง ส่่งผลให้้เกิิดเป็็นแหล่่งที่่อ� ยู่่ม� ากมายของสิ่่ง� มีีชีีวิิตทั้้ง� พืืชและสััตว์์ ในแต่่ละแห่่ง
เราจะพบว่่ามีีสิ่่ง� มีีชีีวิิตหลากหลายขนาดอาศััยอยู่่ม� ากมาย ซึ่่ง� บางครั้้�งถ้้าไม่่สังั เกตอาจไม่่เห็็นการเคลื่่�อนไหวใด ๆ ของ
สััตว์์เลย แต่่ที่่�จริิงแล้้วไม่่ว่่าจะเป็็นใต้้พื้้�นทราย ใต้้ก้้อนหิินหรืือตามซอกหิินจะพบว่่ามีีสิ่่�งมีีชีีวิิตอาศััยอยู่่� ทั้้�งนี้้�
เนื่่�องจากพวกมัันต้้องซ่่อนตััว และหลบแดดที่่�ส่่องมาโดนตััว เพราะอาจทำำ�ให้้ร่่างกายสููญเสีียน้ำำ�� และตายได้้
จึึงกล่่าวได้้ว่่าระบบนิิเวศหาดทรายเป็็นแหล่่งของความหลากหลายแหล่่งหนึ่่�งของระบบนิิเวศ

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 1
ชายหาดและบทบาทความสำ �คัญ

แหล่่งอาศััยและวางไข่่ของสััตว์์น้ำำ��หายาก เป็็นแหล่่งวางไข่่ของเต่่าทะเล เนื่่�องจากเต่่าทะเลต้้องขึ้้�นมา


วางไข่่บนหาดทรายบริิเวณเหนืือระดัับน้ำำ�ขึ้้ � �นสููงสุุด และพื้้�นที่่�หาดทรายนั้้�นต้้องมีีลัักษณะเป็็นทรายขาว สะอาด
โดยทั่่�วไปเต่่าทะเลจะขุุดหลุุมสำำ�หรัับวางไข่่เหนืือระดัับน้ำำ��ขึ้้�นสููงสุุด แต่่ก็็มีีเต่่าทะเลบางตััวที่่�ขึ้้�นวางไข่่ไกลจาก
ระดัับน้ำำ��ขึ้้�นสููงสุุดถึึง 200 เมตร และพื้้�นที่่�แหล่่งหญ้้าทะเลยัังเป็็นอาหารหลัักที่่�สำำ�คััญของพยููน โดย พะยููนจะ
หากิินตามแนวหญ้้าทะเลที่่คว � ามลึึก 1-3 เมตร นอกจากจะเป็็นอาหารของพะยููนแล้้ว ยัังเป็็นอาหารของเต่่าทะเล
เป็็นที่่�อยู่่�อาศััย ที่่�หลบภััย ผสมพัันธุ์์� วางไข่่ และเป็็นแหล่่งอนุุบาลของสััตว์์น้ำำ��วััยอ่่อน

2 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ชายหาดและบทบาทความสำ �คัญ
แหล่่งพัักผ่่อนหย่่อนใจ ท่่องเที่่�ยวและนัันทนาการ น้ำำ��ทะเลใส หาดทรายขาวที่่�ทอดยาวตามแนวชายหาด
นั้้�น มัักเป็็นที่่ดึ� งึ ดููดใจแก่่ท่อ่ งเที่่ย� วให้้เข้้ามาเที่่ย� ว พัักผ่่อนหย่่อนใจ ทำำ�กิจิ กรรมบริิเวณชายหาดกัันมาก เนื่่อ� งจาก
มีีความสวยงามของธรรมชาติิ รวมถึึงการเติิบโตของอุุตสาหกรรมการท่่องเที่่�ยว การค้้าขาย โรงแรม ที่่�พััก
เป็็นแหล่่งรายได้้ที่สำ่� ำ�คััญของประชานชนในพื้�น้ ที่่�

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 3
ชายหาดและบทบาทความสำ �คัญ

แหล่่งอาหารและประมง ชายหาดเป็็นที่่�อยู่่�อาศััยของพืืชและสััตว์์ทะเลที่่�มีีคุุณค่่าความสำำ�คััญ
ทางเศรษฐกิิจและเป็็นบริิเวณสำำ�คััญสำำ�หรัับสััตว์์น้ำำ��วััยอ่่อนที่่�จะใช้้อาศััยเป็็นที่่�อยู่่�ในช่่วงของการเติิบโต
ทำำ�ให้้ชาวประมงเข้้ามาทำำ�การประมงในบริิเวณนี้้�

แหล่่งศึึกษาธรรมชาติิวิิทยา ชายหาดเป็็นที่่อ� ยู่่อ� าศััยของพืืชและสััตว์ท์ ะเลที่่มีี� การปรัับตััวและแพร่่กระจาย


ตามปััจจััยสภาพแวดล้้อมที่่�กดดััน ทรััพยากรชีีวภาพเหล่่านี้้�จึึงมีีคุุณค่่าทางการศึึกษาธรรมชาติิวิิทยา

4 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
คุณลักษณะของชายหาดประเภทต่างๆ ในประเทศไทย

ชายหาดที่่�พบแพร่่กระจายอยู่่�ในประเทศไทย จััดแบ่่งประเภทตามขนาดของตะกอน
ที่่�แตกต่่างกััน บริิเวณส่่วนบนของหาดจะประกอบด้้วยตะกอนที่่�มีีขนาดใหญ่่ ขณะที่่�ส่่วนล่่าง
ของหาดจะพบตะกอนที่่มีี� ขนาดเล็็ก ซึ่�ง่ มีีการแบ่่งแยกตามขนาดของตะกอนดัังนี้้�
กลุ่่�มกรวด (Gravel) : ขนาดใหญ่่กว่่า 256 มม. เรีียกว่่า ก้้อนหิินมนใหญ่่ (boulder)
ขนาดระหว่่าง 64-256 มม. เรีียกว่่า ก้้อนหิินมนเล็็ก (cobble)
ขนาดระหว่่าง 4-64 มม. เรีียกว่่า กรวด (pebble)
ขนาดระหว่่าง 2-4 มม. เรีียกว่่า กรวดเล็็ก (granule)
กลุ่่�มทราย (Sand) : ขนาดระหว่่าง 0.062-2 มม. เรีียกว่่า ทราย (sand)
กลุ่่�มโคลน (Mud) : ขนาดระหว่่าง 0.004-0.062 มม. เรีียกว่่า ซิิลต์์ หรืือทรายแป้้ง (silt)
ขนาดเล็็กกว่่า 0.004 มม. เรีียกว่่า ดิินเหนีียว (clay)
ขนาดของตะกอนที่่�ต่่างชนิิดกัันทำำ�ให้้เกิิดชายหาดประเภทต่่าง ๆ ดัังนี้้�
หาดทราย เป็็นหาดที่่เ� ป็็นเม็็ดทรายละเอีียดซึ่ง่� วััตถุตุ้ น้ กำำ�เนิิดของทรายได้้มาจากหิินแกรนิิต
หรืือหิินทราย ขนาดและสีีของทรายจะแตกต่่างกัันตามโครงสร้้างของหิินต้้นกำำ�เนิิดและวิิธีีการ
สลายตััว ซึ่่�งโดยมากเป็็นสีีขาวเม็็ดเล็็กละเอีียด อย่่างไรก็็ตาม มีีหาดทรายอีีกประเภทหนึ่่�งซึ่่�งมีี
ต้้นกำำ�เนิิดจากซากปะการัังที่่�ผุุพัังแล้้ว โดยมากจะมีีสีีขาวขุ่่�นและมีีขนาดเล็็กละเอีียดมาก
หาดทรายเป็็นชายหาดทรายที่่พ� บแพร่่กระจายมากที่่�สุุดในประเทศไทย จากการสำำ�รวจแหล่่ง
ธรรมชาติิประเภทหาดทรายทั่่�วประเทศ ของกรมทรััพยากรทางทะเลและชายฝั่่�ง กระทรวง
ทรััพยากรธรรมชาติิและสิ่่�งแวดล้้อมในปีี 2560 พบว่่ามีีชายหาดรวม 521 แห่่ง กระจายตััวอยู่่�
ในพื้้�นที่่� 21 จัังหวััด โดยอยู่่�ทางฝั่่�งอ่่าวไทย 360 แห่่ง แบ่่งเป็็นชายหาดที่่�อยู่่�ในเขตอุุทยาน
แห่่งชาติิ (กรมอุุทยานแห่่งชาติิ สััตว์์ป่่า และพัันธุ์์�พืืช) 49 แห่่ง อยู่่�ในความรัับผิิดชอบของ
หน่่วยงานอื่่�น ๆ เช่่น ท้้องถิ่่�น กองทััพเรืือ และส่่วนราชการอื่่�น ๆ อีีก 311 แห่่ง สำำ�หรัับข้้อมููล
ชายหาดฝั่่�งทะเลอัันดามััน พบว่่ามีีชายหาด 161 แห่่ง อยู่่�ในเขตอุุทยานแห่่งชาติิ 78 แห่่ง
นอกเขตอุุทยานแห่่งชาติิ 83 แห่่ง

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 5
คุณลักษณะของชายหาดประเภทต่างๆ ในประเทศไทย

หาดทราย : หาดเตย เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี หาดทราย : หาดแม่พิมพ์ จังหวัดระยอง

หาดทรายปนโคลน เป็็นหาดที่่�มีีตะกอนขนาดเล็็กปะปนกัับตะกอนเม็็ดทราย โดยตะกอนขนาดเล็็ก


ที่่�เป็็นโคลนมีีการตกตะกอนช้้ากว่่าเม็็ดทรายที่่�มีีขนาดใหญ่่ หาดทรายปนโคลนมัักจะพบบริิเวณที่่�เป็็นอ่่าวลึึก
หรืือโค้้งเป็็นวงกลม เช่่น อ่่าวมะนาว จัังหวััดประจวบคีีรีีขัันธ์์

หาดทรายปนโคลน : อ่าวมะนาว จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

6 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
คุณลักษณะของชายหาดประเภทต่างๆ ในประเทศไทย
หาดทรายต่่อเนื่่�องแหล่่งหญ้้าทะเล ลัักษณะชายหาดเป็็นหาดทรายที่่�ไม่่ค่่อยลาดชัันมากนััก เม็็ดทราย
มีีขนาดแตกต่่างกัันขึ้้�นอยู่่�กัับสภาพภููมิิประเทศหรืือแต่่ละพื้้�นที่่�ตั้้�งแต่่ตะกอนทรายถึึงโคลนปนทราย หาดทราย
แบบนี้้มั� กั จะมีีความหลากหลายทางชีีวภาพสููงและเป็็นแหล่่งอนุุบาลสััตว์น้ำ์ �วั �ำ ยั อ่่อนได้้เป็็นอย่่างดีี

หาดทรายต่อเนื่องแหล่งหญ้าทะเล : อ่าวเนินฆ้อ อำ�เภอแกลง จังหวัดระยอง

หาดโคลนหรืือหาดเลน เป็็นหาดที่่�มีีตะกอนโคลนขนาดเล็็ก พบอยู่่�บริิเวณอ่่าวหรืือปากแม่่น้ำำ��


ที่่�มีีคลื่่�นลมสงบ ทำำ�ให้้มีีการตกตะกอนโคลนสููง การสะสมของตะกอนโคลนทำำ�ให้้การระบายน้ำำ��ไม่่ดีีเกิิดชั้้�นดิิน
ใต้้ผิิวดิินอยู่่�ในภาวะไร้้ออกซิิเจน และออกซิิเจนจะเพิ่่�มขึ้้�นเมื่่�อน้ำำ��ขึ้้�นท่่วมหาดเฉพาะบริิเวณผิิวดิินเท่่านั้้�น
สััตว์์ทะเลที่่�อาศััยอยู่่�บริิเวณหาดโคลนจึึงต้้องปรัับตััวอยู่่�ในหาดโคลน เช่่น ขุุดรููอยู่่� เป็็นต้้น

หาดโคลน : อ่าวชลบุรี จังหวัดชลบุรี

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 7
คุณลักษณะของชายหาดประเภทต่างๆ ในประเทศไทย

หาดหิินกรวด เป็็นหาดที่่ป� ระกอบด้้วยหิินหรืือกรวดขนาดใหญ่่ทับั ถมกััน เมื่่อ� ถููกคลื่่�นซััดทำำ�ให้้เกิิดการขััดสีี


จนแบนเรีียบบางกลมมน เช่่น หาดหิินกรวดแหลมเทีียน เกาะกููด จัังหวััดตราด และหาดหิินกรวด หาดลููกลม
เกาะแสมสาร จัังหวััดชลบุุรีี

หาดหินกรวด : แหลมเทียน เกาะกูด จังหวัดตราด หาดหินกรวด : หาดลูกลม เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี


หาดหิิน เป็็นหาดที่่�ประกอบด้้วยหิินขนาดใหญ่่ชายเขาที่่�ติิดกัับทะเล หาดหิินบริิเวณนี้้�มัักจะมีีก้้อนหิิน
ขนาดใหญ่่แตกหัักหรืือผุุพัังทัับถมกัันลงมา หาดหิินมีีความลาดชัันสููง และสิ่่�งมีีชีีวิิตมีีการแพร่่กระจายในแนวดิ่่�ง
เช่่น หาดหิิน หาดหน้้าบ้้าน เกาะแสมสาร จัังหวััดชลบุุรีี และหาดหิินอ่่าวคลองเจ้้า เกาะกููด จัังหวััดตราด

หาดหิน : หาดหน้าบ้าน เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี หาดหิน : อ่าวคลองเจ้า เกาะกูด จังหวัดตราด

8 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
คุณลักษณะของชายหาดประเภทต่างๆ ในประเทศไทย
หาดหิินซากปะการััง เป็็นหาดที่่�ประกอบด้้วยซากปะการัังที่่�แปรสภาพเป็็นก้้อนหิินขนาดใหญ่่ซาก
ปะการัังเหล่่านี้้�ถููกกััดเซาะจากการกระทำำ�ของคลื่่�นลมทำำ�ให้้เกิิดการแตกหััก ผุุพััง เปิิดพื้้�นที่่�ให้้สิ่่�งมีีชีีวิิตมาอาศััย
อยู่่� เช่่น หาดหิิน อ่่าวเตย เกาะแสมสาร จัังหวััดชลบุุรีี

หาดหินซากปะการัง : อ่าวเตย เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี


หาดหิินสาหร่่ายทะเล เป็็นหาดหิินที่่มีีส
� าหร่่ายทะเลขึ้้น� ปกคลุุมอย่่างหนาแน่่น ซึ่่ง� สาหร่่ายทะเลเหล่่านี้้�เป็็น
ทั้้�งผู้้�ผลิิตและอาหารของสััตว์์ทะเลทำำ�ให้้บริิเวณนี้้�มีีความหลากหลายของสิ่่�งมีีชีีวิิตสููง

หาดหินสาหร่ายทะเล : อ่าวเคย อำ�เภอสุขสำ�ราญ จังหวัดระนอง

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 9
หาดทราย

หาดทราย เป็็นส่่วนหนึ่่ง� ของชายฝั่่ง� ทะเลที่่เ� ชื่่อ� มต่่อระหว่่างทะเลและพื้้น� ดิินอยู่่ใ� นเขตของน้ำำ�ขึ้้


� น� น้ำำ�� ลง เกิิดจากการ
ผุุพัังสึึกกร่่อนตามธรรมชาติิของหิิน โดยเฉพาะหิินทรายและหิินแกรนิิตจนกลายเป็็นทรายและดิินถููกพััดพาลงสู่่�
ท้้องทะเล ตะกอนดิิน และทรายจะถููกแยกจากกัันโดยเกลีียวคลื่่�น ส่่วนที่่�เป็็นดิินจะตกตะกอนทัับถมเป็็นโคลน
อยู่่�บริิเวณใกล้้ปากแม่่น้ำำ��และงอกเป็็นผืืนแผ่่นดิินต่่อไป ส่่วนทรายซึ่ง�่ หนัักและทนทานต่่อการผุุกร่่อนกว่่าดิินก็็จะ
จมลงและสะสมเป็็นพื้้น� ทรายใต้้ท้อ้ งทะเลโดยมีีบางส่่วนถููกคลื่่�นพััดพาเข้้าสู่่ฝั่� ง�่ สะสมมากขึ้้น� จนเกิิดเป็็นแนวหาดทราย
ตามชายฝั่่�งทั่่�วไป
หาดทรายเป็็นบริิเวณที่่ส� ภาพภููมิิประเทศมีีการเปลี่่ย� นแปลงอยู่่เ� สมอเนื่่�องจากได้้รับั อิิทธิพิ ลของคลื่่�นและลม
ที่่�พััดเข้้ามา ลัักษณะเป็็นพื้้�นที่่�ราบเรีียบ ไม่่มีีแหล่่งหลบซ่่อนกำำ�บัังตััว ขนาดของเม็็ดทรายและความลาดชัันของ
ชายหาดมีีความแตกต่่างกัันตามสถานที่่� ลัักษณะทางภููมิิศาสตร์์ และฤดููกาลซึ่่�งส่่งผลต่่อความรุุนแรงของคลื่่�น
และลมที่่�ปะทะเข้้าสู่่�ชายหาด บริิเวณนี้้�เป็็นที่่�อยู่่�อาศััยของสิ่่�งมีีชีีวิิตหลายชนิิดโดยพบว่่าพืืชและสััตว์์ที่่�อาศััยใน
บริิเวณหาดทรายจะมีีการปรัับตััวให้้เหมาะสมกัับรููปแบบการดำำ�รงชีีวิิตที่่�มีีความสััมพัันธ์์อัันซัับซ้้อน เพื่่�อการมีี
ชีีวิิตรอดของสิ่่�งมีีชีีวิิต นิิเวศหาดทรายประกอบด้้วยแหล่่งอาศััยเล็็กๆ ที่่�มีีความแตกต่่างขององค์์ประกอบทาง
กายภาพในแต่่ละพื้น้� ที่่ที่� จ่� ะมีีความแตกต่่างกััน เช่่น ประเภทของตะกอน ได้้แก่่ โคลน ทรายละเอีียด ทรายหยาบ
และหิินปะการััง และในบางพื้�น้ ที่่�ยัังพบแหล่่งหญ้้าทะเลอีีกด้้วย

10 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
สิ่ งแวดล้อมของหาดทราย

สภาพแวดล้้อมโดยทั่่�วไปของหาดทราย ในแต่่ละพื้้�นที่่�จะมีีลัักษณะที่่�แตกต่่างกััน ปััจจััยหลัักที่่�เป็็นตััว


กำำ�หนดรููปแบบคืือ น้ำำ��ขึ้้น� น้ำำ��ลง แนวของน้ำำ�ขึ้้
� น� น้ำำ��ลงจะเป็็นตััวแบ่่งความแตกต่่างของลัักษณะพื้้น� ที่่แ� ละสิ่่ง� มีีชีีวิิต
ที่่�อาศััยอยู่่�
หาดทรายตามแนวชายฝั่่�งทะเลของประเทศไทย มีีการเปลี่่�ยนแปลงอยู่่�ตลอดเวลาตามการเปลี่่�ยนทิิศทาง
ของลมมรสุุม ในช่่วงมรสุุมที่่มีีคลื่่ � �นลมแรงทรายจะถููกพััดพาไปกองอยู่่�ใต้้น้ำำ��กลายเป็็นสัันดอนช่่วยป้้องกัันคลื่่�นที่่�
ซััดเข้้าหาฝั่่�งไม่่ให้้ชายฝั่่�งถููกกััดเซาะ และในช่่วงไม่่มีีมรสุุมคลื่่�นลมสงบ ทรายจะถููกคลื่่�นลมพััดพาเข้้าสู่่�ชายหาด
ตามเดิิม เป็็นการปรัับสมดุุลของหาดทรายตามธรรมชาติิ ในแต่่ละฤดููกาล

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 11
สิ่ งแวดล้อมของหาดทราย

เขตน้ำำ�ขึ้้
� �นน้ำำ��ลง
เขตที่่อ� ยู่่�ต่ำำ��กว่่าระดัับน้ำำ��ลงต่ำำ��สุดุ
เขตที่่�อยู่่�เหนืือระดัับน้ำำ��ขึ้้�นสููงสุุด

พื้้น� ที่่ใ� นแนวหาดทรายโดยทั่่ว� ไปแบ่่งออกเป็็นเขต ได้้ 3 เขต คืือ เขตเหนืือระดัับน้ำำ�ขึ้้ � น� สููงสุุด เขตระหว่่างน้ำำ�ขึ้้
� น�
น้ำำ��ลง และเขตต่ำำ�� กว่่าระดัับน้ำำ��ลงต่ำำ��สุุด สิ่่�งมีีชีีวิิตที่่�อาศััยในแต่่ละบริิเวณก็็จะมีีความแตกต่่างกััน เช่่น สััตว์์ที่่�ต้้อง
อาศััยในบริิเวณเขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลง ต้้องปรัับตััวให้้สามารถทนทานความร้้อนจากแสงอาทิิตย์์ได้้ในช่่วงเวลาที่่�น้ำำ��ลง
พวกที่่�อยู่่�เหนืือเขตน้ำำ��ขึ้้�นสููงสุุดก็็ต้้องสามารถเคลื่่�อนที่่�ได้้เร็็วเพื่่�อหลบแสงอาทิิตย์์ หรืือขุุดรููเพื่่�อหนีีจากผู้้�ล่่า โดย
มีีรายละเอีียดในแต่่ละเขต ดัังนี้้�
1. เขตที่่�อยู่่�เหนืือระดัับน้ำำ��ขึ้้�นสููงสุุด เป็็นพื้้�นที่่�ที่่�อยู่่�เหนืือจากระดัับน้ำำ��เมื่่�อน้ำำ��ขึ้้�นสููงสุุด อยู่่�ทางด้้านใน
ต่่อเนื่่อ� งกัับแผ่่นดิินบริิเวณนี้้จ� ะได้้รับั ไอน้ำำ�ท
� ะเลและไม่่มีีช่ว่ งที่่จ� มใต้้น้ำ��ำ สััตว์ที่์ อ�่ าศััยในบริิเวณนี้้ต้� อ้ งทนต่่อความแห้้งแล้้ง
และสามารถเก็็บความชื้้�นหรืือควบคุุมการสููญเสีียน้ำำ��ได้้ดีี เช่่น ปููลม ปููเสฉวน เป็็นต้้น
2. เขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลง เป็็นบริิเวณที่่�อยู่่�ระหว่่างช่่วงน้ำำ��ขึ้้�นสููงสุุดและน้ำำ��ลงต่ำำ�� สุุด เมื่่�อน้ำำ��ลงบริิเวณนี้้�สััมผััสกัับ
อากาศและเมื่่�อน้ำำ��ขึ้้�นจะจมอยู่่�ใต้้น้ำำ�� บริิเวณนี้้�จึึงเป็็นบริิเวณที่่�มีีการเปลี่่�ยนแปลงตลอดเวลา สิ่่�งมีีชีีวิิตที่่�อาศััย
บริิเวณนี้้�ต้้องมีีการปรัับตััวอย่่างมาก เช่่น การฝัังตััวใต้้พื้้�นทรายหรืือการสร้้างท่่อ การมีีเปลืือกแข็็งเพื่่�อป้้องกััน
การเสีียดสีีจากทรายที่่�เกิิดจากการที่่�คลื่่�นซััดเข้้าออกจากฝั่่�ง และในช่่วงที่่�น้ำำ��ลดร่่างกายจะแห้้ง จึึงต้้องมีีเหงืือก
ที่่�มีีความชุ่่�มชื้้�นตลอดเวลา
3. เขตที่่อ� ยู่่�ต่ำ��ำ กว่่าระดัับน้ำำ�ล
� งต่ำำ�สุ
� ดุ เป็็นพื้้น� ที่่อ� ยุ่่�นอกสุุดของแนวหาดทราย และในช่่วงที่่น้ำ� ��ำ ลงต่ำำ�� สุุดส่่วนนี้้�
จะจมอยู่่ใ� ต้้ระดัับน้ำำ�� หรืืออาจจะโผล่่พ้น้ น้ำำ��ได้้บ้า้ งบางส่่วน ตะกอนส่่วนมากเป็็นทรายละเอีียดปนดิินเหนีียว หรืือ
ดิินเหนีียวปนทรายแป้้ง เนื่่�องจากได้้รัับอิิทธิิพลของคลื่่�นจากทะเลด้้านนอกในการสะสมตััว

12 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความสำ �คัญของหาดทราย

1. หาดทรายเป็็นแหล่่งที่่อ� ยู่่อ� าศััยของสิ่่ง� มีีชีวิี ติ หลายชนิิดทั้้ง� พืืชและสััตว์์ อีีกทั้้ง� หาดทรายมีีความเชื่่อ� มโยง


ของระบบนิิเวศสาหร่่ายทะเลและหญ้้าทะเล ป่่าชายเลน และแนวปะการััง

2. หาดทรายเป็็นแหล่่งท่่องเที่่ยว
� และนัันทนาการ

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 13
ความสำ �คัญของหาดทราย

3. แหล่่งอาหารและประมงทางทะเล แหล่่งสมุุนไพร สารผลิิตภััณฑ์์ทางธรรมชาติิและยารัักษาโรค

14 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความสำ �คัญของหาดทราย
4. หาดทรายเป็็นแนวกำำ�บัังคลื่่�นลมทางธรรมชาติิ ชะลอความรุุนแรงของคลื่่�นลม

5. ชายหาดทรายเป็็นแหล่่งสำำ�คัญ ั ในการรองรัับขยะและซากทรััพยากรชีีวภาพที่่ต� ายลอยขึ้้น� มาจากทะเล


ขยะและซากเกยหาดเหล่่านี้้�เป็็นดััชนีีชี้้�วััดซึ่่�งความสกปรกของท้้องทะเลและการทิ้้�งขยะของมนุุษย์์ในการทิ้้�ง
สิ่่�งปนเปื้้�อนลงในทะเล เราจึึงต้้องช่่วยกัันงดทิ้้�งขยะลงสู่่�แม่่น้ำำ��ลำำ�คลองและทะเล

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 15
วิธีการสำ �รวจหาดทรายทางชีวภาพ

หาดทรายเป็็นบริิเวณที่่�มีีการเปลี่่�ยนแปลงอยู่่�เสมอทุุกฤดููกาล และการใช้้พื้้�นที่่�หาดทรายจากกิิจกรรมของ
มนุุษย์์ เช่่น การท่่องเที่่ย� ว การก่่อสร้้างที่่อ� ยู่่อ� าศััย การปล่่อยน้ำำ�� เสีีย ท่่าเรืือ จะมีีส่่วนช่่วยเสริิมให้้ระบบนิิเวศหาดทราย
เกิิดการเปลี่่�ยนแปลงได้้เร็็วขึ้้�น การสำำ�รวจติิดตามเฝ้้าระวัังการเปลี่่�ยนแปลงของระนิิเวศหาดทราย จะทำำ�ให้้เรา
สามารถทราบถึึงผลกระทบที่่�กำำ�ลัังเกิิดขึ้้�นกัับทรััพยากรและสภาพแวดล้้อมของหาดทรายได้้เป็็นอย่่างดีี
หาดทรายเป็็นพื้น�้ ที่่เ� ปิิดโล่่งไร้้สิ่่ง� กำำ�บังั ในทะเล ทรััพยากรชีีวภาพที่่อ� าศััยอยู่่�บริิเวณหาดทรายจึึงต้้องปรัับตััว
ในลัักษณะต่่างๆ เช่่น พวกที่่อ� ยู่่บ� นพื้น้� ทรายจะมีีความสามารถในการพรางตััวให้้กลมกลืืนกัับสีีของพื้้น� ทราย เช่่น
ปลาลิ้้�นหมา ใช้้การฝัังตััวในพื้้�นทรายแบบตื้้�นๆ เช่่น ปููหนุุมาน เหรีียญทะเล หอยเสีียบ เป็็นต้้น บางชนิิดจะขุุดรูู
อยู่่�ตามชายหาด เช่่น ปููลม ปลาทะเลมัักจะมีีการรวมฝููง เช่่น ปลาดุุกปิ่่�นแก้้ว เป็็นต้้น การศึึกษาสำำ�รวจหาดทราย
ทางชีีวภาพ จึึงต้้องทำำ�การศึึกษาทั้้�งสิ่่�งมีีชีีวิิตที่่�อาศััยบนดิินและฝัังตััวอยู่่�ในดิิน วิิธีีการสำำ�รวจทรััพยากรชีีวภาพ
แบบที่่�นิิยมกัันทั่่�วไปคืือ
การสำำ�รวจทรััพยากรชีีวภาพโดยใช้้ตารางสุ่่�ม (Quadrat) การสำำ�รวจแบบนี้้�มีีวัตถุ ั ปุ ระสงค์์เพื่่�อศึึกษาความ
หลากหลายทางชีีวภาพของทรััพยากรชีีวภาพของชายหาดทราย โดยให้้ผู้้�สำำ�รวจทำำ�การสำำ�รวจในช่่วงน้ำำ��ลงต่ำำ��สุุด
และการแบ่่งเขตชายหาดออกเป็็น 3 เขต ได้้แก่่ เขตที่่�อยู่่�เหนืือระดัับน้ำำ��ขึ้้�นสููงสุุด เขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลง และเขตที่่�อยู่่�
ต่ำำ��กว่่าระดัับน้ำำ��ลงต่ำำ�� สุุด ทำำ�การสุ่่�มเก็็บข้้อมููลโดยการโยนตารางสุ่่�มแบบสุ่่�มลงไปในเขตทั้้�ง 3 เขตของชายหาด
อย่่างน้้อย 3 ตารางสุ่่�ม จากนั้้�นทำำ�การบัันทึึกสิ่่�งมีีชีีวิิตที่่�พบบนดิิน หลัังจากนั้้�นใช้้พลั่่�วตัักดิินทรายแต่่ละตาราง
สุ่่�มลึึกประมาณ 20 เซนติิเมตร ร่่อนผ่่านตะแกรงร่่อน ทำำ�การบัันทึึกข้้อมููล ภาพถ่่าย นัับจำำ�นวนชนิิดและปริิมาณ
ของสิ่่�งมีีชีีวิิตทางทะเลที่่�พบนำำ�ไปเปรีียบเทีียบผลการศึึกษาในครั้้�งต่่อๆไป

16 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
วิธีการสำ �รวจหาดทรายทางชีวภาพ

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 17
วิธีการสำ �รวจหาดทรายทางชีวภาพ

การเฝ้้าระวัังติิดตามการเปลี่่�ยนแปลงของสิ่่�งมีีชีีวิิตทางทะเลเราสามารถใช้้สััตว์์ทะเลที่่�เป็็นชนิิดเด่่นใน
แต่่ละหาดเป็็นดััชนีีชี้้�วััดการเปลี่่�ยนแปลงทางระบบนิิเวศและสภาพแวดล้้อมของหาดทราย เช่่น เราอาจจะใช้้
ดาวทราย (Sand star, Astropecten indicus) เป็็นดััชนีีเฝ้้าระวัังการเปลี่่ย� นแปลงประชากรหอยทะเลขนาดเล็็ก
เนื่่�องจากดาวทรายเป็็นผู้้�ควบคุุมประชากรหอยทะเลขนาดเล็็ก เช่่น หอยเสีียบ หอยทัับทิิม เป็็นต้้น จั๊๊�กจั่่�นทะเล
(Mole crab, Emerita emeritus) อาศััยอยู่่�ชุุกชุุมบริิเวณหาดทรายด้้านปะทะคลื่่�นลมรุุนแรงเป็็นดััชนีี
การเปลี่่�ยนแปลงของการกััดเซาะชายหาด

จั๊๊�กจั่่�นทะเล (Mole crab, Emerita emeritus) ดาวทราย (Sand star, Astropecten indicus)

การหาความลาดชัันของหาด (Beach profile) เป็็นวิิธีีการที่่ง่� า่ ยสำำ�หรัับนัักเรีียนสามารถที่่จ� ะดำำ�เนิินการ


ได้้ไม่่ยากนััก ทำำ�ให้้เราทราบถึึงการเปลี่่ย� นแปลงสถานภาพระบบนิิเวศหาดทราย รููปแบบพื้น้� ที่่ห� าดทรายในพื้น้� ที่่�
ศึึกษาได้้ โดยมีีวิิธีีการ
1. กำำ�หนดจุุดที่่จ� ะศึึกษา โดยทำำ�งานในช่่วงน้ำำ��ลงต่ำำ�� สุุด เริ่่ม� ต้้นจากส่่วนบนของหาด ให้้ผู้้�สำำ�รวจคนที่่� 1 พร้้อม
ไม้้ยาวและท่่อน้ำำ�� ยางขนาดเล็็กยาวประมาณ 6-12 เมตรบรรจุุน้ำำ��เต็็มประมาณ 5-10 เมตรยืืนอยู่่�ตอนบนสุุดของ
หาดกำำ�หนดค่่าความสููงของระดัับน้ำำ�� ในท่่อน้ำำ�� 1 เมตรและให้้ผู้้�สำำ�รวจคนที่่� 2 ถืือไม้้ยาวในแนวตั้้�งพร้้อมกัับปลาย
ท่่อน้ำำ��อีีกด้้านหนึ่่�งระวัังไม่่ให้้ท่่อน้ำำ�อีี
� กด้้านหนึ่่�งสููงกว่่าอีีกด้้านหนึ่่�งจนน้ำำ��ล้้นออกมา
2. ให้้ผู้้�สำำ�รวจคนที่่� 2 ที่่�ถือื ไม้้ เคลื่่�อนที่่ไ� ปยัังชายหาดโดยหยุุดในตำำ�แหน่่งที่่กำ� ำ�หนดไว้้ เช่่น ระยะทาง 3 เมตร
5 เมตร 10 เมตร ขึ้้�นอยู่่�กัับสภาพชายหาดทรายหรืือตำำ�แหน่่งที่่มีี� การเปลี่่�ยนแปลงความชััน ให้้ผู้้�สำำ�รวจคนที่่� 2
แนบท่่อน้ำำ��กับั สายน้ำำ�� รอจนระดัับน้ำำ��ในท่่อน้ำำ��นิ่่ง� ผู้้�สำำ�รวจคนที่่� 3 บัันทึึกค่่าความสููงของระดัับน้ำำ�� บัันทึึกลัักษณะ
ของพื้้�นที่่� เช่่น ขนาดของเม็็ดทราย สีี แอ่่งน้ำำ�� พร้้อมบัันทึึกอุุณหภููมิิที่ผิ่� ิวดิินและใต้้ดิิน เป็็นต้้น

18 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
วิธีการสำ �รวจหาดทรายทางชีวภาพ
3. เก็็บตััวอย่่างดิินบริิเวณที่่มีี� การเปลี่่ย� นแปลงความชััน ใส่่ถุงุ พลาสติิกเพื่่อ� นำำ�กลัับมาศึึกษา ปริิมาณน้ำำ�� ในดิิน
ขนาดและองค์์ประกอบของทรายที่่ห้� ้องปฏิิบััติิการ
4. ให้้ผู้้�สำำ�รวจคนที่่� 1 และผู้้�สำำ�รวจคนที่่� 2 เปลี่่ย� นตำำ�แหน่่งไปเรื่่อ� ยๆและทำำ�ตามข้้อที่่� 2-3 ไปจนถึึงแนวน้ำำ��ลง
ต่ำำ��สุุด นำำ�ข้้อมููลมาวาดแผนที่่�ชายหาดตามความลาดชัันเพื่่�อนำำ�ผลไปเปรีียบเทีียบผลการศึึกษาในครั้้�งต่่อๆไป

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 19
20 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดหิน
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ในระบบนิ เวศหาดทราย

เนื่่�องจากหาดทรายเป็็นพื้้�นที่่�โล่่ง ไม่่มีีแหล่่งกำำ�บััง สิ่่�งมีีชีีวิิตจะต้้องมีีการปรัับตััวหลายด้้าน เช่่น การปรัับตััว


ด้้านรููปร่่างสััณฐาน พฤติิกรรม สรีีรวิิทยา และการผสมพัันธุ์์� ซึ่่ง� การปรัับตััวจะทำำ�ให้้สัตว์ ั ์มีีชีีวิิตรอดได้้ในช่่วงที่่�น้ำำ��
ลดลง พืืชและสััตว์์ที่่�อาศััยอยู่่�บริิเวณชายฝั่่�งจึึงต้้องมีีสภาพร่่างกายที่่�ทนต่่อสภาวะแวดล้้อมที่่�รุุนแรง ไม่่ว่่าจะ
เป็็นการต้้องเจอแสงแดดเป็็นเวลานานๆ หรืืออุุณหภููมิิและความเค็็มที่่�เพิ่่�มสููงขึ้้�น ดัังนั้้�นพืืชและสััตว์์จึึงต้้องมีีการ
ปรัับสรีีระของร่่างกายให้้ต่่อสู้้�กัับเงื่่�อนไขของสิ่่�งแวดล้้อมได้้ เช่่น สััตว์์ที่่�อยู่่�ในเขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงจะปรัับตััวทางด้้าน
พฤติิกรรม โดยการอาศััยในรููเพื่่�อหลบจากแสงแดดในตอนกลางวััน และออกหากิินในเวลากลางคืืน การปรัับตััว
ทางด้้านร่่างกาย เช่่น การมีีขนปกคลุุมตััวเพื่่�อดููดซัับน้ำำ��เอาไว้้ทำำ�ให้้ร่า่ งกายชุ่่�มชื้้น� ตลอดเวลา ไม่่ทำำ�ให้้ร่า่ งกายแห้้ง
หรืือการมีีเปลืือกหุ้้�มภายนอกที่่�ค่่อนข้้างหนา เพื่่�อต่่อต้้านการบดของเม็็ดกรวดทราย การปรัับตััวทางด้้านวงจร
ชีีวิิต คืือ เมื่่อ� ถึึงฤดููวางไข่่มันั จะกลัับลงสู่่�ทะเล โดยจะเป็็นไปตามการขึ้้น� ลงของน้ำำ�� นอกจากนี้้�สััตว์ที่์ อ่� าศััยอยู่่�ตาม
หาดทรายจะมีีความสามารถพิิเศษในการฝัังตััว เช่่น ปููหนุุมานมีีขาที่่�แบนเป็็นใบพาย ช่่วยในการว่่ายน้ำำ��และ
พุ้้�ยทรายฝัังตััวเอง ไส้้เดืือนทะเลมีีการสร้้างหิินปููน หรืือพวกที่่มีีลำ � �ตัำ วอ่
ั อ่ นนุ่่�มจะมีีอวััยวะที่่ช่� ว่ ยในการขุุดรูู หอยเสีียบ
มีีเท้้าขนาดใหญ่่ช่่วยในการฝัังตััว หอยตลัับจะมีีเปลืือกหนาแข็็งแรง และจะยื่่�นท่่อน้ำำ��เข้้าน้ำำ��ออกเหนืือพื้้�นทราย
ในช่่วงเวลาน้ำำ�ขึ้้ � �นเป็็นต้้น สิ่่�งมีีชีีวิิตในบริิเวณหาดทราย ได้้แก่่
สาหร่่ายทะเล คืือสิ่่�งมีีชีีวิิตชั้้�นต่ำำ��ที่่�สามารถสัังเคราะห์์แสงได้้เช่่นเดีียวกัับพืืช แต่่ยัังไม่่มีีราก ลำำ�ต้้น และใบ
ที่่แ� ท้้จริิง มีีขนาดตั้้ง� แต่่เล็็กมาก ประกอบด้้วยเซลล์์เพีียงเซลล์์เดีียวที่่ม� องไม่่เห็็นด้้วยตาเปล่่า ไปจนถึึงขนาดใหญ่่
ที่่มีีคว
� ามยาวหลายสิิบเมตร สาหร่่ายสามารถขึ้้�นอยู่่ไ� ด้้ทั้้ง� ในน้ำำ�จื � ดื น้ำำ�� กร่่อย และน้ำำ�� เค็็ม หรืือแม้้แต่่บนดิินที่่ชุ่่�� มชื้้น�
สำำ�หรัับสาหร่่ายทะเลขึ้้�นอยู่่�ได้้ตั้้�งแต่่บริิเวณชายฝั่่�งที่่น้ำ� ำ��ทะเลท่่วมถึึงหรืือสาดกระเซ็็นถึึง ไปจนถึึงระดัับความลึึก
ที่่�แสงส่่องถึึง สาหร่่ายทะเลมีีความสำำ�คััญต่่อระบบนิิเวศชายฝั่่�ง โดยเป็็นผู้้�ผลิิตออกซิิเจนให้้แก่่แหล่่งน้ำำ�� และใช้้
คาร์์บอนไดออกไซด์์เช่่นเดีียวกัับพืืชทั่่�วไป นอกจากนั้้�น ยัังเป็็นแหล่่งวางไข่่ เพาะฟัักและอนุุบาลสััตว์์น้ำำ��วััยอ่่อน
เป็็นแหล่่งอาหาร แหล่่งหลบภััยหรืือหลบซ่่อนศััตรูู ฯลฯ นอกจากมีีความสำำ�คัญต่ ั อ่ ระบบนิิเวศชายฝั่่ง� แล้้ว สาหร่่าย
ทะเลยัังเป็็นอาหารของมนุุษย์์ เป็็นยา และใช้้เป็็นวััตถุดิุ บิ ในอุุตสาหกรรมต่่างๆ ได้้แก่่ อุุตสาหกรรมอาหาร เครื่่�องดื่่ม�
เครื่่�องสำำ�อาง สิ่่ง� ทอ ฯลฯ ที่่ใ� ช้้ในชีีวิิตประจำำ�วันั การจำำ�แนกหมวดหมู่่�สาหร่่ายทะเลใช้้ลักั ษณะทั้้�งภายนอกภายใน
การสืืบพัันธุ์์� และวงจรชีีวิิต รวมทั้้�งองค์์ประกอบทางชีีวเคมีี
ซึ่่�งแบ่่งออกได้้เป็็น 4 กลุ่่�ม ได้้แก่่

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 21
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดทราย

1. สาหร่่ายสีีเขีียว (Division Chlorophyta) เป็็นกลุ่่�มที่่มีี� โครงสร้้างคล้้ายพืืชชั้้น� สููง โดยเฉพาะคลอโรฟิิลล์์


เช่่นเดีียวกัับพืืชบก สาหร่่ายกลุ่่�มนี้้�มีีลักั ษณะหลากหลาย ตั้้ง� แต่่เซลล์์เดีียวมีีขนาดเล็็กมากมองไม่่เห็็นด้้วยตาเปล่่า
ไปจนถึึงขนาดใหญ่่ สาหร่่ายสีีเขีียวขึ้้�นอยู่่�ได้้ตั้้�งแต่่ชายฝั่่�งที่่�น้ำำ��ท่่วมถึึงไปจนถึึงระดัับน้ำำ��ลงต่ำำ��สุุด เมื่่�อน้ำำ��ลงจะ
โผล่่พ้น้ น้ำำ��เห็็นเป็็นสีีเขีียวตามริิมทะเล สาหร่่ายสีีเขีียวส่่วนใหญ่่มีีรากยึึดเกาะบนหิิน ซากปะการัังและเปลืือกหอย
บางครั้้�งเมื่่�อถููกคลื่่�นแรงๆ อาจหลุุดลอยมาติิดบริิเวณชายหาดได้้

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายใบมะกรููด
Common Name Lemon grass algae
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Halimeda macroloba
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
/ สาหร่ายทะเล

ลำำ�ต้น้ เป็็นก้้านแข็็งปัักลงไปในพื้้น� ทราย ใบแผ่่แบน


คล้้ายพััดเรีียงต่่อกัันคล้้ายใบมะกรููด สาหร่่ายใบ
มะกรููดสามารถตรึึงก๊๊าซคาร์์บอนไดออกไซด์์ในน้ำำ��
มาสร้้างหิินปููนได้้จึึงเป็็นสาหร่่ายที่่�ช่่วยดููกซัับก๊๊าซ
/ สาหร่ายสี เขียว

เรืือนกระจก ลดภาวะโลกร้้อนได้้ พบได้้ตาม


หาดทรายทั่่�วไปทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายพวงองุ่่�น สาหร่่าย


ช่่อพริิกไทย
Common Name Sea grape
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Caulerpa racemose
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ต้น้ สีีเขีียวเจริิญไปตามก้้อนหิิน แตกกิ่่ง� เป็็นก้้าน
มีีเซลล์์พองเป็็นทรงกลมเรีียงเป็็นช่่อคล้้าย
ช่่อพริิกไทย พบได้้ตามชายหาดทรายและ
หาดหิินทั่่�วไปทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

22 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดทราย
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายใบหนาม
Common Name Cactus tree algae,
Serrated green seaweed
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Caulerpa serrulata
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ต้น้ สีีเขีียวเจริิญไปตามก้้อนหิิน ใบแบนยาวขอบใบ
หยัักเป็็นหนาม พบเกาะอยู่่บ� นก้้อนกรวดตามหาดทราย
และหาดหิินของอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

/ สาหร่ายทะเล
/ สาหร่ายสี เขียว
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายขนนก
Common Name Killer Algae
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Caulerpa taxifolia
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ต้น้ เจริิญไปตามพื้้น� ทราย ใบตั้้ง� ตรง นิิยมนำำ�เลี้้ย� ง
เป็็นไม้้น้ำำ��สวยงาม พบได้้ตามชายหาดทรายทั่่�วไป
ทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 23
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดทราย

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายขนนก
Common Name Greeen algae
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Bryopsis pennata
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ต้้นสีีเขีียวเจริิญขึ้้�นตั้้�งตรงบนก้้อนหิิน ก้้านใบ
เป็็นแกนกลางและแตกแขนงซีีกซ้้ายขวาคล้้าย
ขนนก พบเกาะอยู่่บ� นก้้อนกรวดตามหาดทรายและ
หาดหิินของอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน
/ สาหร่ายทะเล
/ สาหร่ายสี เขียว

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายกระบอง
Common Name Green algae
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Boergesenia sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ต้้นสีีเขีียวทรงกระบอกด้้านบนพองตััว พบ
เกาะอยู่่บ� นก้้อนกรวดตามหาดทรายและหาดหิิน
ของอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

24 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดทราย
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายกล้้วยหอม
Common Name Banana algae
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Neomeris sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ต้้นเป็็นก้้านแข็็งคล้้ายผลกล้้วย พบเกาะอยู่่�บน
ก้้อนหิินของหาดหิินและหาดทรายของอ่่าวไทยและ
ทะเลอัันดามััน

/ สาหร่ายทะเล
/ สาหร่ายสี เขียว
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายเส้้นผม
Common Name Turtle weed
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Chlorodesmis
hildebrandtii
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ต้้นเป็็นเส้้นตั้้�งตรงสีีเขีียวรวมตััวเป็็นกระจุุก
พบเกาะอยู่่�บนก้้อนหิินของอ่่าวไทยและทะเล
อัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 25
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดทราย

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายพััด
Common Name Fan green algae
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Avrainvillea sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ต้น้ เป็็นก้้านแข็็งปัักลงไปในพื้้น� ทราย ใบแผ่่แบน
คล้้ายพััด พบได้้ตามชายหาดทรายทั่่ว� ไปทั้้�งอ่่าวไทย
และทะเลอัันดามััน
/ สาหร่ายทะเล
/ สาหร่ายสี เขียว

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายใบ
Common Name Leaf green algae
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Udotea sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ต้น้ สีีเขีียว เป็็นแผ่่นใบตั้้ง� ตรงมีีส่่วนรากยึึดลงไป
พื้้�นทรายของหาดทรายฝั่่�งอ่่าวไทย

26 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดทราย
2. สาหร่่ายสีีน้ำำ��ตาล (Division Phaeophyta) เป็็นสาหร่่ายที่่มีี� ขนาดใหญ่่ที่สุ่� ดุ ในบรรดาสาหร่่ายทั้้�งหมด
สาหร่่ายสีีน้ำำ��ตาลเกืือบทั้้�งหมดขึ้้�นอยู่่ใ� นทะเลและน้ำำ��กร่่อย ในน่่านน้ำำ��ไทย สาหร่่ายสีีน้ำำ��ตาลเป็็นสาหร่่ายกลุ่่�มที่่�
พบมากที่่�สุุด มีีการแพร่่กระจายสููง อยู่่�ได้้เกืือบทุุกพื้้�นที่่�

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายเห็็ดหููหนูู
Common Name Peacock’s tail
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Padina sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา

/ สาหร่ายทะเล
ต้้นแผ่่เป็็นรููปพััด สีีน้ำำ��ตาลเข้้ม แตกแขนงเป็็นพุ่่�ม
พบได้้ตามชายหาดหิินทั่่�วไปทั้้�งอ่่าวไทยและทะเล
อัันดามััน

/ สาหร่่ายสีีน้ำ�ำ ตาล
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายทุ่่�น
Common Name Sargassum
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Sargassum sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ต้้นแตกแขนงเป็็นกิ่่�ง ใบเป็็นแผ่่นแบนรููปหอก
ขอบใบเป็็นหยััก ฐานใบมีีทุ่่�นลอยติิด พบเกาะอยู่่บ� น
ก้้อนกรวดตามหาดทรายทั้้�งอ่่าวไทยและทะเล
อัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 27
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดทราย

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายรัังบวบ
Common Name Hydroclathrus
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Hydroclathrus
clathratus
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ต้้น (Thallus) แตกแขนงม้้วนเป็็นก้้อน และมีี
รููพรุุนคล้้ายรัังบวบ พบเกาะอยู่่�บนก้้อนกรวดหิิน
ซากปะการัังตามหาดทรายและหาดหิินทั่่�วไปทั้้�ง
/ สาหร่ายทะเล

อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน
/ สาหร่่ายสีีน้ำ�ำ ตาล

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายเขากวาง
Common Name Dictyotales
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Dictyota friabilis
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
สาหร่่ายสีีน้ำำ��ตาลที่่�มีีทััลลััสหรืือลำำ�ต้้นแบนและ
บางคล้้ายริิบบิ้้�น แตกแขนงเป็็นกิ่่ง� ลำำ�ต้น้ สะท้้อน
แสง พบเกาะอยู่่�บนก้้อนกรวดหิิน ซากปะการััง
ตามหาดทรายและหาดหิินทั้้�งอ่่าวไทยและทะเล
อัันดามััน

28 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดทราย
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายเขากวาง
Common Name Dictyotales
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Dictyota sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
สาหร่่ายสีีน้ำำ��ตาลที่่�มีีทััลลััสหรืือลำำ�ต้้นแบนและบาง
คล้้ายริิบบิ้้�น แตกแขนงเป็็นกิ่่ง� เจริิญเป็็นกลุ่่�มหลวมๆ
พบเกาะอยู่่�บนก้้อนกรวดหิิน ซากปะการัังตาม
หาดทรายและหาดหิินทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

/ สาหร่ายทะเล
/ สาหร่่ายสีีน้ำ�ำ ตาล
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายใบผัักกาด
Common Name Brown algae
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Lobophora sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ต้้นเป็็นแผ่่นใบแบนซ้้อนกัันเป็็นชั้้�น มีีลายเส้้น
สีีขาวตามแนวรััศมีี พบได้้ตามหาดหิินทั่่�วไป
ทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 29
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดทราย
/ สาหร่ายทะเล

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายดอกจอก
/ สาหร่่ายสีีน้ำ�ำ ตาล

Common Name Crowded sea bell


ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Turbinaria sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ต้น้ แตกแขนง ใบเป็็นรููปกรวยตรงกลางมีีทุ่่�นลอย
พบเกาะอยู่่�บนก้้อนหิินหรืือซากปะการัังที่่�มีีคลื่่�น
ลมค่่อนข้้างแรง ตามหาดหิินทั้้�งอ่่าวไทยและทะเล
อัันดามััน

30 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดทราย
3. สาหร่่ายสีีแดง (Division Rhodophyta) เป็็นสาหร่่ายกลุ่่�มใหญ่่ที่่�สุุด ส่่วนใหญ่่ขึ้้�นอยู่่�ในทะเล
แพร่่กระจายอยู่่�ได้้ทั่่�วโลก สามารถขึ้้�นในที่่�ลึึกได้้ดีีกว่่าสาหร่่ายกลุ่่�มอื่่�น สาหร่่ายสีีแดงส่่วนมากมีีขนาดเล็็ก
บางชนิิดเป็็นก้้อนแข็็งคล้้ายปะการัังเนื่่�องจากมีีหิินปููนเป็็นองค์์ประกอบ สาหร่่ายสีีแดงหลายชนิิด นำำ�มาเป็็น
อาหาร อาหารสััตว์์น้ำำ�� รวมทั้้�งสามารถสกััดมาใช้้ในอุุตสาหกรรมอาหาร เครื่่�องดื่่�ม เครื่่�องสำำ�อาง ยา และสิ่่�งทอ

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายสีีแดง
Common Name Red algae
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Renouxia sp.

/ สาหร่ายทะเล
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ต้้นพองกลมแตกแขนง สีีแดงปลายกิ่่�งสีีจางลง
ปลายกิ่่ง� เป็็นรููปนิ้้�วมือื พบเกาะอยู่่บ� นก้้อนกรวดหิิน
หาดทรายฝั่่�งทะเลอัันดามััน

/ สาหร่่ายสีีแดง
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายเขากวาง
Common Name Red algae
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Laurencia sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ต้น้ สีีชมพููแตกแขนงเป็็นกิ่่ง� แบบพุ่่�มไม้้ พบเกาะ
อยู่่�บนก้้อนกรวดตามหาดทรายทั่่�วไปทั้้�งอ่่าวไทย
และทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 31
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดทราย

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายสีีแดง
Common Name Red algae
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Asparagopsis taxiformis
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ต้้นขนาดใหญ่่สีีชมพููแดง แตกแขนงเป็็นกิ่่�งพุ่่�ม
พบเกาะอยู่่�บนก้้อนหิินกรวดตามหาดทรายทั้้�ง
อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน
/ สาหร่ายทะเล
/ สาหร่่ายสีีแดง

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายเขากวาง
Common Name Red algae
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Acanthophora sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ต้น้ สีีชมพููแตกแขนงเป็็นกิ่่ง� แบบพุ่่�มไม้้ พบเกาะ
อยู่่บ� นก้้อนกรวดตามหาดทรายทั่่�วไปทั้้�งอ่่าวไทย
และทะเลอัันดามััน

32 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดทราย
/ สาหร่ายทะเล
/ สาหร่่ายสีีแดง
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายใบสีีแดง
Common Name Red algae
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Halymenia dilatata
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ต้น้ ขนาดใหญ่่สีีชมพููลายประสีีขาว เป็็นแผ่่นบาง
พัับซ้้อนกัันพบเกาะอยู่่�บนก้้อนหิินตามหาดหิิน
ทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 33
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดทราย

4. สาหร่่ายสีีเขีียวแกมน้ำำ�� เงิิน (Division Cyanophyta) พบได้้ทั้้�งในน้ำำ��จืืด น้ำำ��เค็็ม ที่่ชื้้� �นแฉะ โดยเกาะ


อยู่่�กัับวััตถุุหรืือก้้อนหิินที่่�อยู่่�ในน้ำำ�� บางคนอาจจะเรีียกว่่า “แบคทีีเรีียสีีเขีียวแกมน้ำำ��เงิิน” แทนคำำ�ว่่าสาหร่่าย
สีีเขีียวแกมน้ำำ��เงิิน เนื่่�องจากมีีเซลล์์เป็็นแบบโพรคาริิโอต และผนัังเซลล์์เป็็นพวกเพปทิิโดไกลแคน เช่่นเดีียวกัับ
เซลล์์ของแบคทีีเรีีย จึึงเชื่่�อว่่ามีีความสััมพัันธ์์กัับแบคทีีเรีียมากกว่่าสาหร่่าย
/ สาหร่ายทะเล
/ สาหร่่ายสีีเขีียวแกมน้ำำ�เงิิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� สาหร่่ายพู่่�กััน
Common Name Blue-green algae
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Symploca hypnoides
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ต้น้ เป็็นเซลล์์เรีียงต่่อกัันเป็็นเส้้นเล็็กรวมกัันเป็็น
กระจุุกคล้้ายพู่่�กันั สีีแดงเข้้ม พบเกาะอยู่่บ� นก้้อนหิิน
หาดทรายทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

34 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ฟองน้ำำ�ทะเล: Sponges
(Phylum Porifera)

เป็็นสััตว์์หลายชั้้�นต่ำำ��ที่่�มีีโครงสร้้างในระดัับเซลล์์แบบง่่ายๆ ประกอบด้้วย โครงค้ำำ��จุุน


ร่่างกายสานกััน 2 ชนิิด คืือ หนามฟองน้ำำ�� (Spicule) หรืือเส้้นใยฟองน้ำำ�� (Spongin fiber)
หรืือทั้้�งสองอย่่างรวมกััน โครงสร้้างของร่่างกายเป็็นระบบท่่อน้ำำ��ที่่�ประกอบด้้วย ช่่องน้ำำ��
เข้้ากระจายอยู่่�ตามผิิวลำำ�ตััวของฟองน้ำำ�� ช่่องเหล่่านี้้�จะเป็็นทางผ่่านของน้ำำ��เข้้าสู่่�ลำำ�ตััวฟองน้ำำ��
โดยการพััดโบกของเซลล์์พิิเศษที่่�มีีปลอกคอและแส้้พััดโบกทำำ�ให้้เกิิดกระแสน้ำำ��เข้้าสู่่�ตััว
ซึ่ง่� เซลล์์พิเิ ศษนี้้�จะทำำ�หน้้าที่่ก� รองออกซิิเจนไว้้หายใจและจัับอาหาร น้ำำ��ที่่ผ่� า่ นการกรองแล้้วจะ
ถููกขัับออกมาทางช่่องน้ำำ��ออกซึ่่�งส่่วนมากจะมีีขนาดใหญ่่ท่่อเดีียว ฟองน้ำำ�ส่ � ่วนใหญ่่อาศััย
อยู่่�รวมกัันเป็็นโคโลนีีซึ่�ง่ เป็็นผลมาจากการสืืบพัันธุ์์�แบบไม่่อาศััยเพศโดยวิิธีีการแตกหน่่อ
ทำำ�ให้้มีีสมาชิิกหลายตััวอยู่่�ติิดกัันแผ่่ขยายคลุุมพื้้�นที่่�ออกไป ฟองน้ำำ��นัับเป็็นระบบนิิเวศย่่อย
(Micro-habitat) ในระบบนิิเวศทางทะเล เนื่่�องจากมีีสััตว์ท์ ะเลหลายชนิิดมาอาศััยอยู่่�ร่ว่ มกัับ
ฟองน้ำำ�� เช่่น กุ้้�ง ปูู ไส้้เดืือนทะเล ดาวเปราะ ปลิิงทะเล โดยมาคอยดัักจัับอาหารที่่�ลอยมา
ตามกระแสน้ำำ��ที่่�เกิิดขึ้้�นจากการพััดโบกของเซลล์์ในน้ำำ��บริิเวณรููน้ำำ��เข้้า และยัังอาศััยฟองน้ำำ��
เป็็นที่่�หลบซ่่อนจากศััตรูู

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��ลููกกอล์์ฟ
Common Name Golf-ball sponges
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Tetilla japonica
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ��สีีส้ม้ รููปทรงกระบอก ผิิวเป็็นลอน ท่่อน้ำำ��
ออกอยู่่�บนหลุุมด้้านบน เจริิญขึ้้�นจากพื้้�นทราย
ตามหาดทรายฝั่่�งอ่่าวไทย

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 35
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��ฝัังตััวสีีส้้ม
Common Name Orange burrowing sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Cliothosa aurivillii
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ��สีีส้้ม เป็็นฟองน้ำำ��กลุ่่�มฝัังตััวในหิินปููน ท่่อน้ำำ��
ออกสีีส้้มขนาดใหญ่่ พบฝัังตััวในเปลืือกหอยหรืือ
ซากปะการัังตามหาดทรายทั้้�งอ่่าวไทยและทะเล
/ ฟองน้ำำ�ทะเล: Sponges

อัันดามััน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��ฝัังตััวสีีเหลืือง
Common Name Yellow burrowing
sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Cliona celeta
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ��สีีเหลืือง เป็็นฟองน้ำำ��กลุ่่�มฝัังตััวในหิินปููน
ท่่อน้ำำ��ออกเป็็นท่่อยกตััวสููง ฝัังตััวในซากปะการััง
เปลืือกหอยตามหาดทรายและหาดหิินทั้้�งอ่่าวไทย
และทะเลอัันดามััน

36 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��ฝัังตััวสีีดำำ�
Common Name black burrowing sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Siphonodictyon
mucosum
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ��สีีดำำ� เป็็นฟองน้ำำ��กลุ่่�มฝัังตััวในหิินปููน ท่่อน้ำำ��
ออกเป็็นท่่อยกตััวสููง พบฝัังตััวในซากปะการััง

/ ฟองน้ำำ�ทะเล: Sponges
หาดทรายและหาดหิินทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��ปล่่องภููเขาไฟ
Common Name Vocalno sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Spheciospongia
solida
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ��สีีเทา ลำำ�ตััวฝัังตััวในพื้้�นทราย ท่่อน้ำำ��ยก
ตััวสููงขึ้้�นจากพื้้�น ท่่อน้ำำ��ออกรููปกรวยอยู่่�บนสุุด
พบเจริิญขึ้้�นอยู่่�บนพื้้�นทรายตามหาดทรายทั้้�ง
อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 37
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��ลููกกอล์์ฟ
Common Name Golf-ball sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Paratetilla bacca
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ��รููปทรงกลม ท่่อน้ำำ��เข้้ารวมกัันเป็็นหลุุมคล้้าย
ลููกกอล์์ฟ ท่่อน้ำำ��ออกอยู่่บ� ริิเวณฐานฟองน้ำำ�� พบตาม
/ ฟองน้ำำ�ทะเล: Sponges

หาดทรายและหาดหิินทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��ไฟ
Common Name Fire sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Biemna fortis
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ��ฝัังตััวตามซอกหิิน มัักถููกตะกอนปกคลุุม
มีีสีีน้ำำ�ต� าล ท่่อน้ำำ�� ออกสีีดำำ� หนามฟองน้ำำ�มีี
� ขนาดใหญ่่
เมื่่อ� สััมผััสอาจก่่อให้้เกิิดอาการระคายเคืือง พบเขต
น้ำำ��ขึ้้น� น้ำำ��ลงของหาดทรายและหาดหิินของอ่่าวไทย
และทะเลอัันดามััน

38 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��ก้้อนหนามสีีส้้ม
Common Name Orange sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Stylissa sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ��รููปทรงพุ่่�มหนาม มองไม่่เห็็นท่่อน้ำำ��ออก
เกาะอยู่่�บนก้้อนหิินหาดหิินและหาดทรายทั้้�ง
อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

/ ฟองน้ำำ�ทะเล: Sponges
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��ก้้อนหนามสีีดำำ�
Common Name Bushy sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Echinodictyum
conulosum
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ��สีีดำำ� รููปทรงพุ่่�มหนาม มองไม่่เห็็นท่่อน้ำำ��
ออก เกาะอยู่่บ� นก้้อนหิินตามหาดทรายทั้้ง� อ่่าวไทย
และทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 39
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��ท่่อพุ่่�มสีีแดง
Common Name Flower sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Oceanapia sagittaria
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ�ฝัั
� งตััวในพื้น�้ ทราย สีีม่่วงแดง อวััยวะสืืบพัันธุ์์�
เป็็นพุ่่�มกลมคล้้ายดอกไม้้ มีีก้้อนกลมอยู่่�ตรงกลาง
แล้้วแตกแขนงออกในแนวรััศมีีและมีีเยื่่อ� หุ้้�มอยู่่�โดย
/ ฟองน้ำำ�ทะเล: Sponges

รอบ พบหาดทรายและหาดหิินทั้้�งอ่่าวไทยและทะเล
อัันดามััน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��ก้้อนสีีส้้มแดง
Common Name Red sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Mycale (Mycale)
grandis
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ��รููปทรงเป็็นก้้อน สีีแดงส้้ม ผิิวเรีียบ ท่่อน้ำำ��
ออกขนาดใหญ่่กระจายอยู่่�ทั่่วก้ � อ้ น พบเกาะอยู่่บ� น
ซากปะการััง ซอกหิินก้้อนหิินตามหาดทรายและ
หาดหิินทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

40 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��ก้้อนสีีน้ำำ��ตาล
Common Name Brown borrowinng
sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Cervicornia cuspidifera
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ��ฝัังตััวในพื้้�นทราย รููปทรงก้้อน สีีน้ำำ��ตาล
ผิิวฟองน้ำำ��แข็็งเรีียบท่่อน้ำำ��ออกอยู่่�ส่่วนบนสุุด

/ ฟองน้ำำ�ทะเล: Sponges
พบตามหาดทรายเขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงทั้้�งอ่่าวไทยและ
ทะเลอัันดามััน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��เคลืือบสีีน้ำำ��ตาล
Common Name Purple brownish
sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Neopetrosia exigua
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ��เคลืือบตามวััตถุุ บางส่่วนเจริิญขึ้้�นเป็็น
แท่่งในแนวตั้้�ง ท่่อน้ำำ�� ออกขนาดเล็็ก พบเกาะอยู่่�
บนก้้อนหิินตามหาดทรายและหาดหิินทั้้ง� อ่่าวไทย
และทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 41
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��สาหร่่ายสีีเขีียว
Common Name Green sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Haliclona (Gellius)
cymaeformis
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ��สีีเขีียวคืืบคลานบนวััตถุุเกาะติิด ภายในตััว
ฟองน้ำำ��มีีสาหร่่ายแทรกอยู่่�ภายใน พบเกาะอยู่่�บน
ก้้อนหิินเขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงของหาดทรายและหาดหิิน
/ ฟองน้ำำ�ทะเล: Sponges

ทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��ลููกพีีช
Common Name Peach sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Stelletta clavosa
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ�รููปท
� รงกลมขนาดเล็็ก สีีน้ำำ�ต � าลเข้้ม ผิิวฟองน้ำำ��
มีีหนามขนาดเล็็กแทงออกมา ท่่อน้ำำ�� ออกอยู่่�ส่ว่ นบน
ตรงกลาง พบเกาะรวมกัันเป็็นกลุ่่�มบนก้้อนหิินตาม
หาดทรายและหาดหิินที่่ต่� อ่ เนื่่�องด้้วยแนวปะการััง
ฝั่่�งทะเลอัันดามััน

42 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��ยืืดหยุ่่�นสีีดำำ�
Common Name Black sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Ircinia anomala
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ��รููปทรงเป็็นก้้อน สีีน้ำำ��ตาลดำำ� โครงร่่างร่่างกาย
เป็็นเส้้นใยฟองน้ำำ��อย่่างเดีียว ท่่อน้ำำ��ออกรวมอยู่่�
ส่่วนบน พบเกาะอยู่่บ� นก้้อนหิินเขตน้ำำ��ขึ้้น� น้ำำ��ลงของ

/ ฟองน้ำำ�ทะเล: Sponges
หาดทรายและหาดหิินทั้้�งอ่่าวไทย

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��ก้้อนสีีขาว
Common Name White sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Dysidea arenaria
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ��รููปทรงเป็็นก้้อน ผิิวฟองน้ำำ��เป็็นเยื่่อ� ใสและ
หดตััวเมื่่�อโผล่่พ้้นน้ำำ�� ท่่อน้ำำ��ออกขนาดใหญ่่เห็็น
ชััดเจน พบเกาะอยู่่�บนก้้อนหิินตามหาดทราย
และหาดหิินทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 43
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��เปลี่่�ยนสีีสีีเหลืือง
Common Name Yellow brownish sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Pseudoceratina purpurea
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ��เคลืือบหนาตามวััตถุุ บางครั้้�งแตกกิ่่ง� เป็็นแท่่ง
แตกแขนงสีีเหลืือง เมื่่อ� ฟองน้ำำ��ตายและสััมผััสอากาศ
สีีฟองน้ำำ��จะเปลี่่�ยนเป็็นสีีดำำ� ผิิวฟองน้ำำ��ขรุุขระ พบ
/ ฟองน้ำำ�ทะเล: Sponges

เกาะบนก้้อนหิินตามหาดหิินและหาดทรายที่่ต่� อ่ เนื่่�อง
ด้้วยแนวปะการัังทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��ลููกบอล
Common Name Ball sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Tethya seychellensis
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ�รููปท
� รงกลม ผิิวขรุุขระ ท่่อน้ำำ�� ออกอยู่่�ส่ว่ นบน
และมีีเยื่่�อตั้้�งขึ้้�นล้้อมรอบ พบเกาะอยู่่�บนก้้อนหิิน
ตามหาดทรายและหาดหิินทั้้�งอ่่าวไทยและทะเล
อัันดามััน

44 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��สีีน้ำำ��เงิิน
Common Name Blue sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Neopetrosia sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ��เคลืือบหนาตามวััตถุุ สีีฟ้้า ผิิวฟองน้ำำ��เรีียบ
ท่่อน้ำำ��ออกยกตััวสููงขึ้้น� เป็็นปม พบเกาะบนก้้อนหิิน
หรืือปะการัังที่่มีีชีีวิ
� ติ ตามหาดทรายและหาดหิินที่่�

/ ฟองน้ำำ�ทะเล: Sponges
ต่่อเนื่่�องด้้วยแนวปะการัังทั้้�งอ่่าวไทยและทะเล
อัันดามััน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ฟองน้ำำ��หนาม
Common Name Green spiny
sponge
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Callyspongia sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฟองน้ำำ��สีีเขีียวคืืบคลานตามพื้น้� รููปทรงเป็็นท่่อน
แตกแขนง ผิิวฟองน้ำำ��ขรุุขระเป็็นหนาม พบเกาะ
บนก้้อนหิินตามหาดทรายและหาดหิินที่่ต่� อ่ เนื่่�อง
ด้้วยแนวปะการัังทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 45
ไนดาเรีีย
(Phylum Cnidaria)

เป็็นสััตว์์หลายเซลล์์ที่่�มีีหนวดเรีียงรายรอบปาก ร่่างกายสมมาตรในแนวรััศมีีประกอบด้้วยเนื้้�อเยื่่�อสองชั้้�น
และมีีเนื้้�อเยื่่อ� เกี่่ย� วพัันอยู่่�ระหว่่างกลางรวมเป็็น 3 ชั้้น� ท่่อทางเดิินอาหารมีีเพีียงช่่องเดีียวคืือปาก ไม่่มีีทวารหนััก
และมีีนีีมาโตซีีส (Nematocysts) รููปร่่างมีี 2 แบบคืือ โพลิิป (Polyp) รููปร่่างแบบโพลิิป มีีลัักษณะเป็็นทรง
กระบอก มีีฐานสำำ�หรัับยึึดเกาะกัับวััตถุุใต้้น้ำำ�� ด้้านบนเป็็นปากที่่�มีีหนวด มัักเกาะอยู่่�กัับที่่� และเมดููซา (Medusa)
มีีลัักษณะคล้้ายร่่มและมีีหนวดอยู่่�ตามขอบร่่ม ก้้านร่่มจะเป็็นส่่วนที่่เ� กี่่ย� วข้้องกัับการกิินอาหาร ได้้แก่่ หนวดที่่�จับั
อาหาร ปากและกระเพาะอาหาร ว่่ายน้ำำ��อย่่างอิิสระ ไนดาเรีียแบ่่งออกเป็็น 4 กลุ่่�ม (Classes) คืือ
1. กลุ่่�ม Hydrozoa ได้้แก่่ พวกไฮดรอยด์์ ปะการัังไฟ แว่่นตาพระอิินทร์์
2. กลุ่่�ม Scyphozoa ได้้แก่่ พวกแมงกะพรุุนที่่�แท้้จริิง
3. กลุ่่�ม Cubozoa ได้้แก่่ แมงกะพรุุนกล่่อง ที่่�มีีพิิษร้้ายแรง
4. กลุ่่�ม Anthozoa ซึ่่�งแบ่่งออกได้้เป็็น 2 กลุ่่�มย่่อย คืือ
- กลุ่่�มย่่อย Zoantharia ได้้แก่่ ดอกไม้้ทะเล เซอริิแอนทััส พรมทะเล ดอกไม้้ทะเลเห็็ดหููหนูู ปะการัังแข็็ง
และปะการัังดำำ� เป็็นต้้น
- กลุ่่�มย่่อย Octocorallia หมายถึึงสััตว์์ที่มีี่� โฟลิิบมีีหนวด 8 เส้้น ได้้แก่่ ปะการัังสีีน้ำำ��เงิิน ปะการัังอ่่อน
กััลปัังหา แส้้ทะเล ปากกาทะเล เป็็นต้้น

ดอกไม้ทะเลดินและปลาการ์ตูนอานม้า

46 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
กลุ่่�ม Hydrozoa ได้้แก่่ พวกไฮดรอยด์์ ปะการัังไฟ
แว่่นตาพระอิินทร์์

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ขนนกทะเล
Common Name Stinging hydroid
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Macrorhynchi
philippina
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
รููปทรงเป็็นกิ่่�งก้้านแตกแขนงแต่่ละกิ่่�งแตกแขนง

/ ไนดาเรีีย
ซีีกซ้้ายขวาคล้้ายขนนก พบเกาะบนก้้อนหิิน ตาม
หาดหิินที่่ต่� อ่ เนื่่�องด้้วยแนวปะการัังทั้้�งอ่่าวไทยและ
ทะเลอัันดามััน

Hydrozoa
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� แว่่นตาพระอิินทร์์
Common Name Blue button
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Porpita porpita
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เป็็นไฮโดรซััวที่่�สร้้างทุ่่�นลอยไปตามกระแสน้ำำ��
ทุ่่�นลอยสีีเงิินกลมแบนและมีีหนวดสีีน้ำำ��เงิิน
รอบปาก พบลอยเข้้ามาเกยหาดทรายทั้้�งอ่่าวไทย
และทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 47
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

กลุ่่�ม Scyphozoa ได้้แก่่ พวกแมงกระพรุุนที่่�แท้้จริิง


/ ไนดาเรีีย
Scyphozoa

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� แมงกระพรุุนหััวกลัับ
Common Name Upside down jellyfish
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Cassiopea andromedaa
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เป็็นแมงกระพรุุนแท้้ที่่�ไม่่ลอยไปตามกระแสน้ำำ�� ตััวจะกลัับหััว
เอาส่่วนที่่�เป็็นร่่มหงายขึ้้�นเกาะอยู่่�กัับพื้้�น หนวดและปากหงาย
ขึ้้�นด้้านบน แมงกระพรุุนชนิิดนี้้�มีีสาหร่่าย Zooxanthellae
อาศััยอยู่่�ร่ว่ มกัันคล้้ายปะการัังแข็็งและเกิิดการฟอกขาวได้้ พบ
อาศััยอยู่่�ใต้้เขตน้ำำ�ขึ้้
� น� น้ำำ�� ลงของหาดทรายฝั่่ง� อ่่าวไทยและทะเล
อัันดามััน

48 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
กลุ่่�ม Anthozoa กลุ่่�มย่่อย Octocorallia
หมายถึึงสััตว์์ที่่�มีีโฟลิิบมีีหนวด 8 เส้้น

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปะการัังอ่่อน
Common Name Soft coral
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Sinularia sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ปะการัังอ่่อนไม่่มีีโครงสร้้างเป็็นหิินปููน สีีน้ำำ��ตาล
โคโลนีีแตกแขนงเป็็นรููปพุ่่�มรููปนิ้้�วมืือ พบเกาะบน

/ ไนดาเรีีย
ก้้อนหิินตามหาดทรายที่่�ต่อ่ เนื่่�องด้้วยแนวปะการััง
ฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

Anthozoa
Octocorallia
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปะการัังอ่่อน
Common Name Leather Coral
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Lobophytum sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ปะการัังอ่่อนไม่่มีีโครงสร้้างเป็็นหิินปููน สีีน้ำำ��ตาล
โคโลนีีมีีฐานเป็็นก้้านแล้้วแผ่่บานเป็็นทรงกลม
คล้้ายดอกเห็็ดและตั้้ง� ขึ้้น� เป็็นรููปนิ้้�วมือื พบเกาะบน
ก้้อนหิินตามหาดทรายที่่ต่� อ่ เนื่่�องด้้วยแนวปะการััง
ฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 49
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปะการัังอ่่อน ปะการัังหนััง


Common Name Leather Coral
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Sarcophyton sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ปะการัังอ่่อนไม่่มีีโครงสร้้างเป็็นหิินปููน สีีน้ำำ��ตาล
โคโลนีีมีีฐานเป็็นก้้านแล้้วแผ่่บานเป็็นทรงกลมคล้้าย
ดอกเห็็ด พบเกาะบนก้้อนหิินตามหาดทรายต่่อเนื่่�อง
/ ไนดาเรีีย

กัับแนวปะการัังฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน
Anthozoa
Octocorallia

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� กััลปัังหาดอกเหลืือง
Common Name Gorgonian
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Acanthogorgia sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
กััลปัังหามีีแกนกลางเป็็นสารพวกเขาสััตว์์ โคโลนีี
มีีฐานเกาะแล้้วแตกแขนงเป็็นต้้นไม้้ แกนลำำ�ต้้น
เป็็นสีีแดง โพลิิปเป็็นสีีเหลืือง พบเกาะบนก้้อนหิิน
ตามหาดหิินที่่ต่� อ่ เนื่่�องด้้วยแนวปะการัังฝั่่ง� อ่่าวไทย
และทะเลอัันดามััน

50 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปะการัังอ่่อนต้้นวุ้้�น
Common Name Soft Coral
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Dendronephthya sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ปะการัังอ่่อนไม่่มีีโครงสร้้างเป็็นหิินปููน โคโลนีีมีี
ฐานเป็็นก้้านสีีขาวฝัังตััวอยู่่ใ� นทรายแตกกิ่่ง� ก้้านเป็็น
พุ่่�มคล้้ายต้้นไม้้ สีีม่่วง พบพื้้�นทรายที่่�ต่่อเนื่่�องกัับ

/ ไนดาเรีีย
แหล่่งหญ้้าทะเลฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

Anthozoa
Octocorallia
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ข้้าวโพดทะเล
Common Name Sea corn
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Veretillum sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ปะการัังอ่่อนไม่่มีีโครงสร้้างเป็็นหิินปููน โคโลนีี
เป็็นแท่่งทรงกระบอกสีีน้ำำ��ตาลเจริิญขึ้้�นจาก
พื้้�นทราย โพลิิปแตกออกมาจากแท่่ง พบตาม
หาดทรายทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 51
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปากกาทะเลวุ้้�น
Common Name Sea pen
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Pteroeides sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
โคโลนีีเป็็นแท่่งสีีน้ำำ�ต
� าลเจริิญขึ้้น� จากพื้น�้ ทราย แล้้ว
แตกกิ่่�งแขนงซีีกซ้้ายขวาเหมืือนปากกาขนนก
สมััยโบราณ โพลิิปแตกออกมาจากกิ่่�งนี้้� พบตาม
/ ไนดาเรีีย

หาดทรายทั้้� ง ฝั่่� ง อ่่ า วไทยและทะเลอัั น ดามัั น


ฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน
Anthozoa
Octocorallia

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปากกาทะเล
Common Name Sea pen
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Pteroeides sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
โคโลนีีเป็็นแท่่งชมพูู เจริิญขึ้้�นจากพื้้�นทราย แล้้ว
แตกกิ่่�งแขนงซีีกซ้้ายขวาเหมืือนปากกาขนนก
สมััยโบราณ โพลิิปแตกออกมาจากกิ่่�งนี้้� พบตาม
หาดทรายทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

52 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
กลุ่่�ม Anthozoa กลุ่่�มย่่อย Zoantharia
หมายถึึงสััตว์์ที่่�มีีโฟลิิบมีีหนวด 6 เส้้น
หรืือทวีีคููณของ 6

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� พรมทะเล
Common Name Sea pet
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Zoanthus pacificus
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
พรมทะเลเป็็นพวกดอกไม้้ทะเลที่่�อยู่่�รวมกัันเป็็น
โคโลนีี เจริิญขึ้้�นคลุุมวััตถุุเกาะติิด โพลิิปสีีน้ำ�ต
ำ� าล

/ ไนดาเรีีย
แยกออกเป็็นดอกเดีียว พบเกาะบนก้้อนหิินตาม
หาดทรายที่่�ต่่อเนื่่�องกัับแนวปะการัังฝั่่�งอ่่าวไทย
และทะเลอัันดามััน

Anthozoa
Zoantharia
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ดอกไม้้ทะเลปููเสฉวน
Common Name Sea anemone
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Calliactis miriam
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ดอกไม้้ทะเลขนาดเล็็ก สีีน้ำำ��ตาลม่่วง ฐานลำำ�ตััว
มีีจุุดสีีขาวอยู่่ร� อบฐาน พบเกาะบนที่่อ� าศััยอยู่่บ� น
เปลืือกหอยที่่ปูู� เสฉวนอยู่่� เขตน้ำำ�ขึ้้
� น� น้ำำ�� ลงหาดทราย
ทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 53
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ดอกไม้้ทะเลดิิน
Common Name Sea anemone
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Stichodactyla gigantea
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ดอกไม้้ทะเลขนาดใหญ่่สีีน้ำำ��ตาล หนวดเรีียวเล็็กเป็็น
เส้้นขน พบเกาะตามพื้้�นทะเลตามหาดทรายที่่�
ต่่อเนื่่�องด้้วยแนวปะการัังหรืือหญ้้าทะเลฝั่่ง� อ่่าวไทย
/ ไนดาเรีีย

และทะเลอัันดามััน
Anthozoa
Zoantharia

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ดอกไม้้ทะเลดิิน เห็็ดหลุุบ


Common Name Sea anemone
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Stichodactyla tapatum
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ดอกไม้้ทะเลขนาดใหญ่่ หนวดสั้้�นปลายพองออก
ติิดกัับตััว หนวดสีีน้ำำ�ต� าลเขีียว พบที่่�พื้้�นทรายตาม
หาดทรายที่่ต่� อ่ เนื่่�องด้้วยหญ้้าทะเลหรืือแนวปะการััง
ฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

54 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ดอกไม้้ทะเลดิิน
Common Name Sea anemone
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Anthopleura sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ดอกไม้้ทะเลขนาดเล็็ก สีีน้ำำ��ตาลลายม่่วงหนวดไม่่มีี
ลายสีีเข้้มสลัับจางตามขวาง ฝัังตััวลงในพื้้�นทราย
ใต้้เขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

/ ไนดาเรีีย
Anthozoa
Zoantharia
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ดอกไม้้ทะเลดิิน
Common Name Sea anemone
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Edwardsia sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ดอกไม้้ทะเลขนาดเล็็กสีีน้ำำ��ตาลหนวดมีีลายสีีเข้้ม
สลัับจางตามขวาง ฝัังตััวลงในพื้้�นทรายใต้้เขต
น้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 55
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ดอกไม้้ทะเลดิิน
Common Name Sea anemone
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Macrodactyla
doreensis
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ดอกไม้้ทะเลขนาดใหญ่่ สีีน้ำำ��ตาลมีีลายเส้้นสีีดำำ�ไป
ตามแนวรััศมีี ฝัังตััวลงในพื้้น� ทรายใต้้เขตน้ำำ��ขึ้้น� น้ำำ��ลง
/ ไนดาเรีีย

ฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน
Anthozoa
Zoantharia

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ดอกไม้้ทะเลดิิน
หนวดกิ่่�งไม้้
Common Name Sea anemone
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Actinodendron
arboreum
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เห็็ดทะเลจััดอยู่่�ในพวกปะการัังแต่่ไม่่มีีโครงสร้้าง
เป็็นหิินปููน โพลิิปคล้า้ ยดอกไม้้ทะเลมีีหนวดขนาดเล็็ก
รอบปาก พบเกาะบนก้้อนหิินตามหาดหิินที่่ต่� อ่ เนื่่อ� ง
กัับแนวปะการัังฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

56 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปะการัังโขด
Common Name Hump coral
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Porites lutea
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ปะการัังแข็็งโครงสร้้างเป็็นหิินปููน รููปทรงเป็็นก้้อน
ขนาดใหญ่่ พบตามหาดทรายที่่� ต่่ อ เนื่่� อ งกัั บ
แนวปะการัังฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

/ ไนดาเรีีย
Anthozoa
Zoantharia
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปะการัังวงแหวน
Common Name Ring coral
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Favia favus
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ปะการัังแข็็งโครงสร้้างเป็็นหิินปููน รููปทรงเป็็น
ก้้อน ฐานรองรัับโพลิิปเป็็น รููปวงแหวน พบตาม
หาดหิินที่่ต่� อ่ เนื่่�องกัับแนวปะการัังฝั่่ง� อ่่าวไทยและ
ทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 57
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปะการัังลายดอกไม้้
Common Name Flower coral
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Pavona sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ปะการัังแข็็งโครงสร้้างเป็็นหิินปููน รููปทรงเป็็นแผ่่น
ตั้้ง� ซ้้อนกััน ฐานรองรัับโพลิิปเป็็นรููปลายดอกไม้้ พบ
ตามหาดทรายกรวดที่่�ต่่อเนื่่�องกัับแนวปะการัังฝั่่�ง
/ ไนดาเรีีย

อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน
Anthozoa
Zoantharia

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปะการัังดอกกะหล่ำำ��
Common Name Cauliflower coral
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Pocillopora
damicornis
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ปะการัังแข็็งโครงสร้้างเป็็นหิินปููน สีีน้ำำ��ตาล โคโลนีี
มีีรููปทรงแตกกิ่่ง� พบเกาะบนก้้อนหิินตามหาดทราย
ที่่�ต่่อเนื่่�องกัับแนวปะการัังฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเล
อัันดามััน

58 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปะการัังดำำ�
Common Name Black coral
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Antipathes dichotoma
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ปะการัังดำำ�มีีแกนกลางเป็็นสารพวกเขาสััตว์์ โคโลนีี
มีีฐานเกาะแล้้วแตกแขนงเป็็นต้้นไม้้สีีเหลืือง
แกนปะการัังสีีดำำ� พบเกาะบนก้้อนหิินตามหาดหิิน

/ ไนดาเรีีย
ที่่�ต่่อเนื่่�องกัับแนวปะการัังฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเล
อัันดามััน

Anthozoa
Zoantharia
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ดอกไม้้ทะเลปลอก
Common Name Cerianthus
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Cerianthus sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ดอกไม้้ทะเลปลอก เป็็นดอกไม้้ทะเลที่่สร้ � า้ งปลอก
หุ้้�มตััวจากตะกอนในน้ำำ�ท � ะเล หนวดมีีสองวงคืือ
วงนอกเส้้นยาวและวงในเส้้นเล็็ก เจริิญขึ้้�นบน
พื้้�นทรายใต้้เขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงของหาดทรายเป็็น
เส้้นยาวเส้้นเดีียว โพลิิปสีีขาว แกนปะการัังสีีดำำ�
พบเกาะบนก้้อนหิินตามหาดหิินที่่�ต่่อเนื่่�องกัับ
แนวปะการัังฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 59
หนอนตััวแบน: Flatworms
(Phylum Platyhelminthes)

เป็็นสััตว์์ที่่�มีีเนื้้�อเยื่่�อ 3 ชั้้�นพวกแรกที่่�ไม่่มีีช่่องลำำ�ตััว ร่่างกายแบนลง ไม่่แบ่่งเป็็น


ข้้อปล้้องและมีีสมมาตรซีีกซ้้ายขวา บางชนิิดดำำ�รงชีีวิิตอย่่างอิิสระ แต่่ส่่วนมากแล้้ว
จะเป็็นพาราสิิต หนอนตััวแบนที่่�อาศััยอยู่่�ในทะเล ส่่วนมากจะอยู่่�ในกลุ่่�ม Turbellaria
ลัักษณะร่่างกายแบน ส่่วนหััวมีีหนวดเทีียมหนึ่่�งคู่่� กระเพาะอาหารแตกแขนงออกไป
ตามแผ่่นตััว บางชนิิดมีีสีีสัันสวยงามและว่่ายน้ำำ��ได้้ กิินสาหร่่ายทะเล และอิินทรีีย์์วััตถุุ
ตามพื้้�นเป็็นอาหาร มัักจะพบคืืบคลานอยู่่�ตามก้้อนหิินหรืือใต้้ก้้อนหิิน หนอนตััวแบน
ส่่วนมากจะมีีสีีสัันและลวดลายเลีียนแบบทากทะเล เพื่่�อหลอกศััตรููไม่่ให้้เข้้ามาทำำ�
อัันตราย

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หนอนตััวแบนน้ำำ��ตาลแดง
ลายขีีด
Common Name Flat worm
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Pseudobiceros bedfordi
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ตััวแบนรููปรีี ส่่วนหััวมีีหนวดเทีียม 1 คู่่� สีีตััวพื้้�น
น้ำำ��ตาลแดง สีีดำำ�และมีีจุุดสีีส้้มและสีีขาวเป็็นจุุด
ประอยู่่�ทั่่�วตััว พบคลานบนก้้อนหิินตามหาดหิิน
ฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

60 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หนอนตััวแบนสีีขาว
ขอบน้ำำ��เงิิน
Common Name Flat worm
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Pseudoceros sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ตัวั แบนรููปรีี ส่่วนหััวมีีหนวดเทีียม 1 คู่่� สีีตััวเป็็น
สีีขาว ขอบและกลางลำำ�ตััวเป็็นสีีน้ำำ��เงิิน พบคลาน

/ หนอนตััวแบน: Flatworms
บนพื้้น� ตามหาดทรายฝั่่ง� อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หนอนตััวแบนสีีดำำ�
จุุดเหลืือง
Common Name Flat worm
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Pseudobiceros
uniarborensis
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ตััวแบนรููปรีี ส่่วนหััวมีีหนวดเทีียม 1 คู่่� สีีตััว
เป็็นสีีดำำ�มีีจุุดเหลืืองประทั่่�วตััว พบคลานบนพื้�น้
ตามหาดทรายฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 61
หนอนปล้้อง : Annelids
(Phylum Annelida)

เป็็นสััตว์์ที่่�มีีช่่องว่่างในลำำ�ตััวที่่�แท้้จริิง ร่่างกายแบ่่งออกเป็็นปล้้อง แต่่ละปล้้องมีีลัักษณะคล้้าย


กัันมากทั้้�งโครงสร้้างภายในและภายนอก หายใจด้้วยเหงืือก บางชนิิดมีีรยางค์์อยู่่�ภายนอกข้้างลำำ�ตััว
ที่่�ช่่วยในการเคลื่่�อนที่่�และมีีขนตามลำำ�ตััว มีีขนาดยาวตั้้�งแต่่ ไม่่ถึึง 1 เซนติิเมตรจนถึึงกว่่า 1 เมตร
เช่่น ไส้้เดืือนทะเล บางชนิิดว่่ายน้ำำ��ได้้อย่่างอิิสระ เช่่น แม่่เพรีียง บางชนิิดสามารถสร้้างท่่อหิินปููน
เจาะฝัังเข้้าไปในก้้อนปะการัังและยื่่น� หนวดที่่เ� ป็็นฉััตรคล้้ายขนนก เช่่น หนอนดอกไม้้พู่่�ฉัตั ร บางชนิิด
นำำ�เม็็ดทรายมา สร้้างเป็็นปลอกฝัังตััวในพื้้�นทราย เช่่น หนอนท่่อ บางชนิิดนำำ�ดิินตะกอนมาสร้้าง
ปลอก เช่่น หนอนดอกไม้้ลายหางนกยููง การกิินอาหารของหนอนปล้้องจะแตกต่่างกัันไปตามลัักษณะ
การดำำ�รงชีีวิิต เช่่น พวกกิินซากพืืชซากสััตว์์ กรองกิินแพลงก์์ตอน รวมทั้้�งล่่าสััตว์์เล็็กๆเป็็นอาหาร
เป็็นต้้น สมาชิิกของหนอนปล้้อง มีีประมาณ 14,000 ชนิิด รวมไปถึึงไส้้เดืือนดิิน และปลิิงดููดเลืือด
ซึ่่�งอยู่่�ในแหล่่งน้ำำ��จืืดและบนพื้�น้ ดิินด้้วย

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� บุ้้�งทะเล
Common Name Fire worm
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Chloeia fusca
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ร่่างกายเป็็นข้้อปล้้องแต่่ละปล้้องมีีรยางค์์เป็็นขน
ขนาดใหญ่่ เมื่่�อสััมผััสจะระคายเคีียง ปวดแสบ
ปวดร้้อน ลำำ�ตััวรููปทรงกระบอกส่่วนหััวและท้้าย
เรีียงลง พบพื้้�นทรายระหว่่างก้้อนหิินของหาดหิิน
ที่่ต่� อ่ เนื่่อ� งแนวปะการัังทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

62 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หนอนท่่อ
Common Name Trumpet worm
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Lagis sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
หนอนปล้้องสร้้างท่่อจากตะกอนทราย หนวดเป็็น
แท่่งสีีเหลืืองทอง พบพื้้�นทรายของหาดทรายทั้้�ง
อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

/ หนอนปล้้อง : Annelids
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หนอนท่่อ
Common Name Spaghetti worm
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Amphitrite sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
หนอนปล้้องที่่�อาศััยอยู่่�ในท่่อที่่�สร้้างขึ้้�นเองจาก
กรวดทราย ส่่วนหััวมีีหนวดยาวใช้้จัับตะกอน
ตามพื้น�้ กิินเป็็นอาหาร พบใต้้ก้อ้ นหิินของหาดหิิน
ทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 63
หนอนถั่่�ว : Peanut worms
(Phylum Sipuncula)

เป็็นสััตว์ที่์ มีีช่
�่ อ่ งว่่างในลำำ�ตัวั ที่่แ� ท้้จริิง ร่่างกายมีีเป็็นรููปทรงกระบอกที่่มีีส่
� ว่ นท้้ายของลำำ�ตัวพ
ั องออก
คล้้ายถุุง ร่่างกายไม่่เป็็นข้้อปล้้อง ส่่วนหััวมีีงวงหรืือวงหนวดรอบปากที่่�แตกกิ่่�งก้้านคล้้ายหััวผัักกาด
งวงหรืือวงหนวดนี้้�สามารถหดเข้้าไปในลำำ�ตััว บางชนิิดมีีผิิวลำำ�ตััวเป็็นลายคล้้ายผิิวเปลืือกถั่่�วลิิสงจึึง
เรีียกหนอนพวกนี้้�ว่า่ “หนอนถั่่ว� ” พบอาศััยอยู่่�ตามพื้้น� ทรายและโคลน ใต้้ก้อ้ นหิิน รวมทั้้�งเจาะปะการััง
อาศััยอยู่่�ภายใน หนอนถั่่�วในแนวปะการัังมีีบทบาทสำำ�คััญในการช่่วยให้้หิินปููนผุุพัังได้้เร็็วขึ้้�น
มีีบางชนิิดสามารถเจาะเข้้าไปในปะการัังที่่มีีชีีวิ � ิตส่่งผลให้้ปะการัังผุุพัังลงได้้

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หนอนถั่่�ว
Common Name Peanut worm
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Siphonosoma sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ร่่างกายทรงกระบอกส่่วนหััวมีีงวง ส่่วนท้้ายพองออก
คล้้ายถุุง ผิิวลำำ�ตััวเป็็นลายคล้้ายผิิวเปลืือกถั่่วลิ
� ิสง
พบอยู่่�ซอกหิินหรืือใต้้ก้้อนหิิน ตามหาดหิินที่่�
ต่่อเนื่่�องแนวปะการัังทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

64 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
หนอนช้้อน : Spoon worms
(Phylum Echiura)

เป็็นสััตว์ที่์ มีีช่
่� อ่ งว่่างในลำำ�ตัวั ที่่แ� ท้้จริิง มีีลัักษณะคล้้ายกัับหนอนถั่่ว� ร่่างกายมีีลัักษณะเป็็นถุุงและ
ส่่วนหััวมีีงวงยื่่�นยาวออกไปหรืือวงหนวดที่่�แตกกิ่่�งก้้านแต่่ไม่่สามารถหดเข้้าไปในลำำ�ตััวได้้เหมืือน
หนอนถั่่ว� งวงมีีลัักษณะแบนและเป็็นร่่องตามยาวเพื่่�อชัักนำำ�เอาอาหารเข้้าสู่่�ปาก บางชนิิดมีีความยาว
มาก พบอาศััยอยู่่�ในทะเลตามพื้�น้ ทรายและโคลน ทุุกระดัับความลึึกและส่่วนใหญ่่จะพบในเขตร้้อน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่�น หนอนช้้อน
Common Name Spoon worm
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Bonellia sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ร่่างกายเป็็นถุุง ส่่วนหััวมีีงวงปลายแยกออกเป็็น
ซีีกซ้้ายขวา ส่่วนลำำ�ตัวพ
ั องออกเป็็นถุุง พบอยู่�ซ่ อกหิิน
หรืือใต้้ก้อ้ นหิิน ตามหาดหิินที่่ต่� อ่ เนื่่�องแนวปะการััง
ทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 65
ไบรโอซััว: Moss animals
(Phylum Bryozoa)

เป็็นกลุ่่�มสััตว์ที่์ มีีช่
่� อ่ งว่่างในลำำ�ตัวั ที่่แ� ท้้จริิงและมีีอวััยวะเฉพาะที่่เ� รีียกว่่า โลโฟฟอร์์ (Lophophore)
ลัักษณะเป็็นวงของหนวดที่่มีี� เส้้นขนสั้้�นเรีียงตััวกัันเป็็นรููปเกืือกม้้าทางด้้านหน้้าของร่่างกาย ภายใน
หนวดมีีโพรงที่่มีีช่� อ่ งลำำ�ตัวยื่่
ั น� เข้้ามาด้้วยแต่่ทวารหนัักเปิิดอยู่่น� อกวงเป็็นสััตว์ที่์ เ่� กาะติิดกัับที่่� ส่่วนใหญ่่
อาศััยอยู่่�รวมกัันเป็็นโคโลนีี โดยเกาะติิดกัับวััตถุุแข็็งใต้้น้ำำ�� เช่่น ก้้อนหิิน สาหร่่าย ฟองน้ำำ�� ปะการััง
เป็็นต้้น ไบรโอซััวอาศััยอยู่่�ตั้้�งแต่่บริิเวณเขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงชายฝั่่�งทะเลจนถึึงทะเลลึึก

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ไบรโอซััวร่่ม
Common Name Moss animal
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Caulibugula sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
โคโลนีีเป็็นก้้านปลายแตกแขนงในแนวรััศมีีคล้้าย
ร่่ม สีีน้ำำ��ตาล พบบนพื้้น� ทรายทั้้�งอ่่าวไทยและทะเล
อัันดามััน

66 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ไบรโอซััวกิ่่�ง
Common Name Moss animal
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Reteporella sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
โคโลนีีเป็็นต้้นแตกกิ่่�งซ้้ายขวาในแนวนอน พบใต้้
ก้้อนหิินหรืือซากปะการัังทั้้�งอ่่าวไทยและทะเล
อัันดามััน

ไบรโอซััว: Moss animals


ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ไบรโอซััววุ้้�น
Common Name Gelatinous bryozoa
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Amathia sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
โคโลนีีเป็็นเส้้นใสแตกแขนงรวมกัันเป็็นกระจุุก
พบบนพื้้น� ทรายหรืือซากปะการัังทั้้�งอ่่าวไทยและ
ทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 67
หนอนเกืือกม้้า: Phoronids
(Phylum Phoronida)

หนอนเกืือกม้้าเป็็นกลุ่่�มสััตว์์โลโฟฟอร์์เลตกลุ่่�มเล็็ก มีีจำำ�นวนสมาชิิกทั้้�งหมด 17 ชนิิด ร่่างกายมีี


ลัักษณะคล้้ายหนอนอาศััยอยู่่�ในปลอก ส่่วนหััวจะเป็็นโลโฟฟอร์์ที่่�มีีลัักษณะเป็็นเส้้นขนเรีียงเป็็นวง
จำำ�นวน 1 คู่่� พบอาศััยอยู่่�เฉพาะในทะเลทั้้�งหมด และมัักจะอาศััยอยู่่�ร่่วมกัับสััตว์์อื่่�นๆ เช่่น ฟองน้ำำ��
หรืือดอกไม้้ทะเลปลอก

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หนอนเกืือกม้้า
Common Name Horseshoe worm
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Phoronis australis
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ส่่วนลำำ�ตััวทรงกระบอกฝัังในพื้�น้ ทราย ยื่่�นส่่วนหััว
ที่่�เป็็นก้้านตรงปลายมีีโลโฟฟอร์์ที่่�มีีลัักษณะเป็็น
เส้้นขนเรีียงเป็็นวงจำำ�นวน 1 คู่่� พบบนพื้้�นทราย
ร่่วมกัับ ดอกไม้้ทะเลปลอกทั้้�งอ่่าวไทยและทะเล
อัันดามััน

68 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
หอยปากเป็็ด หอยราก: Lamp shell
(Phylum Brachiopoda)

หอยปากเป็็ดเป็็นกลุ่่�มสััตว์์โลโฟฟอร์์เลตกลุ่่�มเล็็กซึ่่�งไม่่ใช่่สััตว์์จำำ�พวกหอย (Mollusca) แต่่มีี


เปลืือก 2 ฝา ลัักษณะคล้้ายคลึึงกัับหอยกาบคู่่� เปลืือกมีีสีีเขีียวอมน้ำำ��ตาลคล้้ายหอยแมลงภู่่� พบอาศััย
ฝัังตััวอยู่่�ในบริิเวณชายฝั่่�งทะเลที่่�เป็็นทรายปนเลน โดยใช้้ส่่วนอวััยวะที่่�เรีียกว่่ารากเป็็นท่่อนเอ็็นยาว
คล้้ายหางช่่วยในการเคลื่่�อนที่่�ฝัังตััวลงในพื้้�นทราย อาศััยตามพื้�น้ ท้้องทะเลชายฝั่่�งตื้้�น ๆ ที่่�เป็็นโคลน
แข็็งหรืือโคลนเลน กิินอาหารจำำ�พวกไดอะตอม, แพลงตอนพืืช และแพลงตอนสััตว์บ์ างชนิิด สามารถ
ใช้้ปรุุงเป็็นอาหารได้้

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยปากเป็็ด หอยราก


Common Name Lamp shell
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Lingula anatina
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ร่่างกายมีีลัักษณะแบ่่งออกเป็็น 2 ส่่วนคืือ ส่่วน
ลำำ�ตััวคล้้ายหอยฝาคู่่�สีีเขีียว ส่่วนท้้ายเปลืือก
จะมีีรากไว้้สำำ�หรัับฝัังตััว โลโฟฟอร์์มีีลัักษณะ
เรีียงเป็็นวงจำำ�นวน 1 คู่่�อยู่่�ในเปลืือก พบบน
พื้้�นทรายทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 69
หอยและหมึึก
(Phylum Mollusca)

เป็็นสััตว์์ไม่่มีีกระดููกสัันหลัังกลุ่่�มใหญ่่รองลงมาจากพวกอาร์์โทรพอด มีีสมาชิิกประมาณ 100,000


ชนิิดและมีีไม่่น้้อยกว่่า 35,000 ชนิิดที่่�เป็็นซากดึึกดำำ�บรรพ์์ (Fossils) มีีลัักษณะสำำ�คััญคืือ ร่่างกายอ่่อนนิ่่�ม
ไม่่แบ่่งเป็็นข้้อปล้้อง ส่่วนใหญ่่มีีการสร้้างเปลืือกจำำ�พวกหิินปููนห่่อหุ้้�มลำำ�ตััวไว้้ พบอาศััยอยู่่�ทั้้�งในทะเล
แหล่่งน้ำำ�จื
� ดื และบนบก ดำำ�รงชีีวิิตอย่่างอิิสระ มีีลัักษณะการกิินอาหารหลากหลายรููปแบบ เช่่น ขููดอาหาร
กิินตามพื้น้� ล่่าสััตว์อื่่์ น� เป็็นอาหาร กรองกิินแพลงก์์ตอนที่่ล่� อ่ งลอยในน้ำำ�� เป็็นต้้น หอยและหมึึกนัับเป็็นสััตว์์
ที่่มีีคว
� ามสำำ�คัญท ั างเศรษฐกิิจที่่นำ� ำ�มาบริิโภคเป็็นอาหารทะเลจำำ�นวนมาก นอกจากนี้้�ยังั นำำ�มาทำำ�เป็็นเครื่่�อง
ประดัับ ของตกแต่่ง เป็็นต้้น
หอยและหมึึก ถููกจััดจำำ�แนกออกได้้เป็็น 6 กลุ่่�มใหญ่่ ด้้วยกัันคืือ กลุ่่�มหอยฝาชีีโบราณ (Classs
Monoplacophora) กลุ่่�มลิ่่�นทะเล (Class Polyplacophora) กลุ่่�มหอยงาช้้าง (Class Scaphopoda)
กลุ่่�มหอยฝาเดีียว (Class Gastropoda) กลุ่่�มหอยฝาคู่่� (Class Bivalvia หรืือ Pelecypoda) และ
กลุ่่�มหมึึกและหอยงวงช้้าง (Cephalopoda) สำำ�หรัับหอยและหมึึกที่่พ� บในระบบนิิเวศหาดหิินนั้้น� จะพบ
พวกลิ่่น� ทะเล หอยฝาเดีียว หอยฝาคู่่� ดัังนี้้�
กลุ่่�มหอยฝาเดีียว (Class Gastropoda, Phylum Mollusca) ร่่างกายมีีเปลืือกเวีียนเป็็นเกลีียว
ส่่วนหััวเจริิญดีี มีีตาและหนวด กล้้ามเนื้้�อเท้้าแผ่่แบนขยายออกใช้้ในการเคลื่่�อนที่่� บางชนิิดไม่่มีีเปลืือก
เป็็นพวกที่่�มีีสีีสัันสดใส สะดุุดตา เช่่น กระต่่ายทะเล (Sea slug) และทากเปลืือย (Nudibranch)
หอยฝาเดี่่ย� วจััดเป็็นกลุ่่�มที่่มีีส� มาชิิกที่่มีีคว
� ามหลากหลายทางชนิิดมากที่่สุ� ดุ และมีีความสำำ�คัญท ั างเศรษฐกิิจ
มากที่่�สุุดด้้วย

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยวงเวีียน
Common Name Clear sundial
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Architectonic
perspectiva
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกรููปจาน กลมแบน เปลืือกเป็็นท่่ออุุโมงค์์
เวีียนรอบจุุดศููนย์์กลางสีีน้ำำ��ตาลลายประสีีแดง และ
เส้้นทึึบสีีดำำ�ขาว พบบนพื้้น� ทรายใต้้เขตน้ำำ��ขึ้้น� น้ำำ��ลง
ทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

70 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยปากมััน
Common Name Dog whelks,
Black nassa
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Nassarius sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกเป็็นเกลีียวเวีียนสููง ทรงเจดีีย์์ฐานกว้้าง
สีีน้ำำ��ตาล เปลืือกเป็็นร่่องเรีียงตามยาวของเปลืือก

/ หอยและหมึึก
แบน พบตามเขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทยและ
ทะเลอัันดามััน

/ กลุ่่�มหอยฝาเดีียว
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยจุ๊๊�บแจง
Common Name Torres cerith
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Cerithium obeliscus
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกเป็็นเกลีียวเวีียน ทรงกรวยสููงสีีน้ำำ��ตาล
เปลืือกมีีปุ่่�มใหญ่่เรีียงเป็็นวงรอบเปลืือก พบตาม
เขตน้ำำ��ขึ้้น� น้ำำ��ลงทั้้�งฝั่่ง� อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 71
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยเจดีีย์์
Common Name Auger snail
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Hastula sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกเป็็นเกลีียวเวีียนสููง ทรงเจดีีย์์ฐานกว้้าง
สีีน้ำำ��ตาล เปลืือกเป็็นร่่องเรีียงตามยาวของเปลืือก
พบตามเขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเล
/ หอยและหมึึก

อัันดามััน
/ กลุ่่�มหอยฝาเดีียว

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยกระต่่าย
Common Name Grey bonnet
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Phalium glaucum
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกรููปไข่่สีีน้ำำ��ตาล เกลีียวเวีียนสั้้�นรููปเจดีีย์์
ยอดเวีียนแหลม ขอบเปลืือกมีีหนาม 3 อััน
เท้้าเจริิญดีี หอยผู้้�ล่่าเม่่นหััวใจเป็็นอาหาร พบใน
เขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงของหาดทรายถึึงทรายปนโคลน
ฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

72 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยกระดุุม
Common Name Olive shell
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Oliva oliva
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกรููปกระสวย เปลืือกหนา ผิิวเรีียบ เป็็นมััน
สีีน้ำำ��ตาลอ่่อน ลวดลายสีีเข้้มสลัับจาง เกลีียวเวีียน
ต่ำำ��ปลายเวีียนแหลม พบใต้้เขตน้ำำ�ขึ้้ � �นน้ำำ��ลงทั้้�งฝั่่�ง

/ หอยและหมึึก
อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

/ กลุ่่�มหอยฝาเดีียว
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยเจดีีย์์ลาย
Common Name Needle pyram
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Longchaeus acus
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกทรงเจดีีย์์สููง สีีขาว มีีรอยขีีดหนาสีีน้ำำ�ต
� าลเข้้ม
ไม่่ต่อ่ เนื่่อ� งไปตามความยาวเปลืือก พบค่่อนข้้างยาก
ใต้้เขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงหาดทรายทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทยและ
ทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 73
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยมวนพลูู
Common Name Auger shell
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Terebra sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกทรงเจดีีย์์สููง สีีขาวสลัับส้้ม มีีร่่องต่่อเนื่่�องไป
ตามความยาวเปลืือก พบค่่อนข้้างยากใต้้เขตน้ำำ��ขึ้้�น
น้ำำ��ลงของหาดทรายทั้้�งฝั่่ง� อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน
/ หอยและหมึึก
/ กลุ่่�มหอยฝาเดีียว

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยสัังข์์จุุกพราหมณ์์
Common Name Noble Volute
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Cymbiola nobilis
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกรููปไข่่ หนา สีีน้ำำ��ตาลอ่่อน มีีลายเส้้นสีีน้ำำ��ตาล
เข้้มรููปฟัันปลาอยู่่ร� อบเปลืือก ยอดเวีียนเป็็นจุุกกลม
เท้้าและท่่อน้ำำ��มีีขนาดใหญ่่สีีดำำ�ลายวงสีีเหลืือง เป็็น
หอยผู้้�ล่า่ และแปรรููปเป็็นอาหารได้้ พบใต้้เขตน้ำำ�ขึ้้ � น�
น้ำำ�� ลงของหาดทรายทั้้ง� ฝั่่ง� อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

74 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยสัังข์์ขวาน
Common Name Spiral melongina
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Pugilina cochlidium
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกใหญ่่ หนา สีีน้ำำ��ตาลแดง เปลืือกทรงเหลี่่ย� ม
มีีตุ่่�มโดยรอบ ล่่าหอยฝาคู่่เ� ป็็นอาหารพบใต้้เขตน้ำำ�ขึ้้
� น�
น้ำำ��ลงหาดทรายทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

/ หอยและหมึึก
/ กลุ่่�มหอยฝาเดีียว
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยชัักตีีน
Common Name Dilate conch
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Strombus dilatatus
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกรููปไข่่ หนา สีีน้ำำ��ตาล เปลืือกมีีปีีกแผ่่ขยาย
ออกไป ยอดเวีียนเรีียวแหลม เป็็นหอยผู้้�ล่่าและ
แปรรููปเป็็นอาหารได้้พบใต้้เขตน้ำำ�ขึ้้ � น� น้ำำ�� ลงของ
หาดทรายทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 75
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยถั่่�วเขีียว
Common Name Dubious nerite
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Clithon oulaniensis
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกรููปไข่่ หนา ขนาดเล็็ก สีีพื้น้� เขีียว และมีีลวดลาย
สีีสัันสวยงาม พบบนใบหญ้้าทะเลในเขตน้ำำ��ขึ้้น� น้ำำ��ลง
ของหาดทรายต่่อเนื่่�องแหล่่งหญ้้าทะเลทั้้�งฝั่่ง� อ่่าวไทย
/ หอยและหมึึก

และทะเลอัันดามััน
/ กลุ่่�มหอยฝาเดีียว

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยทัับทิิม
Common Name Button top shell
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Umbonium vestiarium
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกกลมแบน รููปจานคว่ำำ�� ยอดเวีียนสั้้�นเตี้้�ย
เปลืือกหลากสีีและลวดลาย พบตามหาดทรายถึึง
ทรายปนโคลนเขตน้ำำ��ขึ้้น� น้ำำ��ลงของหาดทรายทั้้�งฝั่่ง�
อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

76 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยม่่วง
Common Name Glass bubble shell
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Janthina prolongata
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกทรงกลม สีีม่่วง ยอดเวีียนสั้้�น เมื่่�อตััวเมีีย
วางไข่่จะสร้้างทุ่่�นลอยให้้ตััวลอยขึ้้น� ไปที่่ผิ� ิวน้ำำ�� พบ
เป็็นซากเกยหาดทรายทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเล

/ หอยและหมึึก
อัันดามััน

/ กลุ่่�มหอยฝาเดีียว
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยพระจัันทร์์
Common Name Moon snail
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Polinices mammilla
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกรููปไข่่ สีีขาว ยอดเวีียนสั้้�น เป็็นหอยผู้้�ล่่า
พบใต้้เขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงหาดทรายทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทย
และทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 77
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยตาไก่่
Common Name Moon snail
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Natica fasciata
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกรููปไข่่ สีีขาวสลัับน้ำำ��ตาล ยอดเวีียนสั้้�น
เป็็นหอยผู้้�ล่่า พบใต้้เขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงของหาดทราย
ทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน
/ หอยและหมึึก
/ กลุ่่�มหอยฝาเดีียว

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยตะกาย
Common Name Tiger moon snail
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Natica tigrina
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกรููปไข่่ สีีขาวมีีจุุดน้ำำ�ต
� าลลายประ เป็็นหอย
ผู้้�ล่่าและแปรรููปเป็็นอาหารได้้ พบเขตน้ำำ�ขึ้้
� �นน้ำำ�� ลง
ของหาดทรายทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

78 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� กระต่่ายทะเลสีีเขีียว
Common Name Sea Hare
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Elysia ornata
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ทากทะเลเปลืือกบาง สีีเขีียว ลำำ�ตััวมีีจุุดวงกลม
สีีดำำ�กระจายอยู่่�ทั่่�วตััว กิินสาหร่่ายทะเลตามพื้้�น
เป็็นอาหาร พบตามพื้้น� ทรายหรืือก้้อนกรวดน้ำำ��ขึ้้น�

/ หอยและหมึึก
น้ำำ��ลงของหาดทรายฝั่่ง� อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

/ กลุ่่�มหอยฝาเดีียว
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ทากทะเลสีีขาว
จุุดน้ำำ��เงิินเหลืือง
Common Name Nudibranch
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Hypselodoris kanga
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ทากเปลืือยรููปร่่างก้้อนหนายาวรีี ลำำ�ตััวสีีขาวมีี
จุุดสีีน้ำำ��เงิินและสีีเหลืืองกระจายอยู่่�ทั่่�วตััว กิิน
ฟองน้ำำ��ทะเลเป็็นอาหาร พบใต้้เขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลง
ของหาดทรายอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 79
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ทากเปลืือย
Common Name Nudibranch
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Hypselodoris tryoni
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ทากเปลืือยรููปร่่างก้้อนหนายาวรีี สีีเหลืืองลายจุุด
สีีม่่วงขอบสีีม่่วง ช่่อเหงืือกอยู่่�ด้้านท้้ายตััว พบบน
ก้้อนหิินใต้้เขตน้ำำ��ขึ้้น� น้ำำ��ลงของหาดหิินและหาดทราย
/ หอยและหมึึก

ฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน
/ กลุ่่�มหอยฝาเดีียว

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ทากเปลืือยลายเส้้น
Common Name Nudibranch
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Armina sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ทากเปลืือยรููปร่่างยาวรีี สีีดำำ�มีีลายเส้้นสีีเขีียวยาว
ไปตลอดตััว ด้้านหน้้ามีีหนวด 1คู่่� ช่่อเหงืือกลดรููป
เห็็นไม่่ชััดเจน กิินปากกาทะเลและปะการัังอ่่อน
เป็็นอาหาร พบบนพื้น้� ใต้้เขตน้ำำ��ขึ้้น� น้ำำ��ลงหาดทราย
ฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

80 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
กลุ่่�มหอยงาช้้าง (Tusk shell, Tooth shell, Class Scaphopoda) ) เปลืือกมีีลัักษณะเป็็นหลอดกลม
ยาว โคนใหญ่่ ปลายเล็็ก โค้้งเล็็กน้้อยคล้้ายงาช้้าง มีีช่่องเปิิดที่่ป� ลายทั้้�งสองด้้าน เปลืือกมีีหลายสีี เช่่น สีีขาว ครีีม
เขีียวอ่่อน ชมพููอ่่อนตามแต่่ชนิิด บางชนิิดมีีผิิวเปลืือกเรีียบเป็็นมััน ไม่่มีีลาย บางชนิิดมีีสัันบางๆ ตามความยาว
ของเปลืือก ตััวหอยยาวตามลัักษณะเปลืือก หััวเล็็ก ไม่่มีีตา มีีหนวดจำำ�นวนมากอยู่่�รอบช่่องปาก ในช่่องแมนเทิิล
ไม่่มีีเหงืือก สมาชิิกมีีประมาณ 1,000 ชนิิด อาศััยตามพื้้�นท้้องทะเลที่่�เป็็นกรวด ทราย ทรายปนโคลนและโคลน
เหลว ตั้้�งแต่่เขตชายฝั่่�งไปจนถึึงท้้องทะเลลึึก โดยฝัังตััวอยู่่�ใต้้พื้้�น กิินอาหารจำำ�พวกสิ่่�งมีีชีีวิิตขนาดเล็็ก ที่่�อยู่่�ตาม
พื้้�น และสารอิินทรีีย์์ที่่�อยู่่�ตามโคลนและทราย

/ หอยและหมึึก
/ กลุ่่�มหอยงาช้้าง
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยงาช้้างสีีขาว
Common Name Tusk shell
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Dentalium aprinum
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกเป็็นหลอดกลมยาว เรีียวโค้้งเล็็กน้้อย ปลาย
เปิิดทั้้�งสองด้้านไม่่เท่่ากััน สีีขาว พบเป็็นซากเกย
หาดทรายทางภาคใต้้ของประเทศไทยทั้้�งฝั่่�งอ่่าว
ไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 81
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

กลุ่่�มหอยฝาคู่่� (Bivalvias หรืือ Pelecypoda) ร่่างกายมีีเปลืือกเป็็นฝา 2 ชิ้้�นประกบกััน ห่่อหุ้้�มอวััยวะ


ภายในไว้้ ไม่่มีีหัวั ขากรรไกรและลิ้้�นขููดอาหาร มัักจะพบเกาะอยู่่�กัับที่่�หรืือฝัังตััวอยู่่�ตามพื้�น้ ทะเล กิินอาหารโดย
การกรอง สมาชิิกหอยฝาคู่่�มีีประมาณ 30,000 ชนิิด และส่่วนมากเป็็นสััตว์น้ำ์ ำ��เศรษฐกิิจนำำ�มาแปรรููปเป็็นอาหาร
และสััตว์์เลี้้�ยงสวยงามได้้
/ หอยและหมึึก

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยแครงพััด
/ กลุ่่�มหอยฝาคู่่�

Common Name Scallop


ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Mimachlamys
cloacata
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกรููปร่่างคล้้ายใบหููมนุุษย์์ สีีน้ำำ��ตาล ฝาทั้้�ง
สองข้้างเป็็นเปลืือกหนาแข็็ง ไม่่มีีฟัันที่่�บานพัับ
ของเปลืือก เปลืือกเป็็นร่่องเล็็กเรีียงตามความยาว
เปลืือก นำำ�มาแปรรููปเป็็นอาหารได้้ พบฝัังตััวใน
พื้้�นทรายถึึงโคลนปนทราย เขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลง
ของหาดทรายฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

82 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยหััวใจ
Common Name Heart cockle
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Vepricardium sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฝาทั้้�งสองข้้างเป็็นเปลืือกหนาแข็็ง สีีขาว ประกบ
กัันเป็็นรููปหััวใจ เปลืือกมีีร่่องตามความยาวเปลืือก
และมีีหนามตามความยาวร่่ อ ง พบฝัังตัั ว ใน
พื้้�นทรายถึึงโคลนปนทราย เขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงของ

/ หอยและหมึึก
หาดทรายฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

/ กลุ่่�มหอยฝาคู่่�
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยขวาน
Common Name White hammer
oyster
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Malleus albus
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
จััดอยู่่ใ� นพวกหอยนางรม ฝาทั้้�งสองข้้างเป็็นเปลืือก
หนาแข็็ง บานพัักมีีปีีกแตกออกไปคล้้ายขวาน
ของนัักธรณีีวิิทยา ฝาด้้านในมีีชั้้�นมุุก พบฝัังตััว
ในพื้้�นทรายถึึงโคลนปนทรายของหาดทราย
ฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 83
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยจอบ
Common Name Bicolor pen shell
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Pinna bicolor
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกทรงกรวยแบน ปลายเรีียวเล็็กแล้้วบานออกมา
หนาแต่่แตกได้้ง่า่ ย ฝาด้้านในมีีชั้้�นมุุก นำำ�มาแปรรููป
เป็็นอาหารได้้แต่่ต้้องระวัังความเป็็นพิิษ พบปัักใน
/ หอยและหมึึก

พื้้�นทรายถึึงโคลนปนทราย เขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงของ
หาดทรายฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน
/ กลุ่่�มหอยฝาคู่่�

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หอยหลอด
Common Name Razor Clam
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Solen strictus
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ฝาทั้้�งสองข้้างเป็็นแท่่งยาวแบน สีีน้ำำ��ตาล นำำ�มา
แปรรููปเป็็นอาหารได้้ พบฝัังตััวในพื้้น� ทรายถึึงโคลน
ปนทราย เขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงของหาดทรายของ
ฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

84 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
กลุ่่�มหมึึกและหอยงวงช้้าง (Class Cephalopoda, Phylum Mollusca) จััดเป็็นกลุ่่�มที่่มีี� การวิิวัฒ ั นาการ
สููงที่่�สุุดมีีรููปร่่างแตกต่่างไปจากหอยในกลุ่่�มอื่่�นๆ มีีส่่วนหััวเจริิญดีี มีีตาขนาดใหญ่่ใช้้มองภาพได้้ กล้้ามเนื้้�อเท้้า
พััฒนาเป็็นหนวดที่่�มีีปุ่่�มดููดเรีียงรายรอบปาก มีีถุุงเก็็บหมึึกไว้้ในลำำ�ตัวั เพื่่�อใช้้พ่น่ อำำ�พรางตััวจากศััตรูู มีีจะงอยปาก
แข็็งแรงคล้้ายปากนกแก้้ว มีีกล้้ามเนื้้�อแข็็งแรงช่่วยในการว่่ายน้ำำ��ได้้อย่่างรวดเร็็ว โดยอาศััยการดููดน้ำำ��เข้้าไปภายใน
ลำำ�ตััว แล้้วอาศััยการหดตััวของกล้้ามเนื้้�อทำำ�ให้้น้ำำ��พุ่่�งออกมาทางท่่อน้ำำ��ที่่�อยู่่�ใต้้ส่ว่ นหััว หมึึกส่่วนใหญ่่เป็็นสััตว์์ที่่�
ล่่าสััตว์อื่่์ น� เป็็นอาหาร เช่่น ลููกปลา หรืือปลาขนาดเล็็กๆ เป็็นต้้น หมึึกจััดว่่าเป็็นสััตว์ที่์ มีีคว
่� ามสำำ�คัญท ั างเศรษฐกิิจ
มาก เนื่่�องจากเป็็นอาหารทะเลที่่มีีคุ � ณุ ค่่าทางโปรตีีนสููงและเป็็นที่่นิ� ยิ มบริิโภคของประชาชนโดยทั่่�วไป หมึึกกล้้วย
และหมึึกกระดองสามารถว่่ายน้ำำ��ได้้อย่่างอิิสระ บางชนิิดชอบคืืบคลานอยู่่�ตามพื้้�น เช่่น หมึึกสายหรืือหมึึกยัักษ์์
ส่่วนในพวกหอยงวงช้้าง จะมีีจำำ�นวนหนวดมากกว่่า มีีเหงืือก 4 อััน ไม่่มีีถุุงเก็็บน้ำำ�� หมึึก มีีเปลืือกที่่มีีลั � ักษณะขด

/ หอยและหมึึก
เป็็นวงคล้้ายงวงช้้าง ภายในมีีช่่องที่่คว � บคุุมน้ำำ�� และก๊๊าซเพื่่อ� ช่่วยในการทรงตััว หอยงวงช้้างออกหากิินในเวลากลางคืืน

/ กลุ่่�มหมึึกและหอยงวงช้้าง
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หมึึกยัักษ์์ หมึึกสาย
Common Name Octopus
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Octopus sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
หมึึกยัักษ์์สีีน้ำำ��ตาลลาย มีีหนวดแปดเส้้นรอบปาก
พบอาศััยอยู่่�ตามโพรงรููพื้น้� ท้้องทะเล สีีตััวสามารถ
ปรัับเพื่่�อพรางตััวเข้้ากัับสภาพแวดล้้อมได้้ เป็็น
ผู้้�ล่่า พบบนก้้อนหิินเขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงของหาดหิิน
อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 85
อาร์์โทรพอด : Arthropods
(Phylum Arthropoda)

เป็็นสััตว์ก์ ลุ่่�มใหญ่่ที่สุ่� ดุ ในอาณาจัักรสััตว์์ มีีสมาชิิกรวมกัันประมาณ 1 ล้้านชนิิดหรืือ 80 เปอร์์เซ็็นต์์


จากจำำ�นวนสััตว์์ทั้้�งหมด ร่่างกายแบ่่งออกเป็็นส่่วนหััว ทรวงอกและส่่วนท้้อง โดยบางกลุ่่�มอาจมีีการ
เชื่่�อมรวมกัันของส่่วนหััวและทรวงอกเข้้าด้้วยกััน (Cephalothorax) มีีเปลืือกแข็็งหุ้้�มลำำ�ตัวั รยางค์์
ขาเป็็นข้้อปล้้อง มีีการเจริิญเติิบโตโดยการลอกคราบ เมื่่�อลอกคราบใหม่่ๆ เปลืือกที่่หุ้้�� มตััวจะอ่่อนนุ่่�ม
และไม่่สามารถป้้องกัันตััวเองได้้ ดัังนั้้�นสััตว์ก์ ลุ่่�มนี้้�ในช่่วงการลอกคราบจะต้้องหาที่่ป� ลอดภััยเพื่่�อซ่่อน
ตััวจากศััตรููจะมาทำำ�ร้า้ ยหรืือกิินเป็็นอาหาร อาร์์โทรพอดส่่วนมากมีีขนาดเล็็กอีีกทั้้�งใช้้ชีีวิิตหลบซ่่อน
ตามพื้้น� และออกหากิินในเวลากลางคืืน อาร์์โทรพอดที่่เ� ราพบมากจะเป็็นกลุ่่�มครััสเตเซีียน (Subphylum
Crustacea) ส่่วนมากจะอยู่่ใ� นพวกเดคาพอด (Decapods) หรืือสััตว์ที่์ มีี�่ ขาสิิบขา ได้้แก่่ กุ้้�งชนิิดต่่าง ๆ
กุ้้�งมัังกร กั้้ง� และปูู สััตว์เ์ หล่่านี้้มั� กั จะหลบซ่่อนตััวอยู่่�ตามซอกหิิน ใต้้ก้อ้ นหิินในเวลากลางวััน ออกหากิิน
ช่่วงเวลากลางคืืน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� แมงดาจาน
แมงดาทะเลหางเหลี่่ย� ม
Common Name Horseshoe crab
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Tachypleus gigas
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกรููปเกืือกม้้า ส่่วนท้้องพัับงอได้้ หางเป็็น
รููปสามเหลี่่�ยมยาว แมงดาทะเลสามารถนำำ�มา
บริิโภคได้้ พบอยู่่�ในและใต้้เขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงทั้้�ง
อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

86 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� กุ้้�งเต้้น
Common Name Amphipod
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Cymadusa sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
แอมฟิิพอดเป็็นครััสเตเซีียนที่่ไ� ม่่มีีกระดอง ร่่างกาย
แบนข้้าง ส่่วนหลัังโค้้ง ขาเดิินมีี 4 ขา ขาคู่่�สุุดท้้าย
จะยาวที่่สุ� ดุ เป็็นขากระโดด ตาเจริิญดีี กิินสาหร่่าย

/ อาร์์โทรพอด
เป็็นอาหาร พบอยู่่�ในเขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงทั้้�งอ่่าวไทย
และทะเลอัันดามััน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� กุ้้�งตาบอด
Common Name Blind shrimp
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Alpheus sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
กุ้้�งตาบอดกัับปลาบู่่�มัักจะอาศััยอยู่่�ร่่วมกัันใน
หาดทราย โดยกุ้้�งจะทำำ�หน้้าที่่�ขุุดรููให้้ปลาบู่่�
อาศััยอยู่่� ปลาบู่่จ� ะทำำ�หน้้าที่่ค� อยระวัังภััยให้้ พบ
ตามพื้้�นทรายของชายหาดฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเล
อัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 87
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� กุ้้�งดีีดขััน
Common Name Alpheus shrimp
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Alpheus sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
รููปร่่างแบนข้้าง ส่่วนหััวรวมกัับส่่วนอกและมีีกระดอง
ปกคลุุม ก้้ามมีีขนาดไม่่เท่่ากััน พบตามซอกหิินหรืือ
ใต้้ก้อ้ นหิินในเขตน้ำำ��ขึ้้น� น้ำำ��ลงของหาดทรายอ่่าวไทย
/ อาร์์โทรพอด

และทะเลอัันดามััน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� กุ้้�งพยาบาล
Common Name Cleaner shrimp
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Urocaridella
pulchella
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
กุ้้�งพยาบาลมีีสีีใสจะเห็็นเพีียงลวดลายสีีแดงและ
ขาวบนหลัังตััว พบตามถ้ำำ��โพรงใต้้ก้้อนหิินเขต
น้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงของชายหาดฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเล
อัันดามััน

88 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปููเสฉวนบก
Common Name Land hermit crab
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Coenobita sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ปููเสฉวนเป็็นปููพวกAnomura ที่่�ปล้อ้ งท้้องยัังไม่่ได้้
ลดรููปเป็็นจัับปิ้้�ง แต่่อ่่อนนุ่่�มจึึงต้้องอาศััยเปลืือก
หอยป้้องกัันตััว ปููเสฉวนชนิิดนี้้�มีีรููปร่่างใหญ่่
ก้้านตายาวและแข็็งแรง ช่่วงน้ำำ��ขึ้้�นจะหลบซ่่อน

/ อาร์์โทรพอด
ตามร่่มใบหญ้้าเหนืือเขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลง เมื่่�อน้ำำ��ลง
จึึงออกมาหาอาหาร พบตามชายหาดหิินอ่่าวไทย
และทะเลอัันดามััน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปููเสฉวนน้ำำ��
Common Name Hermit crab
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Dardanus
pedunculatus
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ปููเสฉวนเป็็นปููพวก Anomura ที่่ปล้ � ้องท้้องยััง
ไม่่ได้้ลดรููปเป็็นจัับปิ้้�ง แต่่อ่่อนนุ่่�มจึึงต้้องอาศััย
เปลืือกหอยป้้องกัันตััว ปููเสฉวนชนิิดนี้้มีีรููปร่
� า่ งใหญ่่
ก้้านตายาวและแข็็งแรง ก้้ามและขาเดิินมีีขน
ปกคลุุม พบตามซอกหิินใต้้เขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงของ
หาดทรายทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 89
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปููเสฉวนน้ำำ��
Common Name Hermit crab
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Dardanus sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ปููเสฉวนชนิิดนี้้�มีีรููปร่่างเล็็ก ก้้านตายาวสีีขาวและมีี
ลายคาดสีีเข้้ม 3 เส้้นตามความยาวก้้านตา ก้้ามและ
ขาเดิินมีีขนปกคลุุม พบตามพื้้�นทรายใต้้เขตน้ำำ��ขึ้้�น
/ อาร์์โทรพอด

น้ำำ��ลงของหาดทรายทะเลฝั่่�งอ่่าวไทยและอัันดามััน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปููตััวแบน
Common Name Flatten crab
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Pachycheles sculptus
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ปููพวก Anomura ที่่�ปล้้องท้้องลดรููปเป็็นจัับปิ้้�ง
กระดองค่่อนข้้างกลมแบน กระดองสีีน้ำำ��ตาล
มีีเส้้นสีีขาวพาดจากส่่วนหน้้าถึึงท้้ายกระดอง
ก้้ามสีีน้ำำ��ตาลเข้้มปลายก้้ามสีีขาว พบเขตน้ำำ��ขึ้้�น
น้ำำ��ลงของหาดทรายอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

90 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปููหนุุมาน
Common Name Moon crab
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Ashtoret lunaris
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ปููแท้้พวก Brachyura ที่่�ปล้้องท้้องลดรููปเป็็นจัับปิ้้�ง
กระดองกลมแบน สีีเหลืืองอ่่อน ขาเดิินแบนเป็็น
ใบพายใช้้ในการฝัังตััวและว่่ายน้ำำ�� พบตามชายหาดทราย

/ อาร์์โทรพอด
ฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปููลม
Common Name Horn-eyed ghost crab
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Ocypode
ceratophthalmus
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ปููแท้้ กระดองรููปเหลี่่�ยมโค้้งมน สีีน้ำำ��ตาล ก้้านตา
ยาว ตาส่่วนบนมีีก้้านคล้้ายหนวด ขาเดิินเรีียวยาว
วางตััวเข้้ากัับสิ่่ง� แวดล้้อมได้้ดีี พบตามชายหาดทราย
ฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 91
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� จั๊๊�กจั่่�นทะเล
Common Name Mole crab, Sand crab
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Emerita emeritus
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ปููพวก Anomura ที่่�ปล้้องท้้องลดรููปเป็็นจัับปิ้้�ง
กระดองกลมรีี กระดองสีีน้ำำ��ตาล ก้้านตายาว
พบเขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงของหาดทรายที่่�ปะทะคลื่่�นลม
/ อาร์์โทรพอด

ค่่อนข้้างแรงฝั่่ง� ทะเลทั้้�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� จั๊๊�กจั่่�นทะเล
Common Name Mole crab, Sand crab
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Hippa adactyla
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ปููพวก Anomura ที่่�ปล้้องท้้องลดรููปเป็็นจัับปิ้้�ง
กระดองกลมแบน กระดองสีีน้ำำ�ต � าลลายประจุุดดำำ�
ก้้านตาสั้้�น พบเขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงของหาดทราย
ที่่�ปะทะคลื่่�นลมค่่อนข้้างแรงฝั่่ง� ทะเลทั้้�งอ่่าวไทย
และทะเลอัันดามััน

92 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
เอคไคโนเดิิร์์ม : Echinoderms
(Phylum Echinodermata)

เอคไคโนเดิิร์์ม : Echinoderms, Phylum Echinodermata หมายถึึงสััตว์์ที่ผิ่� ิวหนัังเป็็นหนามหรืือมีีแผ่่น


หิินปููน (ossicle) อยู่่ใ� ต้้ผิวิ หนััง แบ่่งออกเป็็น 5 กลุ่่�ม ด้้วยกัันคืือ คืือ ดาวขนนก (Class Crinoidea) ดาวทะเล (Class
Asteroidea) ดาวเปราะ (Class Ophiuroidea) เม่่นทะเล เม่่นหััวใจ และเหรีียญทะเล (Class Echinoidea)
และปลิิงทะเล (Class Holothurioidea) เอคไคโนเดิิร์์ม เป็็นสััตว์์ที่่�เริ่่�มเกิิดขึ้้�นในยุุค Paleozoic เมื่่�อประมาณ
570 ล้้านปีีมาแล้้ว มีีสมาชิิกประมาณ 8,000 ชนิิด มีีลัักษณะที่่�สำำ�คััญคืือ เป็็นสััตว์์ที่่�มีีช่่องว่่างภายในลำำ�ตััวที่่�
แท้้จริิง ร่่างกายสมมาตรในแนวรััศมีี จำำ�นวน 5 แฉก (Pentameric radial symmetry) ในแนวรััศมีีจะสมมาตร
ซีีกซ้้ายขวา (bilateral symmetry) ร่่างกายไม่่เป็็นข้้อปล้้อง ไม่่มีีหัวั ไม่่มีีสมอง มีีระบบท่่อน้ำำ�� (Water-vascular
system) ที่่�ใช้้ในการเคลื่่�อนที่่�และหาอาหาร มีีอวััยวะพิิเศษที่่�ใช้้จัับสััตว์์เล็็กๆหรืือทำำ�ความสะอาดร่่างกาย
(Pedicellariae) ที่่�มีีลัักษณะแตกต่่างกัันและบางชนิิดมีีต่่อมน้ำำ��พิิษอยู่่�ด้้วย เช่่น แบบเป็็นก้้านคล้้ายดอกบััว
(globiferous) แบบคล้้ายหอยฝาคู่่� (bivalves) เป็็นต้้น เอคไคโนเดิิร์์มทุุกชนิิดอาศััยอยู่่�ในทะเล และดำำ�รงชีีวิิต
เป็็นสััตว์์หน้้าดิินทั้้�งหมด พบอาศััยอยู่่�ตามความลึึกระดัับต่่างๆ ตั้้�งแต่่เขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงจนถึึงพื้้�นมหาสมุุทรลึึก
มีีนิิสััยการกิินอาหารที่่�แตกต่่างกััน ได้้แก่่ เป็็นผู้้�ล่่า (Predater) พวกขููดกิินอาหารจากพื้้�น (Grazing) พวกกิิน
ซากอิินทรีีย์์ (Detritus feeder) พวกดัักจัับตะกอน (Suspension feeder) เป็็นต้้น เอคไคโนเดิิร์ม์ เป็็นสััตว์ท์ ะเล
ที่่�มีีประโยชน์์ทั้้�งทางเศรษฐกิิจ และมีีบทบาทสำำ�คััญในระบบนิิเวศทางทะเล ดาวทะเลใช้้เป็็น feed additive
ในอาหารสััตว์์และเป็็นปุ๋๋�ยจำำ�พวกไนโตรเจน ปลิิงทะเลและไข่่ของเม่่นทะเล เป็็นอาหารที่่�มีีราคาแพง ในระบบ
นิิเวศทางทะเล เอคไคโนเดิิร์ม์ มีีบทบาทที่่ค่� อ่ นข้้างสำำ�คัญ ั ในการควบคุุมประชากรของสิ่่ง� มีีชีีวิิตหลายชนิิด มีีบทบาท
ในการกำำ�จัดั สารอิินทรีีย์์ที่ป่� ะปนอยู่่�ตามพื้น้� ทะเล นอกจากนี้้� เอคไคโนเดิิร์ม์ ยัังมีีประโยชน์์เกี่่ย� วกัับการศึึกษาวิิจัยั
ทางด้้านผลิิตภััณฑ์์ธรรมชาติิ สิ่่�งแวดล้้อม

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 93
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
/ เอคไคโนเดิิร์์ม
ดาวทะเล

ดาวทะเล : Starfishes
(Class Asteroidea)

เป็็นเอคไคโนเดิิร์์ม มีีรููปร่่างคล้้ายรููปดาว ร่่างกายประกอบด้้วยแผ่่นกลางลำำ�ตััวและมีี


แขนยื่่�นออกไปจากส่่วนกลางเป็็นรััศมีี ปกติิมีี 5 แฉก ดาวทะเลไม่่มีีหััว ตามผิิวลำำ�ตััวมัักมีี
หนามขนาดเล็็กใหญ่่แตกต่่างกััน มีีปากอยู่่�ตรงกลางทางด้้านล่่างของแผ่่นกลางลำำ�ตััว
ด้้านใต้้แขนมีีร่่องให้้เท้้าท่่อยื่่�นออกมาเป็็นคู่่�เรีียงกัันเป็็นแถว ช่่วยในการเคลื่่�อนที่่�จัับอาหาร
ดาวทะเลสืืบพัันธุ์์�แบบอาศััยเพศโดยมีีเพศแยกกัันเป็็นตััวผู้้�และตััวเมีีย การปฏิิสนธิิจะเกิิดขึ้้น�
ภายนอกตััวในน้ำำ��ทะเล ไข่่และสเปิิร์์มเมื่่�อผสมพัันธุ์์�กัันจะกลายเป็็นตััวอ่่อนล่่องลอยอยู่่�ใน
น้ำำ��ทะเลระยะหนึ่่�ง แล้้วจึึงพััฒนาเปลี่่�ยนแปลงรููปร่่างเป็็นดาวทะเลขนาดเล็็กๆลงเกาะ
คืืบคลานตามพื้้น� ทะเล ดาวทะเลเป็็นสััตว์ที่์ ดำ่� ำ�รงชีีวิิตเป็็นผู้้�ล่่าสััตว์อื่่์ น� ๆ กิินเป็็นอาหาร ได้้แก่่
หอยสองฝา ฟองน้ำำ�� หรืือแม้้แต่่เอคไคโนเดิิร์์มด้้วยกัันเอง ดาวทะเลในระบบนิิเวศหาดหิิน
พบไม่่ค่่อยมากชนิิดเนื่่�องจากเป็็นสััตว์์ที่่�หลบซ่่อนและออกหากิินในเวลากลางคืืน

94 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ดาวทราย
Common Name Sand starfish
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Astropecten
polyacanthus
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
รููปร่่างเป็็นแฉกคล้้ายดาว 5 แขน สีีน้ำำ�ต
� าล แผ่่นกลาง
ลำำ�ตััวและแขนเป็็นรููปสามเหลี่่�ยม แบนเรีียวยาว
ขอบร่่างกายมีีหนาม แผ่่นด้้านตรงข้้ามปากมีีหนาม

/ เอคไคโนเดิิร์์ม
หิินปููนรููปดอกเห็็ด เท้้าท่่อรููปกรวยไม่่เป็็นปุ่่�มดููด
ดาวทะเลนี้้เ� ป็็นผู้้�ควบคุุมประชากรหอยทะเลขนาดเล็็ก
บริิเวณหาดทรายอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

ดาวทะเล
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ดาวทราย
Common Name Sand starfish
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Archaster typicus
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
รููปร่่างเป็็นแฉกคล้้ายดาว 5 แขน สีีน้ำำ�ต
� าล ลายปื้้น�
สีีเข้้ม แผ่่นกลางลำำ�ตัวั และแขนเป็็นรููปสามเหลี่่ย� ม
แบนเรีียวยาว ลายสีีน้ำำ��ตาลสลัับสีีเข้้ม สีีเข้้ม
ขอบร่่างกายมีีหนาม แผ่่นด้้านตรงข้้ามปากมีี
หนามหิินปููนรููปดอกเห็็ด เท้้าท่่อรููปทรงกระบอก
ตรงปลายเป็็นปุ่่�มดููด ดาวทะเลนี้้�เป็็นผู้้�ควบคุุม
ประชากรหอยทะเลขนาดเล็็กบริิเวณหาดทราย
ฝั่่�งทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 95
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ดาวเปราะ : Brittle stars


(Class Ophiuroidea)

เป็็นเอคไคโนเดิิร์์มที่่�มีีลัักษณะคล้้ายกัับดาวทะเล แต่่มีีแขนที่่�ยื่่�นยาวออกไปมากกว่่าดาวทะเล
และแขนสามารถเคลื่่�อนไหวได้้ดีีในแนวนอน เวลาเคลื่่�อนที่่�จะใช้้แขนเลื้้�อยไปตามพื้้�นทะเล ร่่างกาย
ของดาวเปราะประกอบด้้วย แผ่่นกลางลำำ�ตััวมีีลัักษณะค่่อนข้้างกลมและมีีแขนยื่่�นยาวออกไป ปกติิ
จะมีี 5 แขน แขนของดาวเปราะใต้้แขนไม่่มีีร่่องให้้เท้้าท่่อยื่่�นออกมาแต่่จะมีีรููเป็็นคู่่�ให้้เท้้าท่่อยื่่�นออก
มาแทนและด้้านข้้างของแขนจะมีีหนามยาวยื่่�นออกมาเป็็นชุุดๆเรีียงตััวในแนวดิ่่�ง แขนของดาวเปราะ
มัักจะเปราะและแตกหัักง่่าย อาหารของดาวเปราะส่่วนใหญ่่จะเป็็นพวกจุุลิินทรีีย์์ สิ่่�งมีีชีีวิิตขนาด
/ เอคไคโนเดิิร์์ม

เล็็กๆ เช่่น สาหร่่าย เป็็นต้้น และพวกอิินทรีียวััตถุุ


ดาวเปราะ

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ดาวเปราะ
Common Name Brittle star
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Ophiarachnella
gorgonia
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
รููปร่่างเป็็นแฉกคล้้ายดาว 5 แขน สีีน้ำำ��ตาล
แผ่่นกลางลำำ�ตัวั กลม แขนมีีหนามเรีียงในแนวตั้้�ง
เป็็นชุุดตามจำำ�นวนข้้อแขน สีีน้ำำ��ตาลเข้้มสลัับลาย
ดาวเปราะนี้้� เ ป็็ น ผู้้�ล่่ า สัั ตว์์ ท ะเลขนาดเล็็ ก
หลบซ่่อนตััวใต้้ก้้อนหิินในเขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงของ
หาดทรายทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

96 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
เม่่นทะเล เหรีียญทะเล และเม่่นหััวใจ : Sea urchins
(Class Echinoidea)

เป็็นเอคไคโนเดิิร์์มที่่มีีลั
� ักษณะค่่อนข้้างตรงตามชื่่�อของไฟลััม ลัักษณะของเม่่นทะเลจะมีีรููปร่่าง
ค่่อนข้้างกลม รููปไข่่ (เม่่นหััวใจ) หรืือแบนลง (เหรีียญทะเล) ภายนอกประกอบด้้วยหนามเรีียงตััวโดย
รอบปากอยู่่�ด้า้ นล่่าง ด้้านบนจะมีีทวารหนัักและช่่องปล่่อยเซลล์์สืบื พัันธุ์์� ภายในจะมีีเปลืือกหุ้้�มอวััยวะ
ภายใน จำำ�นวน 10 คู่่� เม่่นทะเลสืืบพัันธุ์์�แบบอาศััยเพศและแบ่่งแยกตััวผู้้�และตััวเมีีย ดำำ�รงชีีวิิตอยู่่�
อย่่างอิิสระ กิินอาหารจำำ�พวกสาหร่่ายทะเล โดยปากจะมีีฟัันสำำ�หรัับขููดสาหร่่ายทะเลตามพื้้�น ส่่วน
เม่่นหััวใจและเหรีียญทะเลจะฝัังตััวอยู่่�ตามพื้้�นทะเล

/ เอคไคโนเดิิร์์ม
เม่่นทะเล เหรีียญทะเล และเม่่นหััวใจ
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� เม่่นแต่่งตััวเขีียว
Common Name Decorated sea urchin
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Salmacis sphaeroides
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกรููปร่่างกลมแบน สีีเขีียว หนามรอบตััวกลม
ยาวเรีียวแข็็งแรง เป็็นลายสีีขาวสลัับสีีน้ำำ�ต � าล มัักนำำ�
ซากพืืชซากสััตว์์มาปกคลุุมเพื่่�อพรางตััวจากศััตรูู
บนพื้น้� ทรายใต้้เขตน้ำำ��ขึ้้น� น้ำำ��ลงของหาดทรายทั้้�งฝั่่ง�
อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 97
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� เหรีียญทะเล
Common Name Sand dollar
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Arachnoides placenta
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
รููปร่่างกลมแบน เปลืือกสีีน้ำำ��ตาล ปากอยู่่�ด้้านล่่าง
ด้้านตรงปากเป็็นสีีเข้้ม ส่่วน หนามรอบตััว 2 แบบ
ประกอบด้้วย หนามอัันใหญ่่ยาวและเป็็นท่่อกลวง
สีีลายเข้้มสลัับสีีจาง และหนามอัันเล็็กสีีน้ำำ��ตาลแข็็ง
/ เอคไคโนเดิิร์์ม

ไม่่กลวง ทวารหนัักมีีถุุงสีีน้ำำ��ตาลลายจุุดสีีดำำ� พบ
ตามซอกหิินใต้้เขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงของหาดหิินทั้้�งฝั่่�ง
อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน
เม่่นทะเล เหรีียญทะเล และเม่่นหััวใจ

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� เม่่นหััวใจ
Common Name Heart urchin
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Lovenia elongata
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เปลืือกรููปหััวใจ หนามรอบตััวเรีียวแหลมแข็็งไม่่
เป็็นท่่อกลวง ปากอยู่่�ด้้านล่่าง ทวารหนัักอยู่่�
ด้้านท้้าย สีีตััวและหนามสีีแดง หนามเป็็นลาย
สีีแดงสลัับกัับสีีขาว ฝัังตััวในพื้้น� ทรายฝั่่ง� อ่่าวไทย
และทะเลอัันดามััน

98 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน
ปลิิงทะเล : Sea cucumbers
(Class Holothuroidea)

รููปร่่างลำำ�ตัวั เป็็นท่่อนทรงกระบอก ร่่างกายยืืดหดได้้ ส่่วนหััวมีีหนวดรอบปากที่่แ� ตกแขนงเป็็นช่่อ


ใช้้จับั อาหารพวกสารอิินทรีีย์์ในดิินเข้้าปาก บางชนิิดใช้้หนวดคอยดัักจัับสััตว์เ์ ล็็กๆที่่ล� อยอยู่่ใ� นน้ำำ�� ด้้าน
ตรงข้้ามเป็็นช่่องเปิิดเพื่่�อการขัับถ่่ายและมีีโพรงติิดต่่อกัับช่่อเหงืือกที่่�ใช้้หายใจ ใต้้ผิิวหนัังของปลิิง
ทะเลมีีแผ่่นหิินปููนเป็็นชิ้้น� เล็็กๆขนาดต่่างกัันกระจััดกระจายทำำ�ให้้ผนังั ลำำ�ตัวปลิ
ั งิ ทะเลมีีลัักษณะคล้้าย
กระดููกอ่่อน ปลิิงทะเลเป็็นสััตว์์ทะเลที่่�มีีความสำำ�คััญทางเศรษฐกิิจหลายชนิิดถููกนำำ�มาบริิโภคเป็็น
อาหารทะเลราคาแพง นอกจากนี้้�ยัังมีีบทบาทในระบบนิิเวศทางทะเลที่่�สำ�คั ำ ัญคืือ ปลิิงทะเลกิินสาร

/ เอคไคโนเดิิร์์ม
อิินทรีีย์์ที่่�เคลืือบดิินตะกอนเป็็นอาหารและจะขัับถ่่ายมููลที่่�เป็็นตะกอนสะอาดไม่่มีีสารอิินทรีีย์์ที่่�ก่่อ
ให้้เกิิดการเน่่าเสีียของน้ำำ��ทะเล

ปลิิงทะเล
ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปลิิงดำำ�
Common Name Sea cucumber
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Holothuria
(Halodeima) atra
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
รููปร่่างทรงกระบอกยาว ลำำ�ตััวสีีดำำ� มัักคลุุกทราย
มาปกคลุุมตััวและเว้้นปื้้�นสีีดำำ�ไว้้ลวงศััตรูู ผิิวเรีียบ
หนวดรอบปากเป็็นท่่อทรงกระบอกปลายหนวด
แตกแขนงเป็็นกิ่่�งในแนวรััศมีี ลำำ�ตััวค่่อนข้้างแข็็ง
หลบซ่่อนใต้้ก้้อนหิินเขตน้ำำ�ขึ้้ � �นน้ำำ�� ลงของหาดหิิน
ต่่อเนื่่อ� งแนวปะการัังทั้้ง� ฝั่่ง� อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 99
ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิ เวศหาดหิน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปลิิงทะเลสีีน้ำำ��ตาล
Common Name Sea cucumber
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Holothuria
(Theelothuria) kurti
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
รููปร่่างทรงกระบอกยาว ลำำ�ตััวสีีน้ำำ��ตาล ด้้านหลััง
มีีหนาม หนวดรอบปากเป็็นท่่อทรงกระบอก
ปลายหนวดแตกแขนงเป็็นกิ่่�งในแนวรััศมีี ลำำ�ตััว
/ เอคไคโนเดิิร์์ม

ค่่อนข้้างแข็็ง ฝัังตััวอยู่่�บริิเวณเขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงของ
หาดทรายปนโคลนฝั่่ง� อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน
ปลิิงทะเล

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปลิิงทะเลลููกบอล
Common Name Ball sea cucumber
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Phyllophorella
kohkutiensis
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
รููปร่่างเป็็นท่่อนทรงกระบอกสั้้น� สีีน้ำำ�ต � าลดำำ� เท้้าท่่อ
กระจายอยู่่�ทั่่วตั � วั หนวดรอบปากแตกแขนงเป็็น
กิ่่ง� ไม้้ เมื่่อ� อยู่่ใ� นภาวะเครีียดจะพองตััวกลมคล้้าย
ลููกบอลโดยการดููดน้ำำ��ทะเล ฝัังตััวบริิเวณพื้น้� ทราย
ปนโคลนทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

100 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย


เพรีียงหััวหอม: Ascidians, Sea squirt
(SubPhylum Urochordata, Phylum Chordata)

หมายถึึงสััตว์์ทะเลที่่�สามารถฉีีดน้ำำ��ออกมาทางปลายส่่วนบนได้้ จััดอยู่่�ใน Class Ascidiacea


มีีสมาชิิกทั่่�วโลกประมาณ 1,250 ชนิิด อาศััยอยู่่�ในทะเลทั้้�งหมด จััดอยู่่�ในสััตว์ที่์ อ่� ยู่่�ก้ำำ��กึ่่ง� ระหว่่างสััตว์์
ไม่่มีีกระดููกสัันหลัังและสััตว์มีี์ กระดููกสัันหลััง เนื่่�องจากตััวอ่อ่ นจะมีีลัักษณะคล้้ายลููกอ๊๊อด (Tadpole
larva) คล้้ายตััวอ่อ่ นของสััตว์มีี์ กระดููกสัันหลััง มีีโนโตคอร์์ดที่่ถูู� กสร้้างด้้วยกลุ่่�มเซลล์์รวมตััวเป็็นท่่อนๆ
คล้้ายกระดููกสัันหลัังของตััวอ่่อนสััตว์์มีีกระดููกสัันหลัังและจะหดหายไปเมื่่�อกลายเป็็นตััวเต็็มวััย
เพรีียงหััวหอมดำำ�รงชีีวิิตทั้้�งที่่�อยู่่�เดี่่�ยวๆและอยู่่�รวมกัันเป็็นโคโลนีี แต่่ละสมาชิิกในโคโลนีีจะเรีียกว่่า
“ซููออยด์์” (Zooids) ร่่างกายมีีลัักษณะเป็็นรููปทรงกระบอกตรงกลางป่่องออกคล้้ายถัังไม้้โอ๊๊ก มีีฐาน
เรีียบหรืือมีีก้้าน หรืือเส้้นใยสำำ�หรัับเกาะพื้้�น เพรีียงหััวหอมทุุกชนิิดมีีช่่องเปิิด 2 ช่่องคืือ ช่่องน้ำำ��เข้้า
ซึ่ง่� เป็็นปาก และช่่องน้ำำ��ออก ภายในช่่องลำำ�ตัวป ั ระกอบด้้วยขนขนาดเล็็ก มีีหน้้าที่่ดั� กั จัับอาหารที่่เ� ป็็น
แพลงก์์ตอนพืืชและแบคทีีเรีีย ส่่วนเซลล์์สืบื พัันธุ์์�และสิ่่ง� ขัับถ่่ายจะถููกขัับออกมาทางช่่องน้ำำ�� ออกขนาดเล็็ก
พบเพรีียงหััวหอมติิดอยู่่�กัับก้้อนหิิน ซากปะการัังในแนวปะการััง โขดหิินชายฝั่่�งทะเล

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� เพรีียงหััวหอมเดี่่�ยวสีีใส
Common Name Sea squirt
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Rhopalaea sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
เพรีียงหััวหอมเดี่่�ยว สีีโปร่่งใสสามารถมองเห็็น
อวััยวะภายใน รููปร่่างทรงกระบอกยาว ช่่องน้ำำ��เข้้า
และช่่องน้ำำ��ออกมีีวงสีีฟ้้า เกาะอยู่่�บนก้้อนกรวด
ตามพื้้�นทรายใต้้เขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงของหาดทรายฝั่่�ง
อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 101


หนอนลููกโอ๊๊ค : Acorn worm
(Subphylum Hemichordata, Phylum Chordata)

เป็็นเอคไคโนเดิิร์์มที่่�มีีลัักษณะคล้้ายกัับดาวทะเล แต่่มีีแขนที่่�ยื่่�นยาวออกไปมากกว่่าดาวทะเล
และแขนสามารถเคลื่่�อนไหวได้้ดีีในแนวนอน เวลาเคลื่่�อนที่่�จะใช้้แขนเลื้้�อยไปตามพื้้�นทะเล ร่่างกาย
ของดาวเปราะประกอบด้้วย แผ่่นกลางลำำ�ตััวมีีลัักษณะค่่อนข้้างกลมและมีีแขนยื่่�นยาวออกไป
ปกติิจะมีี 5 แขน แขนของดาวเปราะใต้้แขนไม่่มีีร่อ่ งให้้เท้้าท่่อยื่่น� ออกมาแต่่จะมีีรููเป็็นคู่่�ให้้เท้้าท่่อยื่่น�
ออกมาแทนและด้้านข้้างของแขนจะมีีหนามยาวยื่่�นออกมาเป็็นชุุดๆเรีียงตััวในแนวดิ่่�ง แขนของดาวเปราะ
มัักจะเปราะและแตกหัักง่่าย อาหารของดาวเปราะส่่วนใหญ่่จะเป็็นพวกจุุลิินทรีีย์์ สิ่่�งมีีชีีวิิตขนาด
เล็็กๆ เช่่น สาหร่่าย เป็็นต้้น และพวกอิินทรีียวััตถุุ

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� หนอนลููกโอ๊๊ค
Common Name Acorn worm
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Saccoglossus sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
รููปร่่างคล้้ายหนอน เป็็นท่่อหรืือทรงกระบอก
ระบบทางเดิินอาหารเป็็นแบบสมบููรณ์์ มีีส่่วน
ของปลอกคอ (Collar) และงวง (Proboscis) ที่่�
ประกอบเป็็นส่่วนปาก พบฝัังตััวอยู่่�ทั่่�วไปบนพื้้น�
ทรายปนโคลน กิินอิินทรีียสารในดิินทรายเป็็น
อาหาร และขัับถ่่ายทรายส่่วนที่่�เหลืือออกมา
กองเป็็นวงที่่�ปากรูู ในเขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงต่่อเนื่่�อง
ไปจนถึึงพื้้�นท้้องทะเลของหาดทรายฝั่่�งอ่่าวไทย
และทะเลอัันดามััน

102 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย


ปลากระดููกอ่่อน
(Class Chondrichthyes, Phylum Chordata)

เป็็นชั้้�นของปลาซึ่่�งโครงสร้้างกระดููกประกอบไปด้้วยเซลล์์กระดููกอ่่อนอย่่างเดีียว โดยมีีหิินปููน
มาประกอบเป็็นบางส่่วน ส่่วนมากมีีเหงืือกแยกออกเป็็นช่่อง 5 ช่่อง เกล็็ดแบบพลาคอยด์์ มีีลัักษณะ
สากเมื่่อ� สััมผััส ส่่วนมากจะออกลููกเป็็นตััว ขากรรไกรแยกออกจากกะโหลก ปลาจำำ�พวกนี้้�พบทั่่�วโลก
ประมาณ 800 ชนิิด เป็็นปลากิินเนื้้อ� ส่่วนมากเป็็นปลาทะเล ได้้แก่่ ปลาฉลาม ปลากระเบน ปลาฉนาก
และปลาโรนััน เป็็นต้้น

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปลากระเบนจมููกโตสีีน้ำำ��ตาล
Common Name Mahogany maskray
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Neotrygon kuhlii
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
มีีรููปร่่างคล้้ายว่่าว ลำำ�ตัวั แบนลงมาก ตาโตอยู่่�ชิดิ กััน
และมีีแถบสีีคล้ำำ��ระหว่่างดวงตา ลำำ�ตััวด้้านบน
สีีน้ำำ��ตาลอ่่อนอมเทาหรืือเหลืือง มีีจุุดประสีีฟ้้าอ่่อน
และดำำ�กระจาย หลบซ่่อนตััวตามพื้้�นทรายหรืือ
ใต้้ถ้ำำ��หินิ ใต้้เขตน้ำำ��ขึ้้น� น้ำำ��ลงของชายหาดฝั่่ง� อ่่าวไทย
และทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 103


ปลากระดููกแข็็ง
(Class Osteichthyes, Phylum Chordata)

เป็็นปลาที่่โ� ครงร่่างภายในเป็็นกระดููกแข็็งทั้้�งหมด ก้้านครีีบอาจเป็็นกระดููกอ่่อนหรืือกระดููกแข็็ง


มีีกระดููกสัันหลััง ปากอยู่่�ปลายสุุดด้้านหน้้า มีีฟันั ตาขนาดใหญ่่ ไม่่มีีหนัังตา ขากรรไกรเจริิญดีี หายใจ
ด้้วยเหงืือก มีีฝาปิิดเหงืือก หััวใจมีี 2 ห้้อง เม็็ดเลืือดแดงมีีนิิวเคลีียส แยกเพศ ปฏิิสนธิิภายนอก
ออกลููกเป็็นไข่่ มีีบางชนิิดที่่�ออกลููกเป็็นตััว พบทั้้�งในน้ำำ��จืืดและน้ำำ��เค็็ม

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปลาลิ้้�นหมา
Common Name Sole
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Pseudorhombus sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ตัวั แบนราบ รููปร่่างเป็็นรููปไข่่หรืือวงรีี มีีตาเล็็ก
อยู่่�ชิดิ กัันที่่ด้� า้ นเดีียวกััน โดยส่่วนหััวจะหัันไปทาง
ขวา ครีีบหลัังอยู่่�ด้า้ นบน ปากเล็็กเป็็นรููปโค้้งอยู่่�
ปลายสุุดของจะงอยปาก ครีีบอกและครีีบทวาร
เล็็ก ครีีบหลัังยาวตลอดลำำ�ตััว ลำำ�ตััวด้้านบนมีี
สีีคล้ำำ�� มีีลวดลายต่่าง ๆ และเส้้นข้้างลำำ�ตัวั หลายเส้้น
ลำำ�ตัวด้ ั า้ นล่่างสีีขาว พื้น�้ ทะเลปรัับสีีตััวให้้เข้้ากัับ
สภาพแวดล้้อมตามรููพื้น้� ทรายหรืือใต้้ก้อ้ นหิินของ
หาดทรายฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

104 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย


ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปลาบู่่�
Common Name Goby
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Periophthalmus sp.
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
รููปร่่างยาวรีี สีีน้ำำ��ตาลลาย หััวสั้้�นกว้้างหน้้าผาก
กลมมน ครีีบท้้องติิดกััน หลบซ่่อนตััวตามรููพื้น้� ทราย
ฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

ชื่่�อสามััญ/ชื่่�อท้้องถิ่่น� ปลาผีีเสื้้อ� กลางคืืนปากยาว


Common Name Longtail seamoth
ชื่่�อวิิทยาศาสตร์์ Pegasus volitans
การแพร่่กระจาย/นิิเวศวิิทยา
ลำำ�ตัวั เป็็นเกราะแข็็ง ปากยื่่น� ยาวออกไป ตััวแบนลง
ครีีบหููมีีขนาดใหญ่่แผ่่ออกด้้านข้้างคล้้ายปีีกของ
ผีีเสื้้�อ ครีีบท้้องมีีก้้านแข็็งหนึ่่�งคู่่� ที่่�เหลืือเป็็นก้้าน
ครีีบอ่่อนที่่�พััฒนาไปคล้้ายขาเดิิน มีีผิิวตััวด้้านบน
มีีลายรููปตาข่่าย อาจมีีสีีน้ำ�ต
� ำ าลอ่่อน จนถึึงสีีน้ำ�ต � ำ าลเข้้ม
พบใต้้เขตน้ำำ��ขึ้้�นน้ำำ��ลงของหาดหิินต่่อเนื่่�องแนว
ปะการัังฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 105


วิธีการจำ�แนกสิ่ งมีชีวิตในหาดทราย

ระบบนิิเวศหาดทรายเป็็นระบบนิิเวศชายฝั่่�งที่่�มีีทรััพยากรชีีวภาพอาศััยอยู่่�มากมาย เนื่่�องจากหาด
ทรายมีีคุุณลัักษณะที่่�เปิิดโล่่งแต่่มีีพื้้�นที่่�ผิิวมาก สิ่่�งมีีชีีวิิตที่่�เข้้ามาอาศััยอยู่่�ที่่�บริิเวณหาดทรายต้้องมีีการปรัับตััว
และมีีวิิถีีชีีวิิตเอาตััวรอดจากผู้้�ล่่า โดยการฝัังตััวลงในพื้้�นทราย รวมฝููงกััน การเข้้ามาศึึกษาเรีียนรู้้�ทรััพยากร
ชีีวภาพที่่อ� าศััยอยู่่ใ� นหาดทรายให้้เข้้าใจได้้ถ่อ่ งแท้้จำ�ำ เป็็นต้้องมีีความรู้้�พื้น�้ ฐานในการจำำ�แนกชนิิดของพืืช เช่่น การใช้้
รงควััตถุใุ นการสัังเคราะห์์แสง และการจำำ�แนกชนิิดของสััตว์์ซึ่่�งมีีหลัักการจำำ�แนกในระดัับไฟลััม เช่่น ลัักษณะ
โครงสร้้างทั้้�งภายนอกและภายในของสิ่่�งมีีชีีวิิตชนิิดต่่างๆ พััฒนาการของวััยอ่่อน แบบแผนการเจริิญเติิบโต
ของสิ่่ง� มีีชีีวิิต ความสััมพัันธ์์ทางวิิวัฒ
ั นาการของสิ่่ง� มีีชีีวิิตนั้้น� ๆ การถ่่ายทอดลัักษณะทางพัันธุุกรรม การสืืบพัันธุ์์�
การดำำ�รงชีีพ และพฤติิกรรมต่่าง ๆ เป็็นต้้น

แผนภููมิิต้้นไม้้สััตว์์ทะเลกลุ่่�มหลัักใน
ระบบนิิเวศหาดหิินหาดทราย

106 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย


การจำ�แนกทรัพยากรชีวภาพสัตว์

ทีอาศัยอยูใ่ นระบบนิ เวศหาดทรายระดับไฟลัม

1a สัตว์เซลล์เดียว
ไฟลัมโปรโตซัว (Phylum Protozoa)

1b สัตว์หลายเซลล์.............................................................................................................................2
2a สััตว์์ไม่่มีีเนื้้�อเยื่่�อและอวััยวะ
ร่่างกายมีีเซลล์์เรีียงตััวแบบหลวม ๆ ร่่างกายมีีระบบท่่อน้ำำ��
ฟองน้ำำ��ทะเล Phylum Porifera

2b สััตว์์มีีเนื้้�อเยื่่อ� และอวััยวะที่่แ� ท้้จริิง.................................................................................................3


3a ร่่างกายสมมาตรในแนวรััศมีี (Radial Symmetry)
เนื้้�อเยื่่�อมีีเซลล์์เข็็มพิิษ (Nematocyst)
Phylum Cnidaria ปะการััง ดอกไม้้ทะเล กััลปัังหา
ไฮดรอยด์์ แมงกระพรุุน

3b ร่่างกายสมมาตรซีีกซ้้ายขวา (Bilateral symmetry)...................................................................4


4a ไม่่มีีช่อ่ งว่่างภายในลำำ�ตัวั ................................................................................................................5
4b มีีช่่องว่่างภายในลำำ�ตัวั (Body cavity)......................................................................................................6

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 107


5a ลำำ�ตััวรููปรีี แบน
หนอนตััวแบน Phylum Platyhelminthes

5b ลำำ�ตััวยาวแบนคล้้ายริิบบิ้้�น
Phylum Nemertea

6a สััตว์์พวกที่่�ช่่องปากเกิิดก่่อนช่่องทวารหนััก
ในขณะที่่�เป็็นตััวอ่อ่ น (Protostomes)..........................................................................................7
6b สััตว์พว์ กที่่ช่� อ่ งปากเกิิดภายหลัังช่่องทวารหนััก (Deuterostomes)..................................................14
7a สััตว์์ที่่�มีีอวััยวะหาอาหารลัักษณะเป็็นหนวดเรีียงเป็็นวง
อยู่่�รอบปาก (Lophophore).........................................................................................................8
7b สััตว์์ไม่่มีีอวััยวะหาอาหารลัักษณะเป็็นหนวดเรีียงเป็็นวง
อยู่่ร� อบปาก..................................................................................................................................10
8a สััตว์์ที่่�มีีเปลืือก 2 ฝาคล้้ายหอย ส่่วนปลายเปลืือกมีีอวััยวะ
เป็็นแท่่งเรีียวยาว
หอยปากเป็็ด Phylum Brachiopoda

8b สััตว์์ไม่่มีีเปลืือกคล้้ายหอยสองฝา..................................................................................................9

108 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย


9a อวััยวะ Lophophore เรีียงตััวเป็็นวงเวีียนขึ้้�นเป็็นช่่อ
ไม่่มีีเปลืือกหิินปููน
หนอนเกืือกม้้า Phylum Phoronida

9b อวััยวะ Lophophore เป็็นเส้้นเล็็กเรีียงเป็็นแถวระนาบเดีียว


มีีเปลืือกหิินปููน อยู่่�เป็็นโคโลนีี
ไบรโอซััว Phylum Bryozoa

10a สััตว์์ที่่�มีีลัักษณะรููปร่่างเป็็นทรงกระบอกคล้้ายหนอน ไม่่เป็็น


ข้้อปล้้อง อวััยวะหาอาหารเป็็นหนวดยาวเป็็นร่่องหรืือคล้้าย
งวงช้้าง........................................................................................................................................11
10b สััตว์์ที่่�มีีลัักษณะรููปร่่างมีีเปลืือกหุ้้�มเนื้้�อเยื่่�ออ่่อนนุ่่�ม หรืือ
ร่่างกายเป็็นข้้อปล้้อง...................................................................................................................12
11a อวััยวะหาอาหารเป็็นหนวดยาวไม่่เป็็นร่่อง
ผิิวลำ�ตั
ำ ัวเป็็นลายคล้้ายเปลืือกถั่่�วลิิสง
หนอนถั่่�ว Phylum Sipuncula

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 109


11b อวััยวะหาอาหารเป็็นหนวดยาวเป็็นร่่อง ปลายหนวดแตก
ออกเป็็นกิ่่�งซ้้ายขวา ผิิวลำำ�ตัวั เรีียบ
หนอนช้้อน Phylum Echiura

12a ร่่างกายมีีเปลืือกหุ้้�มเนื้้�อเยื่่�ออ่่อนนุ่่�ม ร่่างกายไม่่เป็็นข้้อปล้้อง


หอยทะเล ลิ่่�นทะเล หอยงวงช้้าง หมึึก Phylum Mollusca

12b ร่่างกายไม่่มีีเปลืือกหุ้้�มเนื้้�อเยื่่อ� อ่่อนนุ่่�มและแบ่่งเป็็นข้้อปล้้อง......................................................13


13a รููปร่่างเป็็นหนอนยาว รยางค์์ของแต่่ละปล้้องไม่่เป็็นข้้อปล้้อง
ไส้้เดืือนทะเล Phylum Annelida

13b ร่่างกายแต่่ละปล้้องมีีเปลืือกหุ้้�ม รยางค์์ของ


แต่่ละปล้้องเป็็นข้้อ
กุ้้�ง กั้้�ง ปูู Phylum Arthropoda

110 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย


14a ร่่างกายสมมาตรรััศมีี 5 แฉก มีีระบบท่่อน้ำำ��ในตััว
ร่่างกายมีีแผ่่นหิินปููนเป็็นเปลืือกหุ้้�มตััว
ดาวทะเล ปลิิงทะเล เม่่นทะเล Phylum Echinodermata

14b ร่่างกายสมมาตรซีีกซ้้ายขวา ร่่างกายไม่่มีีเปลืือกหิินปููน


มีีแกนกระดููกสัันหลััง....................................................................................................................15
15a ร่่างกายมีีลัักษณะเป็็นหนอน ฝัังตััวในพื้้�นทราย
หนอนลููกโอ็็ค Phylum Hemichordata

15b ร่่างกายสมมาตรซีีกซ้้ายขวา ร่่างกายมีีแกนกระดููกสัันหลััง


Phylum Chordata................................................................................................................16
16a ร่่างกายรููปทรงกลม มีีท่่อน้ำำ�� เข้้าสู่่�ตััวและออกจากตััว ร่่างกาย
มีีแกนกระดููกสัันหลัังในวััยอ่่อน
เพรีียงหััวหอม Subphylum Urochordata

คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 111


16b ร่่างกายสมมาตรซีีกซ้้ายขวา ร่่างกายมีีแกนกระดููกสัันหลััง
ปลากระดููกอ่่อน Subphylum Vertebrata,
Class Chondrichthyes

ปลากระดููกแข็็ง Subphylum Vertebrata,


Class Osteichthyes

112 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย


ดัชนี

ดัชนี ช่ือไทย ดัชนี ช่ืออังกฤษ ดัชนี ช่ือวิทยาศาสตร์ เลข


(Index of Thai name) (Index of English name) (Index of Scientific name) หน้า

สาหร่่ายใบมะกรููด Lemon grass algae Halimeda macroloba 22


สาหร่่ายพวงองุ่่�น สาหร่่ายช่่อพริิกไทย Parasol green seaweed Caulerpa racemose 22
สาหร่่ายใบหนาม Cactus tree algae, Caulerpa serrulata 23
Serrated green seaweed
สาหร่่ายขนนก Killer Algae Caulerpa taxifolia 23
สาหร่่ายขนนก Greeen algae Bryopsis pennata 24
สาหร่่ายกระบอง Greeen algae Boergesenia sp. 24
สาหร่่ายกล้้วยหอม Banana algae Neomeris sp. 25
สาหร่่ายเส้้นผม Turtle weed Chlorodesmis hildebrandtii 25
สาหร่่ายพััด Fan green algae Avrainvillea sp. 26
สาหร่่ายใบ Leaf green algae Udotea sp. 26
สาหร่่ายเห็็ดหููหนูู Peacock's tail Padina sp. 27
สาหร่่ายทุ่่�น Sargassum Sargassum sp. 27
สาหร่่ายรัังบวบ Hydroclathrus Hydroclathrus clathratus 28
สาหร่่ายเขากวาง Dictyotales Dictyota friabilis 28
สาหร่่ายเขากวาง Dictyotales Dictyota sp. 29
สาหร่่ายใบผัักกาด Brown algae Lobophora sp. 29
สาหร่่ายดอกจอก Crowded sea bell Turbinaria sp. 30
สาหร่่ายสีีแดง Red algae Renouxia sp. 31
สาหร่่ายเขากวาง Red algae Laurencia sp. 31
สาหร่่ายสีีแดง Red algae Asparagopsis taxiformis 32
สาหร่่ายเขากวาง Red algae Acanthophora sp. 32
สาหร่่ายใบสีีแดง Red algae Halymenia dilatata 33
สาหร่่ายพู่่�กััน blue-green algae Symploca hypnoides 34
ฟองน้ำำ��ลููกกอล์์ฟ Golf-ball sponge Tetilla japonica 35
ฟองน้ำำ��ฝัังตััวสีีส้้ม Orange burrowing sponge Cliothosa aurivillii 36
ฟองน้ำำ��ฝัังตััวสีีเหลืือง Yellow burrowing sponge Cliona celeta 36
ฟองน้ำำ��ฝัังตััวสีีดำำ� Black burrowing sponge Siphonodictyon mucosum 37
ฟองน้ำำ��ปล่่องภููเขาไฟ Volcano sponge Spheciospongia solida 37
ฟองน้ำำ��ลููกกอล์์ฟ Golf-ball sponge Paratetilla bacca 38
ฟองน้ำำ��ไฟ Fire sponge Biemna fortis 38
ฟองน้ำำ��ก้้อนหนามสีีส้้ม Orange sponge Stylissa sp. 39
ฟองน้ำำ��ก้้อนหนามสีีดำำ� Bushy sponge Echinodictyum conulosum 39
ฟองน้ำำ��ท่่อพุ่่�มสีีแดง Flower sponge Oceanapia sagittaria 40
ฟองน้ำำ��ก้้อนสีีส้้มแดง Red sponge Mycale (Mycale) grandis 40
ฟองน้ำำ��ก้้อนสีีน้ำำ�ต � าล Brown burrowing sponge Cervicornia cuspidifera 41
ฟองน้ำำ��เคลืือบสีีน้ำำ��ตาล Purple brownish sponge Neopetrosia exigua 41
ฟองน้ำำ��สาหร่่ายสีีเขีียว Green sponge Haliclona (Gellius) cymaeformis 42
ฟองน้ำำ��ลููกพีีช Peach sponge Stelleta clavosa 42
ฟองน้ำำ��ยืืดหยุ่่�นสีีดำำ� Black sponge Ircinia anomala 43
ฟองน้ำำ��ก้้อนสีีขาว White sponge Dysidea arenaria 43
ฟองน้ำำ��เปลี่่�ยนสีีสีีเหลืือง Yellow sponge Pseudoceratina purpurea 44
ฟองน้ำำ��ลููกบอล Ball sponge Tethya seychellensis 44
ฟองน้ำำ��สีีน้ำ�ำ� เงิิน Blue sponge Neopetrosia sp. 45
ฟองน้ำำ�� หนาม Green spiny sponge Callyspongia sp. 45
คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 113
ดัชนี ช่ือไทย ดัชนี ช่ืออังกฤษ ดัชนี ช่ือวิทยาศาสตร์ เลข
(Index of Thai name) (Index of English name) (Index of Scientific name) หน้า

ขนนกทะเล Stinging hydroid Macrorhynchia philippina 47


แว่่นตาพระอิินทร์์ Blue button Porpita porpita 47
แมงกระพรุุนหััวกลัับ Upside down jellyfish Cassiopea andromeda 48
ปะการัังอ่่อน Soft coral Sinularia sp. 49
ปะการัังอ่่อน Leather Coral Lobophytum sp. 49
ปะการัังอ่่อน ปะการัังหนััง Leather Coral Sarcophyton sp. 50
กััลปัังหาดอกเหลืือง Gorgonian Acanthogorgia sp. 50
ปะการัังอ่่อนต้้นวุ้้�น Soft Coral Dendronephthya sp. 51
ข้้าวโพดทะเล Sea corn Veretillum sp. 51
ปากกาทะเลวุ้้�น Sea pen Pteroeides sp. 52
ปากกาทะเล Sea pen Pteroeides sp. 52
พรมทะเล Sea pet Zoanthus pacificus 53
ดอกไม้้ทะเลปููเสฉวน Sea anemone Calliactis miriam 53
ดอกไม้้ทะเลดิิน Sea anemone Stichodactyla gigantea 54
ดอกไม้้ทะเลดิิน เห็็ดหลุุบ Sea anemone Stichodactyla tapatum 54
ดอกไม้้ทะเลดิิน Sea anemone Anthopleura sp. 55
ดอกไม้้ทะเลดิิน Sea anemone Edwardsia sp. 55
ดอกไม้้ทะเลดิิน Sea anemone Macrodactyla doreensis 56
ดอกไม้้ทะเลดิินหนวดกิ่่�งไม้้ Sea anemone Actinodendron arboreum 56
ปะการัังโขด Hump coral Porites lutea 57
ปะการัังวงแหวน Ring coral Favia favus 57
ปะการัังลายดอกไม้้ Flower coral Pavona sp. 58
ปะการัังดอกกะหล่ำำ�� Cauliflower coral Pocillopora damicornis 58
ปะการัังดำำ� Black coral Antipathes dichotoma 59
ดอกไม้้ทะเลปลอก Cerianthus Cerianthus sp. 59
หนอนตััวแบนน้ำำ��ตาลแดงลายขีีด Flat worm Pseudobiceros bedfordi 60
หนอนตััวแบนสีีขาวขอบสีีน้ำำ�� เงิิน Flat worm Pseudoceros sp. 61
หนอนตััวแบนสีีดำำ�จุุดเหลืือง Flat worm Pseudobiceros uniarborensis 61
บุ้้�งทะเล Fire worm Chloeia fusca 62
หนอนท่่อ Trumpet worm Lagis sp. 63
หนอนท่่อ Spaghetti worm Amphitrite sp. 63
หนอนถั่่�ว Peanut worm Siphonosoma sp. 64
หนอนช้้อน Spoon worm Bonellia sp. 65
ไบรโอซััวร่่ม Moss animal Caulibugula sp. 66
ไบรโอซััวกิ่่�ง Moss animal Reteporella sp. 67
ไบรโอซััววุ้้�น Gelatinous bryozoa Amathia sp. 67
หนอนเกืือกม้้า Horseshoe worm Phoronis australis 68
หอยปากเป็็ด หอยราก Lamp shell Lingula anatina 69
หอยวงเวีียน Clear sundial Tonicia lamellosa 70
หอยปากมััน Dog whelks, Black nassa Nassarius sp. 71
หอยจุ๊๊�บแจง Torres cerith Cerithium obeliscus 71
หอยเจดีีย์์ Auger snail Hastula sp. 72
หอยกระต่่าย Grey bonnet Phalium glaucum 72
หอยกระดุุม Olive shell Oliva oliva 73
หอยเจดีีย์์ลาย Needle pyram Longchaeus acus 73
หอยมวนพููล Auger snail Terebra sp. 74
หอยสัังข์์จุุกพราหมณ์์ Noble volute Cymbiola nobilis 74

114 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย


ดัชนี ช่ือไทย ดัชนี ช่ืออังกฤษ ดัชนี ช่ือวิทยาศาสตร์ เลข
(Index of Thai name) (Index of English name) (Index of Scientific name) หน้า

หอยสัังข์์ขวาน Spiral melongina Pugilina cochlidium 75


หอยชัักตีีน Dilate conch Strombus dilatatus 75
หอยถั่่�วเขีียว Dubious nerite Clithon oulaniensis 76
หอยทัับทิิม Button top shell Umbonium vestiarium 76
หอยม่่วง Glass bubble shell Janthina prolongata 77
หอยพระจัันทร์์ Moon snail Polinices mammilla 77
หอยตาไก่่ Moon snail Natica fasciata 78
หอยตะกาย Tiger moon snail Natica tigrina 78
กระต่่ายทะเลสีีเขีียว Sea hare Elysia ornata 79
ทากทะเลสีีขาวจุุดน้ำำ�� เงิินเหลืือง Nudibranch Hypselodoris kanga 79
ทากเปลืือย Nudibranch Hypselodoris tryoni 80
ทากเปลืือยลายเส้้น Nudibranch Armina sp. 80
หอยงาช้้างสีีขาว Tusk shell Dentalium aprinum 81
หอยแครงพััด Scallop Mimachlamys cloacata 82
หอยหััวใจ Heart cockle Vepricardium sp. 83
หอยขวาน White hammer oyster Malleus albus 83
หอยจอบ Bicolor penshell Pinna bicolor 84
หอยหลอด Razor clam Solen stritus 84
หมึึกยัักษ์์ หมึึกสาย Octopus Octopus sp. 85
แมงดาจาน แมงดาทะเลหางเหลี่่�ยม Horseshoe crab Tachypleus gigas 86
กุ้้�งเต้้น Amphipod Cymadusa sp. 87
กุ้้�งตาบอด Blind shrimp Alpheus sp. 87
กุ้้�งดีีดขััน Alpheus shrimp Alpheus sp. 88
กุ้้�งพยาบาล Cleaner shrimp Urocaridella pulchella 88
ปููเสฉวนบก Land hermit crab Coenobitasp. 89
ปููเสฉวนน้ำำ�� Hermit crab Dardanus pedunculatus 89
ปููเสฉวนน้ำำ�� Hermit crab Dardanus sp. 90
ปููตััวแบน Flatten crab Pachycheles sculptus 90
ปููหนุุมาน Moon crab Ashtoret lunaris 91
ปููลม Horn-eyed ghost crab Ocypode ceratophthalmus 91
จั๊๊�กจั่่�นทะเล Mole crab, Sand crab Emerita emeritus 92
จั๊๊�กจั่่�นทะเล Mole crab, Sand crab Hippa adactyla 92
ดาวทราย Sand starfish Astropecten polyacanthus 95
ดาวทราย Sand starfish Archaster typicus 95
ดาวเปราะ Brittle star Ophiarachnella gorgonia 96
เม่่นแต่่งตััวเขีียว Decorated sea urchin Salmacis sphaeroides 97
เหรีียญทะเล Sand dollar Arachnoides placenta 98
เม่่นหััวใจ Heart urchin Lovenia elongata 98
ปลิิงดำำ� Sea cucumber Holothuria (Halodeima) atra 99
ปลิิงทะเลสีีน้ำำ�ต � าล Sea cucumber Holothuria (Theelothuria) kurti 100
ปลิิงทะเลลููกบอล Ball sea cucumber Phyllophorella kohkutiensis 100
เพรีียงหััวหอมเดี่่�ยวสีีใส Sea squirt Rhopalaea sp. 101
หนอนลููกโอ๊๊ค Acorn worm Saccoglossus sp. 102
ปลากระเบนจมููกโตสีีน้ำำ�ต � าล Mahogany maskray Neotrygon kuhlii 103
ปลาลิ้้�นหมา Sole Pseudorhombus sp. 104
ปลาบู่่� Goby Periophthalmus sp. 105
ปลาผีีเสื้้�อกลางคืืนปากยาว Longtail seamoth Pegasus volitans 105
คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 115
บรรณานุ กรม
สุุเมตต์์ ปุุจฉาการ. 2541. การศึึกษาอนุุกรมวิิธานของเอคไคโนเดิิร์์ม บริิเวณชายฝั่่�งทะเลตะวัันออก. รายงาน
การวิิจััย เสนอต่่อ สำำ�นัักงานคณะกรรมการวิิจััยแห่่งชาติิ. 109 หน้้า.
สุุเมตต์์ ปุุจฉาการ. 2551. ฟองน้ำำ��. หน้้า 86-97 เอคไคโนเดิิร์์ม. หน้้า 148-154. ใน: คู่่�มืือทรััพยากรธรรมชาติิ
หมุ่่�เกาะมััน, พจนา บุุณยเนตร (บรรณาธิิการ) ศููนย์์วิิจััยทรััพยากรทางทะเลและชายฝั่่�งอ่่าวไทยฝั่่�ง
ตะวัันออก, จัังหวััดระยอง. ISBN 978-974-286-541-2.
สุุเมตต์์ ปุุจฉาการ และสุุชา มั่่�นคงสมบููรณ์์. 2550. ฟองน้ำำ��ทะเล เอคไคโนเดิิร์์ม และเพรีียงหััวหอม บริิเวณเกาะ
ครามและเกาะใกล้้เคีียง. โครงการอนุุรัักษ์์พัันธุุกรรมพืืชอัันเนื่่�องมาจากพระราชดำำ�ริิสมเด็็จพระเทพ
รััตนราชสุุดาฯ สยามบรมราชกุุมารีี, กรุุงเทพฯ. ISBN 978-974-9958-17-9. 74 หน้้า.
สุุเมตต์์ ปุุจฉาการ สุุชา มั่่น� คงสมบููรณ์์ ธิิดารััตน์์ น้้อยรัักษา และพิิชัยั สนแจ้้ง. 2547. การศึึกษาความหลากหลาย
ของชนิิดสััตว์ท์ ะเลในแนวปะการัังในภาคตะวัันออก (จัังหวััดชลบุุรีี). รายงานการวิิจัยั เสนอต่่อ สำำ�นักั งาน
คณะกรรมการวิิจััยแห่่งชาติิ. 131 หน้้า.
อุุกกฤต สตภููมิินทร์์. 2550. คู่่�มือื ปลาในแนวปะการัังฝั่่ง� ทะเลอัันดามัันของไทย สถาบัันวิิจัยั และพััฒนาทรััพยากร
ทางทะเล ชายฝั่่�งทะเลและป่่าชายเลน กรมทรััพยากรทางทะเลและชายฝั่่�ง. 231 หน้้า.
George, J.D. and J.J. George. 1979. Marine Life: An illustrated Encyclopedia of invertebrate in
the sea. John Wiley & Sons, New York. 288 p.
Gibson, R. 1997. Chapter 16: Nemerteans (Phylum Nemertea). pp. 905-975. In S.A. Shepherd
and M. Davies (eds.), Marine Invertebrates of Southern Australia Part III. South
Australia Research and Development Institute, South Australia.
Gosliner, T.M., D.W. Behrens and G.C. Williams. 1996. Coral reef animals of the Indo-Pacific:
Animal life from Africa to Hawaii exclusive of the Vertebrates. Sea Challengers,
Monterey, California. 314 p.
Guille, A., P. Laboute & J.-L. Menou. 1986. Guide des ètoiles de mer, oursins et autres èchino
dermes du lagon de Nouvelle-Calèdoniè. OSTROM, Paris. 238 p.

116 คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย


คู่มือศึกษาทรัพยากรในระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : หาดทราย 117
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม

ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธั นวาคม 2550


120 หมู่ 3 อาคารรัฐประศาสนภักดี ชั้น 5-9 ถนนแจ้งวัฒนะ
แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210
โทร 0-2141-1300 โทรสาร 0-2143-9249
www.dmcr.go.th

You might also like