You are on page 1of 7

สาขาพืช การประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 56

การเจริญเติบโตและการพัฒนาของขาวโพด 3 พันธุ ภายใตชว งการขาดน้ําทีแ่ ตกตางกันในระยะ


เริ่มตนของการเจริญเติบโตทางลําตน
Growth and Development of 3 Corn Cultivars under Different Water Deficit Intervals during
Early Vegetative Growth Stages
กุลวดี คณาวิทยา1* สุตเขตต นาคะเสถียร1 เอ็จ สโรบล1 และ อรวรรณ คําดี1
Kulwadee Kanavittaya1* Sutkhet Nakasathien1 Ed Sarobol1 and Orawan Kumdee
บทคัดยอ
น้ําเปนปจจัยพื้นฐานในการเจริญเติบโตของพืชโดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงแรกของการเจริญเติบโต
การขาดน้ําในระยะการเจริญเติบโตทางลําตนและใบ จะสงผลกระทบทําใหความแข็งแรงของพืชรวมทั้งปริมาณ
และคุณภาพของผลผลิตลดลง โดยเฉพาะอยางยิ่งในพืชอายุสั้น เชน ขาวโพด การทดลองนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ
ศึ ก ษาการเจริ ญ เติ บ โตและการพั ฒ นาของข า วโพดภายใต ส ภาวะขาดน้ํ า ในระยะตั้ ง ตั ว ในระดั บ โรงเรื อ น
ใชแผนการทดลองแบบ Factorial in Randomized Block Design มี 2 ปจจัย คือ พันธุขาวโพด มี 3 พันธุ คือ
สุวรรณ 2301 สุวรรณ 4452 และ S7328 และปจจัยน้ํา 3 ระดับ ไดแก การใหน้ําทุกวัน (I0) ใหน้ําทุก 2 วัน (I1)
และใหน้ํา 4 วัน (I2) เริ่มงดน้ําเมื่อขาวโพดเจริญเติบโตถึงระยะ V2 ซึ่งเปนระยะที่ขาวโพดปรากฏใบที่กางโดย
สมบูรณ 2 ใบ โดยการใหน้ําทุกวันสามารถรักษาระดับความชื้นดินไวที่ 31-56 %WET ในขณะที่การงดใหน้ํา 2
วันและ 4 วัน ทําใหคาความชื้นดินลดลงถึงระดับ 25.9% และ 8.8% ตามลําดับ สวนการเจริญเติบโตและการ
พัฒนาของขาวโพดนั้น พบวาการงดน้ําไมมีผลตอ ความสูงของลําตน เสนผาศูนยกลางลําตน น้ําหนักของ
ลําตน และน้ําหนักของราก ของขาวโพดทั้ง 3 พันธุ เมื่อเทียบกับชุดควบคุม ในขณะที่การงดใหน้ํา 2 วัน และ
4 วัน (I1 และ I2) มีผลทําให ความยาวรากของขาวโพดพันธุสุวรรณ 2301 (พันธุทนแลง) มีคามากที่สุดอยาง
มีนัยสําคัญทางสถิติ ในการงดน้ําที่ระดับ I1 สวนพันธุสุวรรณ 2301 มีความยาวรากมากกวาพันธุสุวรรณ 4452 และ
S7328 คิดเปน 16.1% และ 30.8% ตามลําดับ ในขณะที่การงดน้ําที่ระดับ I2 พันธุสุวรรณ 2301 มีความยาวราก
มากกวาพันธุสุวรรณ 4452 และ S7328 คิดเปน 10.7% และ 38.98% ตามลําดับ จากผลการทดลองชี้ใหเห็นวา
สภาวะขาดน้ําที่ขาวโพดไดรับทําใหเกิดความแตกตางของการเจริญเติบโตในสวนใตดิน และสามารถนําผลการ
ทดลองไปใชเปนปจจัยบงชี้วิธีการปรับตัวของขาวโพดทนแลงภายในสภาวะขาดน้ํา
ABSTRACT
Water is the primary, and now becoming the crucial factor, especially under the unpredictable
climatic changes, influencing on the establishment of corn seedling at early stages. The water deficit could
affect the seedling health and vigor, thus this experiment was designed to focus on the early physiological
response, under the greenhouse condition. The Factorial in Randomized Block Design with 2 factors,
composed of 3 levels of water, watering daily (I0), watering every two days (I1), and watering every four days
(I2), and 3 corn varieties of SUWAN 2301, SUWAN 4452, and S7328. The watering schemes, I1 and I2, were
started after V2, which means the plant has two leaf whose collar is visible. The result showed that daily
watering can maintain soil moisture between 31-56% WET, while watering every other day and watering
every four days affected on the soil moisture reduction to 25.9% and 8.8%, respectively. The water deficit
had no effect to plant height, stem diameter and weight, and root weight. However, watering every other day
and watering every four days (I1 and I2) showed the significant effect on the root length of SUWAN 2301
(drought tolerance). In I1, SUWAN 2301 had root length longer than SUWAN 4452 and S7328 by 16.1% and
30.8%, respectively. When the interval of deficit is longer in I2, SUWAN 2301 demonstrated longer root length
than those of SUWAN 4452 and S7328 by 10.7% and 38.98%, respectively. The result showed drought
stress conditions imposing during early stage of corn mainly affected on the under-ground parts. This can be
further used as the indicator of how the tolerant corn variety could adapt to the water deficit condition.
Key Words: corn, establishment stages, drought
* Corresponding author; e-mail address: agrskn@ku.ac.th
1
ภาควิชาพืชไรนา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10900
1
Department of Agronomy, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900
282
การประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครัง้ ที่ 56 สาขาพืช

คํานํา
ขาวโพดไร (Zea mays Linn. ) เปนพืชเศรษฐกิจที่มีความสําคัญชนิดหนึ่งของประเทศไทย ความ
ตองการใชขาวโพดเลี้ยงสัตวมีแนวโนมเพิ่มขึ้น เนื่องจากความตองการใชขาวโพดไรเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรม
อาหารสัตวมีมากขึ้น ตามการขยายตัวของอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2559) แต
เนื่องจากเกิดการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศสงผลใหเกิดภาวะแลง ทําใหพืชขาดน้ําทําใหผลผลิตของขาวโพด
ลดลง น้ํ า เป น ป จ จั ย พื้ น ฐานในการเจริ ญ เติ บ โตของพื ช โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ในช ว งแรกของการเจริ ญ เติ บ โต
สภาวะแลงที่เกิดขึ้นเมื่อขาวโพดอยูในระยะการเจริญเติบโตทางลําตนและใบ โดยเฉพาะระยะ V1-V5 ทําใหอัตรา
การเจริญเติบโตลดลง ยืดเวลาการเจริญเติบโตทางลําตนและใบออกไป ซึ่งตรงขามกับเวลาที่พืชใชในการ
เจริญเติบโตพัฒนาของสวนขยายพันธุที่ใชเวลานอยลง ความแลงทําใหขนาดของใบและจํานวนใบของขาวโพด
ลดลง (Rucker et al., 1995) การแบงเซลลและการขยายตัวของเซลลจะลดลงเมื่อเกิดสภาวะแลง ซึ่งทําใหพื้นที่
ของใบลดลง (Hajibabaee et al., 2012) รากมีการตอบสนองอยางรวดเร็วตอสภาวะแลง เปนสิ่งแรกที่จะ
ตรวจจับสภาวะแลง ความยาวของราก ปริมาณของราก ความหนาแนนของราก และจํานวนของรากจะถูกรบกวน
จากสภาวะแลง ทําใหการดูดน้ําของพืชถูกรบกวน หากมีสภาวะแลงที่ไมรายแรง รากของขาวโพดจะมีความยาว
เพิ่มขึ้น หากมีสภาวะแลงรุนแรงความยาวของรากจะลดลง (Nejad et al., 2010)
การตอบสนองทางสรีรวิทยาที่มีตอสภาวะแลงของขาวโพดในระยะการเจริญเติบโตชวงแรก สามารถใช
เปนตัวบงชี้วา ขาวโพดพันธุนั้นๆ เปนพันธุที่ทนตอสภาวะแลงหรือไม สามารถใชเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับศึกษา
ทางสรีรวิทยาชีว-โมเลกุล ของพืชในสภาวะขาดน้ําตอไป

อุปกรณและวิธีการ
การเตรียมตัวอยางตนขาวโพดและการจัดการน้ํา
ปลูกขาวโพดลงในกระถางขนาดเสนผาศูนยกลาง 4 นิ้ว หยอดเมล็ดขาวโพด กระถางละ 1 เมล็ด โดย
ปลูกพันธุละ 36 กระถาง รดน้ําทุกวันจนตนขาวโพดงอก เจริญเติบโต และเขาสูระยะ V2 ซึ่งเปนระยะที่ตน
ขาวโพดปรากฎใบจริงที่กางเต็มที่ 2 ใบ (ประมาณ 13 วันหลังปลูก) จึงเริ่มใหน้ําทุก 1, 2 หรือ 4 วัน โดยวาง
แผนการทดลองแบบ Factorial in Randomized Block Design มี 4 ซ้ํา ซ้ําละ 1 กระถาง
บันทึกขอมูลความชื้นดิน
บันทึกขอมูลความชื้นดินทุกวันเวลา 07.00 และ 19.00 น. ใดวยเครื่อง WET Sensor Kit
บันทึกขอมูลลักษณะทางการเกษตร
เก็บตัวอยาง 3 ครั้ง ในวันที่ 5, 9 และ 13 โดยนําตนขาวโพดทุกพันธุทุกรูปแบบการใหน้ํา มาทําการวัด
ความสูง โดยวัดจากโคนที่ชิดดิน ถึงครึ่งงหนึ่งของใบที่สูงที่สุดที่กางเต็มที่ ทําซ้ําในทุกรอบของการเก็บขอมูล นํา
ตนขาวโพดที่วัดความสูงแลวมาวัดเสนผาศูนยกลางของลําตน วัดจากโคนที่ชิดกับผิวดิน โดยใชเครื่อง Digital

283
สาขาพืช การประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 56

Vernier Caliper ตัดตนขาวโพดที่วัดความสูงและเสนผาศูนยกลางลําตน โดยตัดใหชิดผิวดิน จากนั้นนํามาชั่ง


น้ําหนักสด ดวยเครื่องชั่งแบบทศนิยม 2 ตําแหนง แกะดินออกจากสวนรากที่อยูในกระถางอยางระมัดระวัง ลางรากให
สะอาด วัดความยาวของราก โดยใชตลับเมตร วัดจากใตโคนจนถึงรากฝอยรากที่ยาวที่สุด

ผลและวิจารณผลการทดลอง 
1. ความชื้นในดิน
พบวา การใหน้ําทุกวันสามารถเก็บรักษาความชื้นในดินไวไดถึง 31 – 56 % WET (Figure 1) ในขณะที่
การใหน้ําทุกสองวัน สามารถรักษาความชื้นในดินไวไดเฉลี่ย 25.9% WET (Figure 2) และการใหน้ําทุกสี่วัน ทํา
ใหดินมีความชื้นลดลงเฉลี่ยจนถึงระดับ 8.8% WET (Figure 3)

2. ลักษณะทางการเกษตร
- ความสูงลําตน
ความสูงของลําตน ที่วัดจากโคนที่ชิดดินถึงครึ่งหนึ่งของใบที่กางออกเต็มที่ ในรอบการเก็บขอมูลครั้งที่ 1
ไมมีความแตกตางทางสถิติทั้งระหวางพันธุ และระหวางรูปแบบการใหน้ํา ในรอบการเก็บขอมูลที่ 2 พบวา การให
น้ํ า ทุ ก วั น ทํ า ให ค วามสู ง ของลํ า ต น ของพั น ธุ สุ ว รรณ 4452 มี ค วามสู ง มากกว า อี ก สองพั น ธุ อ ย า งมี นั ย สํ า คั ญ
ทางสถิติ แตในการใหน้ําแบบทุกสองวันและทุกสี่วัน ความสูงลําตนไมมีความแตกตางทางสถิติระหวางพันธุ
ในรอบการเก็บขอมูลที่ 3 ไมพบความแตกตางทางสถิติทั้งระหวางพันธุ และระหวางรูปแบบการใหน้ํา และ พบวา
คาเฉลี่ยของทั้ง 3 รอบนั้น ความสูงของลําตนไมมีความแตกตางกันทางสถิติทั้งระหวางพันธุ และระหวางรูปแบบ
การใหน้ํา (Table 1)
- เสนผาศูนยกลางลําตน
เสนผาศูนยกลางลําตน ในรอบการเก็บขอมูลครั้งที่ 1 ไมมีความแตกตางทางสถิติทั้งระหวางพันธุ และ
ระหวางรูปแบบการใหน้ํา ในรอบการเก็บขอมูลที่ 2 พบวาการใหน้ําทุกวันทําใหเสนผาศูนยกลางลําตนของพันธุ
S7328 มีคานอยกวาอีกสองพันธุอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สวนการใหน้ําแบบทุกสองวันนั้นไมพบวามีความ
แตกตางกัน แตในการใหน้ําแบบทุกสี่วัน พบวา พันธุสุวรรณ 2301 มีขนาดเสนผาศูนยกลางลําตนมากที่สุด
ลําดับตอมา คือ พันธุ S7328 และพันธุสุวรรณ 4452 มีขนาดเสนผาศูนยกลางลําตนนอยที่สุด สวนในรอบการเก็บ
ข อมู ลที่ 3 ไม พบความแตกต างทางสถิ ติ ทั้ งระหว างพั นธุ และระหว างรู ปแบบการให น้ํ า ค าเฉลี่ ยของทั้ ง 3 รอบ
เสนผาศูนยกลางของลําตนไมมีความแตกตางกันทางสถิติทั้งระหวางพันธุ และระหวางรูปแบบการใหน้ํา (Table 2)
- น้ําหนักลําตน
น้ําหนักลําตนขาวโพด ในรอบการเก็บขอมูลครั้งที่ 1 ไมมีความแตกตางทางสถิติทั้งระหวางพันธุ และ
ระหวางรูปแบบการใหน้ํา แตในรอบการเก็บขอมูลที่ 2 พบวา การใหน้ําทุกวัน มีผลทําใหน้ําหนักลําตนขาวโพด
ของพันธุ สุวรรณ 4452 มีน้ําหนักมากกวาอีกสองพันธุอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สวนในการใหน้ําแบบทุกสองวัน
และทุกสี่วันนั้นไมพบวามีความแตกตางสถิติทั้งระหวางพันธุ และระหวางรูปแบบการใหน้ํา สําหรับคาเฉลี่ยของ
ทั้ง 3 รอบการเก็บขอมูลนั้น น้ําหนักของลําตนไมมีความแตกตางกันทางสถิติทั้งระหวางพันธุ และระหวางรูปแบบ
การใหน้ํา (Table 3)
284
การประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครัง้ ที่ 56 สาขาพืช

- ความยาวราก
ความยาวของรากขาวโพด ในรอบการเก็บขอมูลครั้งที่ 1, 2 และ 3 ตามตารางที่ 6 ไมมีความแตกตาง
ทางสถิติทั้งระหวางพันธุ และระหวางรูปแบบการใหน้ํา แตเมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยของการเก็บขอมูลทั้ง 3 รอบนั้น
พบวา ความยาวรากของทั้งสามพันธุในการใหน้ําแบบทุกวัน ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ แตในการใหน้ําแบบ
ทุกสองวันนั้น ความยาวรากของพันธุ สุวรรณ 2301 ซึ่งเปนพันธุที่ไดรับการรับรองวาทนแลงนั้น มีความยาว
มากกวาอีกสองพันธุอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยมีความยาวรากมากกวาพันธุสุวรรณ 4452 คิดเปน 16.1%
และมีความยาวรากมากกวาพันธุ S7328 คิดเปน 30.8% ในสวนของการใหน้ําแบบทุกสี่วันนั้น พันธุสุวรรณ 2301
มี ค วามยาวรากมากกว า พั น ธุ สุ ว รรณ 4452 และ S7328 คิ ด เป น 10.7% และ 38.98% ตามลํ า ดั บ และ
พันธุสุวรรณ 4452 มีความยาวรากมากกวาพันธุ S7328 คิดเปน 31.69%
จากผลการทดลอง พบวาสอดคลองกับการทดลองของ Nejad et al., (2010) กลาววา รากมีการ
ตอบสนองอยางรวดเร็วตอสภาวะแลง ความยาวของราก ปริมาณของราก ความหนาแนนของราก และจํานวน
ของรากจะถูกรบกวนจากสภาวะแลง หากมีสภาวะแลงเล็กนอย รากของขาวโพดจะมีความยาวเพิ่มขึ้น หากมี
สภาวะแลงรุนแรงความยาวของรากจะลดลง

สรุป
การใหน้ําทุกวันสามารถรักษาระดับความชื้นดินไวที่ 31.0 % WET ในขณะที่การงดใหน้ํา 2 วันและ 4
วัน ทําใหคาความชื้นดินลดลงถึงระดับ 25.9% และ 8.8% ตามลําดับ สวนการเจริญเติบโตและการพัฒนาของ
ขาวโพดนั้น พบวาการงดน้ําไมมีผลตอ คาความสูงของลําตน เสนผาศูนยกลางลําตน น้ําหนักของลําตน ของ
ขาวโพดทั้ง 3 พันธุ ในขณะที่การงดใหน้ํา 2 วัน และ 4 วัน (I1 และ I2) มีผลทําให ความยาวรากของขาวโพดพันธุ
สุวรรณ 2301 (พันธุทนแลง) มีคามากที่สุดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยเมื่อพิจารณาระดับการใหน้ําที่ระดับ I1
พบวาพันธุสุวรรณ 2301 มีความยาวรากมากกวาพันธุสุวรรณ 4452 และ S7328 คิดเปน 16.1% และ 30.8%
ตามลําดับ ในขณะที่การใหน้ําที่ระดับ I2 พันธุสุวรรณ 2301 มีความยาวรากมากกวาพันธุสุวรรณ 4452 และ
S7328 คิดเปน 10.7% และ 38.98% ตามลําดับ ในสวนของน้ําหนักราก พันธุสุวรรณ 2301 ในการเก็บตัวอยาง
ครั้งที่ 1 และ 2 มีน้ําหนักรากมากกวาอีกสอง ผลการทดลองที่ไดชี้ใหเห็นวาสภาวะขาดน้ําที่ขาวโพดไดรับทําใหเกิด
ความแตกตางของการเจริญเติบโตในสวนใตดิน ซึ่งหากมีการศึกษาเพิ่มเติมที่ระดับการขาดน้ําที่รุนแรงมากขึ้น รวมทั้ง
เพิ่มเติมการศึกษาขอมูลดานสรีรวิทยาที่เปลี่ยนแปลงไปจะทําใหเขาใจกลไกการตอบสนองตอการขาดน้ําที่ระยะตั้งตัว
ไดเปนอยางดี สามารถใชเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับศึกษาทางสรีรวิทยาชีวโมเลกุลของพืชในสภาวะขาดน้ําตอไป
70.0
60.0
50.0 average
40.0
WET%

30.0 2301
20.0
10.0 4452
-
7328

Figure 1: Soil moisture content of watering daily


285
สาขาพืช การประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 56

70
60
50
40 average
30
WET%

20 2301
10
0 4452
7328

Figure 2: Soil moisture content of watering every two days

70
60
50 average
40
WET%

30 2301
20 4452
10
0 7328

DAY10(7…
DAY10(7P…
DAY11(7…
DAY11(7P…
DAY12(7…
DAY12(7P…
DAY13(7…
DAY1(7AM)
DAY1(7PM)
DAY2(7AM)
DAY2(7PM)
DAY3(7AM)
DAY3(7PM)
DAY4(7AM)
DAY4(7PM)
DAY5(7AM)
DAY5(7PM)
DAY6(7AM)
DAY6(7PM)
DAY7(7AM)
DAY7(7PM)
DAY8(7AM)
DAY8(7PM)
DAY9(7AM)
DAY9(7PM)

Figure 3: Soil moisture content of watering every four days

Table 1: Plant height (cm) of 3 corn cultivars with 3 irrigation frequencies at 5, 9 and 13 days after
stop watering.
Days after Varietys Frequency CV (%)
stop watering daily (I0) every two days (I1) every four days (I2)
Suwan 2301 23.25 a 24.00 a 21.25 a
5 Suwan 4452 28.25 a 20.75 a 20.750 a 11.78
S7328 28.00 a 23.50 a 23.25 a
Suwan 2301 33.25 b 32.50 a 25.25 a
9 Suwan 4452 44.00 a 37.00 a 28.50 a 10.24
S7328 31.25 b 33.25 a 27.50 a
Suwan 2301 40.25 a 36.50 a 31.00 a
13 Suwan 4452 48.00 a 39.00 a 33.75 a 7.79
S7328 44.75 a 39.75 a 28.75 a
Suwan 2301 32.20 a 31.00 a 15.80 a
average Suwan 4452 40.10 a 33.70 a 27.70 a
S7328 34.70 a 32.20 a 16.50 a
Note: Means column with the same letter are not significantly different from each other

286
การประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครัง้ ที่ 56 สาขาพืช

Table 2: Stem diameter (cm) of 3 corn cultivars with 3 irrigation frequencies at 5, 9 and 13 days after
stop watering.
Days after Varietys Frequency CV (%)
stop watering Daily (I0) every two days (I1) every four days (I2)
Suwan 2301 6.12 a 5.98 a 4.75 a
5 Suwan 4452 7.83 a 5.150a 5.15 a 11.69
S7328 5.55 a 4.48 a 4.48 a
Suwan 2301 8.25 a 7.23 a 5.88 a
9 Suwan 4452 8.70 a 7.25 a 5.05 b 6.72
S7328 7.05 b 6.73 a 5.38 ab
Suwan 2301 9.20 a 8.35 a 7.30 a
13 Suwan 4452 9.55 a 8.58 a 7.13 a 9.08
S7328 8.75 a 8.58 a 6.33 a
Suwan 2301 7.90 a 7.20 a 6.00 a
average Suwan 4452 8.70 a 7.30 a 5.80 a
S7328 7.10 a 6.60 a 5.40 a
Note: Means column with the same letter are not significantly different from each other

Table 3: Stem weight (g) of 3 corn cultivars with 3 irrigation frequencies at 5, 9 and 13 days after stop
watering.
Days after Varietys Frequency CV (%)
stop watering daily (I0) every two days (I1) every four days (I2)
Suwan 2301 4.65 a 3.23 a 2.15 a
5 Suwan 4452 6.40 a 8.13 a 2.00 a 74.20
S7328 3.50 a 2.95 a 2.08 a
Suwan 2301 9.30 b 8.50 a 5.35 a
9 Suwan 4452 15.83 a 8.83 a 4.95 a 15.26
S7328 7.90 b 7.58 a 5.10 a
Suwan 2301 14.60 a 11.98 a 6.95 a
13 Suwan 4452 16.40 a 13.43 a 8.40 a 22.01
S7328 11.75 a 10.40 a 6.78 a
Suwan 2301 9.50 a 7.90 a 4.80 a
average Suwan 4452 12.90 a 10.10 a 5.10 a
S7328 7.70 a 7.00 a 4.60 a
Note: Means column with the same letter are not significantly different from each other

287
สาขาพืช การประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครัง้ ที่ 56

Table 4: Root length (cm) of 3 corn cultivars with 3 irrigation frequencies at 5, 9 and 13 days after
stop watering.
Days after Varietys Frequency CV (%)
stop watering daily (I0) every two days (I1) every four days (I2)
Suwan 2301 38.20 a 38.25 a 34.25 a
5 Suwan 4452 29.00 a 38.25 a 24.00 a 18.47
S7328 20.50 a 24.50 a 20.50 a
Suwan 2301 39.50 a 39.00 a 45.00 a
9 Suwan 4452 37.00 a 33.25 a 33.50 a 14.60
S7328 27.00 a 33.25 a 31.00 a
Suwan 2301 52.50 a 43.50 a 50.00 a
13 Suwan 4452 37.00 a 32.75 a 38.00 a 19.91
S7328 35.50 a 30.50 a 27.25 a
Suwan 2301 43.40 a 40.30 a 43.10 a
average Suwan 4452 34.30 a 33.80 b 38.50 ab
S7328 27.70 a 27.90 b 26.30 a
Note: Means column with the same letter are not significantly different from each other

กิตติกรรมประกาศ
งานวิ จั ย นี้ เ ป น ป ญ หาพิ เ ศษระดั บ ปริ ญ ญาตรี ข อง ภาควิ ช าพื ช ไร น า คณะเกษตร มหาวิ ท ยาลั ย
เกษตรศาสตร ขอบคุณภาควิชาพืชไรนาที่ใหการสนับสนุนงบประมาณและสถานที่ในการทํางานวิจัยครั้งนี้

เอกสารอางอิง
สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2559. ขอมูลเศรษฐกิจ พยากรณผลผลิตการเกษตร. วารสารการ
พยากรณผลผลิตการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ,
กรุงเทพฯ.
Hajibabaee, M., Azizi, F and Zargari, K., 2012. Effect of drought stress on some morphological,
physiological and agronomic traits in various foliage corn hybrids. Am Eurasian. J. Agric
Environ Sci. 12: 890–896.
Nejad, S.K., Bakhshande, A., Nasab, S.B., and Payande, K., 2010. Effect of drought stress on corn
root growth. Rep Opin. 2: 1–7.
Rucker, K.S., Kvien, C.K., Holbrook, C.C., and Hook, J.E., 1995. Identification of peanut genotypes
with improved drought avoidance traits. Peanut Sci. 24: 14–18.

288

You might also like