You are on page 1of 8

ผลการใหน้ําชลประทานที่มีผลตอการเจริญเติบโตและผลผลิตขมิ้นชัน

Irrigation effects on growth and yield of Turmeric (Curcuma longa)

สมยศ เดชภิรัตนมงคล สมมารถ อยูสุขยิ่งสถาพร และสัจจา ธรรมาวิสุทธิผล


Somyot Detpiratmongkol, Sommart Yoosukyingsataporn, and Sutja Tummavisuttipon

บทคัดยอ
เทคโนโลยีของการใหน้ําชลประทาน มีความจําเปนอยางมากสําหรับความสําเร็จในการผลิต
ขมิ้นชันเปนการคาในประเทศไทย อยางไรก็ตามการตอบสนองของผลผลิตขมิ้นชันตอการใหน้ําชลประทานใน
ปจจุบันยังไมมคี วามแนนอนมากนัก ดังนั้นจุดประสงคของการทดลองในครั้งนี้เพื่อตองการทราบวาผลของการ
ใหน้ําชลประทานที่มีตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของขมิ้นชัน ทําการศึกษาในสภาพไรที่คณะเทคโนโลยีการ
เกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ระหวางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม 2545
วางแผนการทดลองแบบ split-plot โดยจัดวางสิ่งทดลองแบบ randomized complete block มีจํานวน 3 ซ้ํา
Main plot ไดแกความถี่ของการใหน้ํา 5 แบบคือใหน้ําทุก 7,10,15,20 และ 30 วัน สวน Subplot คือการให
น้ําในปริมาณทีแ่ ตกตางกัน 2 ระดับคือ ปริมาณน้ําที่ใหเทียบเทากับปริมาณน้ําฝนที่ 20 และ 30 มม. ตามลําดับ
ผลการทดลองนี้ไมพบความสัมพันธระหวางความถี่ของการใหน้ําและปริมาณน้ํา การใหน้ําชลประทานมีผลตอ
การเจริญเติบโตและผลผลิตของขมิ้นชัน การใหน้ําในปริมาณและความถี่ที่นอยลงจะทําใหคาอุณหภูมิใบของ
ขมิ้นชันมีคาเพิม่ ขึ้น แตอัตราการคายน้ําและ Total conductance ของปากใบมีมาคาลดลงขมิ้นชันที่ปลูกใน
แปลงที่ไดระดับน้ําที่ระดับความถี่มากที่สุดคือทุก 7 วัน และในปริมาณที่มากกวาคือ 30 มม. ขมิน้ ชันจะมี
ความสูง, ดัชนีพื้นที่ใบ,น้ําหนักใบ ตนและเหงาแหง, อัตราการเจริญเติบโตและผลผลิตเหงาแหงมีคามากที่สุด
ในขณะที่ขมิ้นชันไดรับน้ําในระดับความถี่ที่นอ ยที่สุดคือทุก 30 วัน และในปริมาณที่นอยกวาคือ 20 มม. ขมิ้นชัน
มีคาดังกลาวต่ําที่สุด

ABSTRACT
Irrigation technologies are necessary for the successful commercial production of turmeric in
Thailand. However, the yield response of turmeric to irrigation, presently, remains inconsistant. Thus,
the objective of this research was to document the effects of water irrigation on growth and yield of
Turmeric. Field study was coducted at Faculty of Agricultural Technology, King Mongkut,s Institute of
Technology Ladkrabang during May to December, 2002. The experimental design was a randomized
complete block with a split-plot arrangement of treatments and three replicates were used. Five
irrigation frequencies (i.e., every 7,10,15,20 and 30 days) were considered as main-plot and two
different water amounts (i.e., 20 mm and 30 mm of water equivalent to rainfall) were considered as
subplot. The results showed that there were no singificant interactions between water frequencies
and amounts. Growth and yield of Turmeric were affected by irrigation. Lower water amount and less
frequent irrigation increased leaf temperature but transpiration rate and total conductance of stomata
were reduced. Turmeric grown under the highest irrigation frequency (every 7 days) and the higher
water amount (30 mm) gave the highest plant height, leaf area index, leaf, stem and rhizome dry
weight, crop growth rate and rhizome dry weight yield where as the least irrigation frequency (every
30 days) and the lower water amount (20 mm) gave the lowest.
Key word : Irrigation, Growth, Yield, Turmeric
E-mail : kdsomyot@kmitl.ac.th
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520
Department of Plant Production Technology , Faculty of Agricultural Technology,
King Mongkut,s Institute of Technology Ladkrabang. Bangkok 10520
คํานํา
ขมิน้ ชัน (Curcuma longa L.) จัดเปนพืชสมุนไพรที่มีความสําคัญพืชหนึ่งของประเทศไทย ประโยชน
ของขมิ้นชัน สวนใหญนํามาใชในการรักษาโรค ซึ่งไดแก เปนยาลดกรดในกระเพาะอาหาร ขับลม และแกปวด
ทองไดดี เปนตน นอกจากนี้ยังนํามาใชประโยชนเปนสียอมผา เครื่องสําอางและอื่น ๆ อีกมากมาย (สํานักงาน
ขอมูลสมุนไพร, 2543) การปลูกขมิ้นชันของเกษตรกรสวนใหญมีการปลูกโดยอาศัยน้ําฝนเปนหลัก บางครั้งฝน
ตกมีการแพรกระจายไมสม่ําเสมอ และปริมาณน้ําฝนที่ตกลงมาในปริมาณนอย จึงไมเพียงพอตอการ
เจริญเติบโตของขมิ้นชันได ถึงแมวาขมิ้นชันจะเปนพืชที่มคี วามสามารถในการทดแลงไดดีก็ตามแตเมื่อไดรับน้ํา
ในปริมาณที่ไมเพียงพอตอการเจริญเติบโตก็อาจมีผลทําใหการเจริญเติบโตทางลําตนลดลง และมีผลตอเนื่องไป
จนถึงผลผลิตเหงาใหมีคาลดลงได สมยศ (2544) พบวา พืชเมื่อไดรับน้ําในปริมาณนอยลงซึ่งไมเพียงพอตอการ
เจริญเติบโต พืชจะแสดงอาการขาดน้ําสังเกตเห็นไดอยางชัดเจน การเจริญเติบโตทางลําตนลดลง ขอบใบแหง
และมวน ลําตนผอม มีการแตกกอนอย และมีผลตอผลผลิตหัวมีคาลดลง ซึ่งในพืชชนิดอื่น เชน เผือกหอมก็ใหผล
เชนเดียวกัน (ศักดิ์สิริ, 2548) จากการสํารวจในแปลงปลูกขมิ้นชันของเกษตรกรในหลายพื้นที่นั้น คณะ
ผูทําการวิจัยพบวาขมิ้นชันในแปลงปลูกมักมีการขาดน้ําอยูเสมอ และมีผลกระทบตอผลผลิตลดลงอยางมาก ซึ่ง
วิธีการหนึ่งที่เปนไปไดก็คือ การใหน้ําแกขมิ้นชันอยางเพียงพอตลอดฤดูปลูกและไมใหขมิ้นชันเกิดการขาดน้ําขึ้น
ก็จะเปนแนวทางหนึ่งในการเพิ่มผลผลิตขมิ้นชันได อยางไรก็ตามการใหน้ําแกขมิน้ ชันในปริมาณและระดับ
ความถี่มากนอยเทาไรจึงจะเหมาะสม จากการตรวจเอกสารพบวายังไมเคยมีการศึกษากันมากอน ดังนั้นจึงได
ทําการศึกษาในครั้งนี้ขึ้น การศึกษาในครั้งนี้จะเปนประโยชนแกเกษตรกรผูปลูกขมิ้นชันเปนอยางมาก เพราะ
เกษตรกรจะไดทราบวาควรใหน้ําแกขมิ้นชันในระดับความถีแ่ ละปริมาณเทาใด ขมิ้นชันจึงจะมีการเจริญเติบโตที่
ดีและใหผลผลิตสูงสุดซึ่งจะเปนการเพิ่มรายไดใหแกเกษตรกรผูปลูกขมิ้นชันไดในอนาคต

อุปกรณและวิธีการ
ทําการทดลองที่แปลงทดลองของคณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ
ทหารลาดกระบัง ระหวางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2545 โดยวางแผนแบบ Split plot in
randomized complete block design มีจํานวน 3 ซ้ํา Main plot ไดแกความถี่ของการใหน้ํา 5 แบบคือ
ใหน้ําแกขมิ้นชันทุก 7,10,15,20 และ 30 วัน สวน Sub plot ไดแกปริมาณน้ําที่ใหแกขมิ้นชัน 2 ระดับความถี่
คือปริมาณน้ําที่เทียบเทากับปริมาณน้ําฝนเทากับ 20 และ 30 มิลลิเมตร ทําการทดลองโดยปลูกขมิ้นชันลงใน
แปลงยอยขนาด 2x3 เมตร จํานวน 30 แปลงยอย โดยใชทอนพันธุขมิ้นชันที่มีอายุ 11-12 เดือน ทอนพันธที่
นํามาปลูกไดจากแงงของขมิ้นชันที่มีความยาว 10 เซนติเมตร ใชระยะปลูก 20x20 เซนติเมตร หลังจากปลูกใน
ชวงแรกจะมีการใหน้ําแกขมิ้นชันอยางสม่ําเสมอทุก 2 วัน โดยควบคุมการใหน้ําในปริมาณที่จํากัดครั้งละ 10
มิ ล ลิ เ มตร เมื่ อ ขมิ้ น ชั น อายุ 30 วั น จึ ง เริ่ ม ให น้ํ า ตามระดั บ ความถี่ แ ละปริ ม าณน้ํ า ที่ กํ า หนดไว ใ นสิ่ ง ทดลอง
จนกระทั่งเก็บเกี่ยว การใหน้ําจะใหในชวงเวลาเชาที่มีลมสงบโดยใชบัวรดน้ํา สําหรับการดูแลรักษาหลังจากปลูก
ขมิ้นชันจะมีการกําจัดวัชพืชทุกเดือนจนกระทั่งขมิ้นชันเจริญเติบโตคลุมพื้นที่จึงหยุดกําจัดวัชพืช สวนการใส
ปุยจะใสปุยคอกอัตรา 2-3 ตันตอไร เมื่อขมิ้นชันมีอายุได 2 เดือน และเมื่อขมิ้นชันมีอายุ 4 เดือนจะใสปุย
สูตร 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมตอไร สวนโรคแมลงที่มีการระบาดในแปลงปลูกขมิ้นชันทําการปองกันแมลง
กัดกินใบโดยฉีดพนยาเซพวิน อัตรา 20 ซีซีตอน้ํา 20 ลิตร และโรคใบจุดฉีดพนยาเบนเลทอัตรา 20 กรัมตอน้ํา
20 ลิตรฉีดพนทุก 2 สัปดาหในชวงที่มีการระบาดมาก
การเก็บขอมูล ทําการตรวจวัดอุณหภูมิใบ อัตราการคายน้ําจากใบและคา Total conductance โดยใช
เครื่องมือ Steady state porometer รุน LI- 1600 ทําโดยสุมวัดใบขมิ้นชันที่มีการขยายตัวเต็มที่จํานวน 3 ใบ แลว
จึงนํามาหาคาเฉลี่ย ซึ่งทําการตรวจวัดเวลาประมาณ 14.00 – 16.00 น. เมื่อขมิ้นชันมีอายุ 90 และ 180 วัน
ตามลําดับ สวนการเจริญเติบโตทางลําตน ไดเก็บตัวอยางของขมิ้นชันที่อายุ 90,120,150 และ 180 วัน หลังปลูก
ตามลําดับ เพื่อนํามาหาคาอัตราการเจริญเติบโตทางลําตนของขมิ้นชัน โดยนําขมิ้นชันทั้งตนมาอบในตูอบที่
อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส เปนเวลานาน 72 ชั่วโมง หรือจนน้ําหนักแหงคงที่แลวจึงนําน้ําหนักแหงไปคํานวณหา
คาของอัตราการเจริญเติบโต ตามวิธีการของ Hunt (1978) สวนความสูง ดัชนีพื้นที่ใบ น้ําหนักใบ ตนและเหงา
แหง รวมทั้งผลผลิตเหงาแหงทําการตรวจวัดครั้งเดียวในชวงเก็บเกี่ยวโดยทําการสุมเก็บขมิน้ ชันจํานวน 1 หลุมตอ
แปลงยอย วัดความสูงของลําตน ดัชนีพื้นที่ใบ สวนน้ําหนักใบ ตนและเหงาแหง นําเขาตูอบเพื่อหาน้ําหนักแหง
ตามลําดับ สําหรับผลผลิตเหงาแหงทําการตรวจวัดโดยเก็บเกี่ยวผลผลิตเหงาของขมิ้นชันในพื้นที่ 1 ตรม.
หลังจากนั้นนํามาเขาตูอบและนํามาชั่งเพื่อหาน้ําหนักแหง

Table 1 Leaf temperature, transpiration rate and total conductance of Turmeric at 90 and 180 DAP as
affected by irrigation frequencies and water amounts.
Leaf temperature Transpiration rate Total conductance
° -2 -1
Treatments ( C) (m mol m s ) (m mol m-2s-1)
90 DAP 180 DAP 90 DAP 180 DAP 90 DAP 180 DAP
Irrigation frequencies Every 7 days 29.22 29.80 0.22 0.22 5.10 5.21
Every 10 days 29.33 30.90 0.21 0.22 4.98 4.90
Every 15 days 30.00 31.35 0.19 0.19 4.30 5.35
Every 20 days 30.62 32.00 0.17 0.18 4.18 4.16
Every 30 days 31.50 33.36 0.16 0.15 3.66 3.99
Water amounts 20 mm 31.13 33.34 0.16 0.15 3.54 3.70
30 mm 29.14 29.63 0.22 0.23 5.34 5.78
LSD (0.05)(Irrigation frequencies) 0.56 1.12 0.03 0.02 0.36 0.24
LSD (0.05)(Water amounts) 0.16 0.70 0.01 0.02 0.07 0.08
C.V. (%)(Irrigation frequencies) 12.47 13.31 7.31 17.38 17.35 17.76
C.V. (%)(Water amounts) 11.44 12.98 14.34 16.91 16.79 14.29
DAP = Days after planting
อุณหภูมิใบของขมิ้นชัน (Table 1) ที่อายุ 90 และ 180 วัน พบวามีความแตกตางกันในทางสถิติ
ขมิ้นชันที่ไดรับน้ําในระดับความถี่ที่ลดลงจะมีผลทําใหอุณหภูมิใบมีคาเพิม่ มากขึ้น อุณหภูมิของใบมีคาสูงที่สุด
เมื่อขมิ้นชันไดรบั น้ําทุก 30 วัน และขมิ้นชันที่ไดรับน้ําทุก 7 วัน มีอุณหภูมิใบต่าํ สุด สวนปริมาณน้ําที่ขมิ้นชัน
ไดรับแตกตางกันพบวา ขมิ้นชันที่ไดรับน้ําในปริมาณนอย (20 มม.) มีอณ ุ หภูมิใบสูงกวาขมิ้นชันที่ไดรับน้ําใน
ปริมาณมาก (30 มม.) แตกตางกัน
อัตราการคายน้ําจากใบ (Table 1) ที่อายุ 90 และ 180 วัน พบวามีความแตกตางกันในทางสถิติ
โดยขมิ้นชันที่ไดรับน้ําในระดับความถีม่ ากจะมีอัตราการคายน้ําจากใบมากกวาขมิ้นชันทีไ่ ดรับน้ําในระดับความถี่
ที่ลดลง อัตราการคายน้ําจากใบของขมิ้นชันที่ไดรับน้ําที่ระดับความถีม่ ากที่สุดคือทุก 7 วัน มีอัตราการคายน้ํา
สูงสุดและขมิ้นชันที่ไดรับน้ําในปริมาณความถี่นอยที่สุด มีอัตราการคายน้ําต่ําสุด สวนขมิ้นชันที่ไดรับน้ําใน
ปริมาณที่แตกตางกัน พบวาขมิ้นชันไดรับน้ําในปริมาณมาก คือ 30 มม. มีอัตราการคายน้ํา มากกวาขมิ้นชันที่
ไดรับน้ําในปริมาณนอยคือ 20 มม. แตกตางกัน
คา Total conductance (Table 1) ของขมิ้นชันที่อายุ 90 และ 180 วัน พบวามีความแตกตางกันในทาง
สถิติ โดยขมิ้นชันที่ไดรับน้ําในระดับความถีท่ ี่นอยครั้งจะมีคา Total conductance มากกวาขมิ้นชันทีไ่ ดรับน้ําใน
ระดับความถี่ทนี่ านครั้งแตกตางกันอยางเดนชัด สวนการใหน้ําในปริมาณที่แตกตางกัน ขมิ้นชันที่ไดรับน้ําใน
ปริมาณมากคือ 30 มม. มีคา Total conductance มากกวาขมิ้นชันที่ไดรับน้ําในปริมาณนอยคือ 20 มม.

Table 2 Plant height, leaf area index (LAI), stem, leaf and rhizome dry weight of turmeric at harvest as
affected by irrigation frequencies and water amounts.
Treatments Plant height LAI Leaf DW Stem DW Rhizome DW
(cm) (g/hill) (g/hill) (g/hill)
Irrigation frequencies Every 7 days 70.62 2.87 7.35 4.31 4.02
Every 10 days 67.93 2.46 6.30 3.82 3.56
Every 15 days 63.27 2.12 5.43 3.38 3.43
Every 20 days 58.40 1.73 4.40 2.79 2.58
Every 30 days 52.58 1.60 4.10 2.42 2.47
Water amounts 20 mm. 52.62 1.48 3.76 2.08 2.25
30 mm. 72.50 2.84 7.27 4.62 4.17
LSD (0.05)(Irrigation frequencies) 8.53 0.39 2.49 0.31 0.66
LSD (0.05)(Water amounts) 2.21 0.40 1.37 0.76 1.09
C.V. (%)(Irrigation frequencies) 11.14 19.12 18.21 12.10 16.85
C.V. (%)(Water amounts) 12.25 14.74 15.76 14.53 21.72
DW = Dry weight
ความสูงของขมิ้นชัน (Table 2) เมือ่ ไดรับน้ําในระดับความถี่และปริมาณที่แตกตางกันพบวาเมือ่ ใหน้ํา
ในระดับความถี่ทุก 7 วัน ขมิ้นชันมีความสูงมากที่สุดเทากับ 70.62 ซม. และขมิ้นชันจะมีความสูงลดลงเมื่อ
ไดรับน้ําที่ระดับความถี่ทุก 10,15,20 และ 30 วัน โดยมีความสูงลดลงเทากับ 3.81, 10.41, 17.30 และ 25.55
เปอรเซ็นต ตามลําดับ เมือ่ เปรียบเทียบกับขมิ้นชันที่ไดรับน้ําทุก 7 วัน สวนปริมาณน้ําที่ขมิ้นชันไดรับแตกตาง
กันพบวา ขมิน้ ชันที่ไดรับน้ําในปริมาณมากคือ 30 มม. ขมิ้นชันจะมีความสูงมากกวาขมิ้นที่ไดรับน้ําในปริมาณ
นอยกวา คือ 20 มม. เทากับ 27.42 เปอรเซ็นต
ดัชนีพื้นที่ใบและน้ําหนักใบแหงของขมิ้นชัน (Table 2) เมือ่ ไดรับน้ําในระดับความถี่ทบี่ อยครั้ง คือ ทุก 7
วัน ขมิ้นชันมีดชั นีพื้นที่ใบและน้ําหนักแหงมีคามากที่สุด คือมีคาเทากับ 2.87 และ 7.35 กรัมตอหลุมตามลําดับ
และเมื่อความถี่ของการใหน้ําลดลง ดัชนีพื้นที่ใบและน้ําหนักใบแหงมีคาลดลงเปนลําดับ ขมิ้นชันที่ไดรับน้ําใน
ระดับความถี่ทนี่ านครั้งคือทุก 30 วัน ขมิ้นชันมีดัชนีพื้นที่ใบและน้ําหนักใบแหงนอยที่สุดเทากับ 1.60 และ 4.10
กรัมตอหลุมตามลําดับ สวนขมิ้นชันที่ไดรับน้ําในปริมาณทีแ่ ตกตางกัน ขมิ้นชันที่ไดรับน้ําในปริมาณมาก (30
มม.) จะมีคาของดัชนีพื้นที่ใบ และน้ําหนักใบแหงมากกวาขมิ้นชันที่ไดรับน้ําในปริมาณนอย (20 มม.) แตกตาง
กันในทางสถิติ
น้ําหนักตนและเหงาแหงของขมิ้นชัน (Table 2) เมื่อไดรับน้าํ ในระดับความถี่ที่แตกตางกันพบวาขมิ้นชัน
ที่ไดรับน้ําในระดับความถีม่ ากที่สุดคือ ทุก 7 วัน มีคาของน้ําหนักตนและเหงาแหงมากที่สุดเทากับ 4.31 และ
4.02 กรัมตอตนตามลําดับ เมื่อขมิ้นชันไดรับน้ําในระดับความถี่ที่ลดลงคือไดรับน้ําทุก 10, 15 และ 20 วัน
ขมิ้นชันจะมีน้ําหนักตนและเหงาแหงลดลงเปนลําดับ ขมิ้นชันไดรับน้ําในระดับความถี่ที่นอ ยที่สุดคือ ทุก 30 วัน
มีน้ําหนักตนและเหงาแหงนอยที่สุด เทากับ 2.42 และ 2.47 กรัมตอหลุมตามลําดับ สวนปริมาณน้ําที่ขมิ้นชัน
ไดรับแตกตางกันพบวาขมิ้นชันที่ไดรับน้ําในปริมาณมาก คือ 30 มม. จะมีน้ําหนักตนและเหงาแหงมากกวา
ขมิ้นชันที่ไดรับน้ําในปริมาณนอยคือ 20 มม. แตกตางกันในทางสถิติ

Table 3 Crop growth rate (during 90 to 120 DAP and 150 to 180 DAP) and rhizome dry weight at
harvest of Turmeric as affected by irrigation frequencies and water amounts.
Crop growth rate Rhizome dry weight at
2
Treat ments (g/m /day) harvest
90-120 DAP 150-180 DAP (kg/rai)
Irrigation frequencies Every 7 days 0.51 2.14 4430
Every 10 days 0.33 1.60 3622
Every 15 days 0.29 1.45 3188
Every 20 days 0.23 1.21 2762
Every 30 days 0.14 0.83 2495
Water amounts 20 mm. 0.33 1.58 2208
30 mm. 0.27 1.32 4389
LSD (0.05)(Irrigation frequencies) 0.03 0.08 143
LSD (0.05)(Water amounts) 0.03 0.03 138
C.V. (%)(Irrigation frequencies) 14.73 10.68 13.59
C.V. (%)(Water amount) 12.37 8.92 10.38
DAP = Days after planting
อัตราการเจริญเติบโตของขมิ้นชัน (กรัม/ตรม./วัน) ที่อายุ 90-120 วัน และ 150-180 วัน (Table 3)
พบวาอัตราการเจริญเติบโตของขมิ้นชันมีคาเพิ่มขึ้นเมื่อขมิน้ ชันมีอายุเพิม่ ขึ้น ขมิ้นชันที่ไดรับน้ําในระดับความถี่ที่
บอยครั้งคือ ทุก 7 วัน จะมีอตั ราการเจริญเติบโตมากที่สุด สวนขมิ้นชันทีไ่ ดรับน้ําความถี่ที่นอยครั้งคือ ทุก 30 วัน
มีอัตราการเจริญเติบโตต่ําสุด สวนปริมาณน้ําที่ใหแกขมิ้นชันแตกตางกันพบวาขมิ้นชันทีไ่ ดรับน้ําในปริมาณมาก
คือ 30 มม. มีอัตราการเจริญเติบโตมากกวาขมิ้นชันที่ไดรับน้ําในปริมาณนอยคือ 20 มม. แตกตางกัน ทั้ง 2 ชวง
อายุการเจริญเติบโต
ผลผลิตเหงาแหงของขมิ้นชันชวงเก็บเกี่ยว (Table 3) พบวา การใหน้ําทีร่ ะดับความถีบ่ อ ยครั้ง ขมิ้นชัน
จะมีผลผลิตเหงาแหงมากที่สุดโดยเฉพาะขมิ้นชันที่ไดรับน้ําทุก 7 วัน ใหผลผลิตเหงาแหงมากถึง 4,430 กก.ตอไร
ซึ่งมีคามากกวาขมิ้นชันที่ไดรับน้ําในระดับความถี่ลดลงคือใหน้ําทุก 10,15,20 และ 30 วัน มากถึง
18.23,20.90,37.64 และ 43.67 เปอรเซ็นตตามลําดับ สวนขมิ้นชันที่ไดรับน้ําในปริมาณมาก คือ 30 มม. มี
ผลผลิตเหงาแหงเทากับ 4,389 กิโลกรัมตอไร ซึ่งมีคามากกวาขมิ้นชันที่ไดรับน้ําในปริมาณนอย คือ 20 มม. มาก
ถึง 49.7 เปอรเซ็นต

วิจารณและสรุป
จากผลการทดลองนี้ชี้ใหเห็นวา ขมิ้นชันเปนพืชที่มีความตองการน้ํามากตลอดฤดูปลูก โดยเฉพาะ
ขมิ้นชันที่ไดรับน้ําอยางสม่ําเสมอระดับความถี่ที่บอยครั้งและในปริมาณที่มาก ขมิ้นชันจะมีการเจริญเติบโตทาง
ลําตนที่ดี และใหผลผลิตสูงสุด เมื่อเปรียบเทียบกันกับขมิ้นชันที่ไดรับน้ําในระดับความถี่และปริมาณที่ลดลง
ขมิ้นชันจะมีการเจริญเติบโตทางลําตนและการใหผลผลิตก็มีคาลดลงเปนลําดับ สวนขมิ้นชันที่ไดรับน้ําที่ระดับ
ความถี่นอยที่สดุ และปริมาณน้ําที่ไดรับน้ํานอยที่สุดก็มีผลทําใหขมิ้นชันมีการเจริญเติบโตทางลําตน และใหผล
ผลิตนอยที่สุดแตกตางกันในทางสถิติ การที่ขมิ้นชันไดรับน้ําในระดับความถี่และปริมาณที่ลดลงนี้จะมีผลทําให
ขมิ้นชันเกิดการขาดน้ําขึ้นได ซึ่งผลของการขาดน้ํานี้จะมีผลกระทบตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของขมิ้นชัน
ใหมีคาลดลงเปนอยางมาก ซึ่ง Ashley (1983) พบวาพืชเมือ่ ไดรับน้ําปริมาณนอยและมีการขาดน้ําเปน
เวลานาน มีผลทําใหความเตงของใบลดลง ปากใบของพืชจะปดเพื่อลดการคายน้ําของพืช จึงทําใหการ
แลกเปลี่ยนกาซคารบอนไดออกไซดระหวางพืชกับอากาศยุติลง กระบวนการสังเคราะหแสงเกิดขึ้นนอย การ
สรางอาหารจึงมีนอย จึงมีผลทําใหการเจริญเติบโตทางลําตนลดลง การสะสมน้ําหนักแหงทางใบ ลําตน และ
เหงา มีคาลดลงเมื่อเปรียบเทียบกันกับพืชที่ไมขาดน้ํา ซึ่งสอดคลองกับงานทดลองนี้ กลาวคือ ขมิ้นชันเมื่อไดรับ
น้ําในระดับความถี่และปริมาณน้ําที่ลดลงมีผลทําใหอุณหภูมิของใบมีคาเพิ่มมากขึ้น สวนอัตราการคายน้ําจาก
ใบและ Total conductance มีคาลดลง (Table 1) เมื่อเปรียบเทียบกับขมิ้นชันที่ไดรับน้ําในระดับความถี่และ
ปริมาณที่มากและไมมีการขาดน้ํา สิ่งนี้ชี้ใหเห็นวาขมิ้นชันมีการขาดน้ําเกิดขึ้นจึงมีการปรับตัวโดยมีการคายน้ํา
จากใบนอยและปากใบปด สอดคลองกับงานทดลองของ Turk and Hall (1980) ทีพ่ บวาเมือ่ พืชขาดน้ําเปน
เวลานาน พืชจะมีการปรับตัวโดยมีการขยายตัวของใบและการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ใบนอยลง เพื่อเปนการลดการ
สูญเสียน้ําออกจากปากใบลดลง ปากใบของพืชจะปด สงผลใหอุณหภูมขิ องใบมีคาสูงขึ้น ซึ่ง นิภา (2531) ได
ทดลองในงาก็ใหผลผลิตทํานองเดียวกัน นอกจากนี้ยังพบไดอีกในพืชชนิดอื่น ๆ อีกหลายชนิด เชน ถั่วพุม
(สมยศ และสมมารถ, 2543) และหญาปกกิ่ง (จุฑามาศ และธีระพนธ, 2547) เปนตน
สวนผลกระทบของการไดรับน้ําในระดับความถี่และปริมาณที่ลดลง ที่มีตอการเจริญเติบโตทางลําตน
และผลผลิตเหงาขมิ้นชันทําใหลดลงนั้น สมยศ และคณะ (2548) รายงานวาพืชเมื่อไดรับน้ําในระดับความถี่และ
ปริมาณที่ลดลงจะมีผลกระทบตอกระบวนการตาง ๆ ของการสังเคราะหแสงลดลง ซึ่งสงผลตอเนื่องไปถึงการ
เจริญเติบโตทางลําตนและการสรางผลผลิตใหมีคาลดลง สอดคลองกับงานทดลองในขมิ้นชันนี้ ที่พบวาเมื่อ
ขมิ้นชันไดรับน้ําในระดับความถี่ที่บอยครั้งคือ ทุก 7 วัน และในปริมาณน้ําที่ไดรับคอนขางมาก คือ 30 มม.
ขมิ้นชันมีการเจริญเติบโตทางลําตน โดยมีความสูง ดัชนีพื้นที่ใบ และน้ําหนักใบแหง น้ําหนักตนแหงและเหงา
แหง (Table 2) อัตราการเจริญเติบโตทางลําตน และผลผลิตเหงาแหง (Table 3) มีคามากที่สุด และเมื่อขมิ้นชัน
ไดรับน้ําในระดับความถี่ที่นานครั้งและในปริมาณที่ลดลงจะมีผลทําใหการเจริญเติบโตทางลําตนและผลผลิต
ลดลงแตกตางกันในทางสถิติอยางเห็นไดชัด ซึ่งสามารถอธิบายไดวาขมิ้นชันเมื่อไดรับน้ําในระดับความถี่และ
ปริมาณน้ําที่ลดลง ขมิ้นชันจะแสดงอาการขาดน้ําเกิดขึ้น ในระยะแรกจะมีผลกระทบตอการเจริญเติบโตเปน
อยางมาก และเมื่อขาดน้ําเปนเวลาที่นานขึ้นก็จะมีผลกระทบตออัตราการสังเคราะหแสงของพืช การสะสม
น้ําหนักแหงทางลําตนและมีผลกระทบตอเนื่องไปจนถึงผลผลิตเหงาแหงมีคาลดลงในที่สุด ซึ่งพืชชนิดอื่น ๆ เมื่อ
ไดรับน้ําในปริมาณนอยและพืชเกิดการขาดน้ําขึ้นก็ใหผลเชนเดียวกัน ไดแก มันฝรั่ง (Hang and Miller, 1986)
และ เผือก (ณัฐวุฒิ, 2546) เปนตน
ดังนั้นในการเพิ่มผลผลิตขมิ้นชันโดยการควบคุมการใหน้ํานี้ แนวทางหนึ่งที่สามารถที่จะนําไปแนะนํา
ใหแกเกษตรกรผูปลูกขมิ้นไดวา ในการปลูกขมิ้นชันที่ดีขมิน้ ชันตองไดรับน้ําอยางสม่ําเสมอและเพียงพอตลอดฤดู
ปลูก โดยควรมีการใหน้ําแกขมิ้นชันในระดับความถี่ทุก 7 วัน และปริมาณน้ําที่ใหเทากับ 30 มม. ขมิ้นชันจะมีการ
เจริญเติบโตที่ดีและใหผลผลิตสูงสุด แตถามีการใหน้ําในระดับความถี่ที่ลดลงและปริมาณน้ําที่ใหนอย จะมีผลทํา
ใหขมิ้นชันเกิดการขาดน้ําขึ้นได ซึ่งการขาดน้ําจะทําใหขมิน้ ชันมีอัตราการเจริญเติบโตทางลําตนนอย การสะสม
น้ําหนักแหงลดลงและการใหผลผลิตเหงาแหงมีคาต่ํา ดังนั้นถาเปนไปไดจึงควรหลีกเลี่ยงที่จะทําใหขมิน้ ชันเกิด
การขาดน้ําขึ้นในแตละชวงอายุการเจริญเติบโต อยางไรก็ตามงานทดลองนี้ยังเปนแคการทดลองแรกเทานั้น
ดังนั้นจึงยังจะตองมีการทดลองเพิ่มเติมเพื่อยืนยันผลการทดลองเพื่อใหเกิดความแนนอนอีกครั้งในอนาคต กอนที่
จะนําวิธีการนี้ไปแนะนําใหเกษตรกรผูปลูกขมิ้นชันไดปฏิบตั ิไดโดยตรง ซึ่งจะเปนแนวทางหนึ่งในการที่จะเพิ่ม
ผลผลิตขมิ้นชันใหมากขึ้นได และเปนการเพิ่มรายไดใหแกเกษตรกรไดมากขึ้นตอไป

เอกสารอางอิง
จุฑามาศ วาสิกรัตน และธีระพนธ ยุพงษฉาย. 2547. ผลของการใหน้ําแตกตางกันที่มีตอการเจริญเติบโตและ
ผลผลิตหญาปกกิ่ง. ปญหาพิเศษปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ
ทหารลาดกระบัง.
ณั ฐ วุ ฒิ จุ ล สงค . 2546. ผลของการขาดน้ํ า ที่ มี ต อ การเจริ ญ เติ บ โตและผลผลิ ต เผื อ กหอมพั น ธุ พื้ น เมื อ ง.
วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง.
นิภา วีระนันทาเวทย. 2531. การศึกษาความตองการน้ํา การใชน้ําและปริมาณน้ําที่มีตอสรีรวิทยาบางลักษณะ
ของงาพันธุตางๆ. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแกน.
ศักดิ์สิริ บางทิพย. 2548. ผลของการขาดน้ําและการใหน้ําที่มีตอการเจริญเติบโตและผลผลิตของเผือกหอมพันธุ
พื้นเมืองในสภาพไร. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจา
คุณทหารลาดกระบัง.
สมยศ เดชภิรัตนมงคล. 2544. การตอบสนองของตะไครพันธุพื้นเมือง 2 พันธุตอการขาดน้ํา. วารสารเกษตรพระ
จอมเกลา. 19(2) : 12 - 20.
สมยศ เดชภิรัตนมงคล และสมมารถ อยูสุขยิ่งสถาพร. 2543. ผลของการใหน้ําในระดับแตกตางกันที่มีตอการ
เจริ ญ เติ บ โตและผลผลิ ต ของถั่ ว พุ ม , น. 300 - 308. ใน เอกสารการประชุ ม จัด การวิ ช าการของ
มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร ครั้ ง ที่ 38 วั น ที่ 1-4 กุ ม ภาพั น ธ 2543. มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร
กรุงเทพมหานคร.
สมยศ เดชภิรัตนมงคล ธวัชชัย อุบลเกิด และสมมารถ อยูสุขยิ่งสถาพร. 2548. ผลของความถี่ของการใหน้ํา
และปริมาณน้ําที่มีตอการเจริญเติบโตและผลผลิตตะไครพันธุพื้นเมือง, น. 632 – 640. ใน เอกสาร
การประชุ ม วิ ช าการของมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร ครั้ ง ที่ 43 วั น ที่ 1 - 4 กุ ม ภาพั น ธ 2548.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพมหานคร.
สํ า นั ก งานข อ มู ล สมุ น ไพร. 2543. คู มื อ สมุ น ไพรฉบั บ ย อ (1). คณะเภสั ช ศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล
กรุงเทพมหานคร.
A shley, B. A. 1983. Crop-water relation. John Wiley and Sons Inc, New York.
Hang, A.N. and D.E. Miller. 1986. Yield and physiological responses of potatoes to deficit, high
frequency sprinkler irrigation. Agron. J. 78 : 436-440.
Hunt, R. 1978. Plant growth analysis. Edward Arnold, London, 67 P.
Turk, K.J. and A.E. Hall. 1980. Drought adaptation of cowpea. III. Influence of drought on plant
growth and relation with seed yield. Agron. J.72 : 428-433.

You might also like