You are on page 1of 27

บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

การศึกษาคนควาการใชประโยชนกากมันสําปะหลังและชานออยในการปรับปรุงดินเค็ม
สําหรับการปลูกผักบุงจีน ในครั้งนี้ ผูศึกษาคนควานําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลตามลําดับตอไปนี้
1. สัญลักษณที่ใชในการเสนอผลการวิเคราะหขอมูล
2. ลําดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะหขอมูล
3. ผลการวิเคราะหขอมูล

สัญลักษณที่ใชในการเสนอผลการวิเคราะหขอมูล

การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ผูศึกษาคนควาไดกําหนดความหมายของสัญลักษณ
ในการวิเคราะหขอมูลดังตอไปนี้
X แทน คาเฉลี่ย (Mean)
S.D. แทน สวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
F แทน สถิติทดสอบที่ใชพิจารณาใน F - distribution
p-value แทน ระดับนัยสําคัญ (Significance)
df แทน ระดับชั้นของความเปนอิสระ (Degrees of Freedom)

Mahasarakham University
50

ลําดับขั้นตอนในการเสนอผลการวิเคราะหขอมูล

ผูศึกษาคนควาไดดําเนินการนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ตามลําดับขั้นดังนี้
ตอนที่ 1 คุณสมบัติของวัสดุปลูก
ตอนที่ 2 ผลการศึกษาการปรับปรุงดินเค็มโดยใชกากมันสําปะหลังและชานออย
ซึ่งพิจารณาจากคุณสมบัติของดินเค็มกอนและหลังการปลูกผักบุงจีน
ตอนที่ 3 ผลการศึกษาการเจริญเติบโตของผักบุงจีน

ผลการวิเคราะหขอมูล

ตอนที่ 1 คุณสมบัติของวัสดุปลูก
สําหรับวัสดุปลูกที่ใชในการศึกษานี้ ประกอบดวย ดินเค็ม กากมันสําปะหลัง และ
ชานออย ซึ่งจากการขอ 4.1.1 – 4.1.3 เปนการสังเกตดวยสายตา และทําการศึกษาคุณสมบัติทางเคมี
ของกากมันสําปะหลัง ชานออย และดินเค็ม ไดผลดังตาราง 4
4.1.1 ดินเค็ม
ดินเค็มมีลักษณะเปนดินรวนปนทราย มีความพรุนสูง ความสามารถใน
การอุมน้ําดี ความหนาแนนรวมเมื่อแหงต่าํ มีความคงทนของโครงสรางดี และมีการอัดตัวบาง
หลังปลูก
4.1.2 กากมันสําปะหลัง
กากมันสําปะหลังมีคุณสมบัติในการอุมน้ําดีมาก มีความพรุนสูง และเมื่อ
ระยะเวลาผานไปมีการอัดตัวแนน
4.1.3 ชานออย
ชานออยมีคุณสมบัติในการอุมน้ําดี มีความพรุนสูง เมื่อระยะเวลาผานไป
มีการอัดตัวบางเล็กนอย

Mahasarakham University
51

ตาราง 4 คุณสมบัติทางเคมีของกากมันสําปะหลัง ชานออย และดินเค็มกอนการทดลอง

EC CEC N P K
วัสดุปลูก pH
(mS/cm) (meq/100g) (%) (ppm) (ppm)
ดินเค็ม 5.38 6.96 3.07 0.03 10.49 126.39
กากมันสําปะหลัง 6.14 1.72 12.57 0.05 12.40 501.03
ชานออย 5.79 0.28 3.82 0.04 11.45 221.12

ตอนที่ 2 ผลการศึกษาการปรับปรุงดินเค็มโดยใชกากมันสําปะหลังและชานออย
ซึ่งพิจารณาจากคุณสมบัติของดินเค็มกอนและหลังการปลูกผักบุงจีน

จากการศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติของดินเค็มจากสิ่งทดลองทั้ง 10 สิ่งทดลอง กอนการ


ปลูกผักบุงจีน เพื่อศึกษาผลของกากมันสําปะหลังและชานออยที่เติมลงไปในดินเค็มโดยคุณสมบัติ
ที่ศึกษา ประกอบดวย คาความเปนกรด – เบส (pH) คาการนําไฟฟา (EC) ความสามารถใน
การแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC) ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total N) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปน
ประโยชน (Available P) และปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน (Available K) ไดผลการศึกษา
ดังนี้

Mahasarakham University
52

1. คาความเปนกรด – เบส (pH)

8
ค าความเปนกรด-เบส (pH)

6
กอ นการทดลอง
4 หลั งการทดลอง

0
T1 T2 T3 T4 T5 T6 T7 T8 T9 T10
สิ่งทดลอง (Treatment)

ภาพประกอบ 3 แสดงคาความเปนกรด – เบส (pH) ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองกอนและ


หลังการปลูกผักบุงจีน

จากภาพประกอบ 3 กอนการปลูกผักบุงจีน อัตราสวนระหวางกากมันสําปะหลัง :


ชานออย : ดินเค็มแตกตางกัน ใหคาความเปนกรด - เบส (pH) แตกตางกัน จะเห็นวาสิ่งทดลอง
ที่ 1 ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม เปน 0:0:1 มีคาความเปนกรด -
เบส (pH) สูงที่สุด คือ 5.38 สวนสิ่งทดลองที่ 10 ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย
: ดินเค็ม เปน 2:1:3 มีคาความเปนกรด - เบส (pH) ต่ําที่สุด คือ 3.42
เมื่อทําการปลูกผักบุงจีนครบ 28 วัน พบวา อัตราสวนระหวางกากมันสําปะหลัง :
ชานออย : ดินเค็มแตกตางกัน ใหคาความเปนกรด-เบส (pH) แตกตางกัน จะเห็นวาสิ่งทดลอง
ที่ 6 ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม เปน 0:1:2 มีคาความเปนกรด-เบส
(pH) สูงที่สุด คือ 6.60 สวนสิ่งทดลองที่ 8 ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม
เปน 1.5:1.5:3 มีคาความเปนกรด-เบส (pH) ต่ําที่สุด คือ 4.59

Mahasarakham University
53

ตาราง 5 การเปรียบเทียบความแตกตางของความเปนกรด - เบส (pH) ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลอง


แตกตางกัน กอนการปลูกผักบุงจีน

แหลงความแปรปรวน SS df MS F p-value
สิ่งทดลอง 9.65 9 1.07 9.631 0.00*
ความคาดเคลื่อน 2.22 20 0.11
รวม 11.88 29
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 5 พบวา กอนการปลูกผักบุงจีนของสิ่งทดลองตางชนิดกัน มีคาความเปน


กรด – เบส (pH) แตกตางกันอยางมีนยั สําคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบความแตกตางของ
คาเฉลี่ยรายคูปรากฏผลตามตาราง 6

ตาราง 6 การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูของคาความเปนกรด – เบส (pH)


ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองกอนการปลูกผักบุงจีน

pH T10 T3 T4 T9 T2 T8 T5 T6 T7 T1
กอนการทดลอง X 3.42 3.70 3.96 4.04 4.36 4.45 4.72 4.82 4.86 5.38
T10 3.42 - 0.99 0.89 0.79 0.27 0.18 0.04* 0.02* 0.01* 0.00*
T3 3.70 - 0.99 0.99 0.73 0.58 0.19 0.11 0.09 0.00*
T4 3.96 - 1.00 0.98 0.94 0.57 0.40 0.35 0.02*
T9 4.04 - 0.99 0.98 0.71 0.53 0.47 0.03*
T2 4.36 - 1.00 0.99 0.96 0.93 0.20
T8 4.45 - 0.99 0.98 0.98 0.30
T5 4.72 - 1.00 1.00 0.74
T6 4.82 - 1.00 0.88
T7 4.86 - 0.91
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 6 พบวา สิ่งทดลองที่ 1 มีคาความเปนกรด – เบส (pH) มากกวาสิ่งทดลอง


ที่ 9, 4, 3 และ 10 และสิง่ ทดลองที่ 5, 6 และ 7 มีคา ความเปนกรด – เบส (pH) มากกวา
สิ่งทดลองที่ 10 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

Mahasarakham University
54

ตาราง 7 การเปรียบเทียบความแตกตางของความเปนกรด - เบส (pH) ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลอง


แตกตางกัน หลังการปลูกผักบุงจีน

แหลงความแปรปรวน SS df MS F p-value
สิ่งทดลอง 17.56 9 1.95 85.64 0.00*
ความคาดเคลื่อน 0.45 20 0.02
รวม 18.02 29
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 7 พบวา หลังการปลูกผักบุงจีนของสิ่งทดลองตางชนิดกัน มีคาความเปน


กรด – เบส (pH) แตกตางกันอยางมีนยั สําคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบความแตกตางของ
คาเฉลี่ยรายคูปรากฏผลตามตาราง 8

ตาราง 8 การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูของคาความเปนกรด-เบส (pH)


ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองหลังการปลูกผักบุงจีน

pH T8 T3 T10 T4 T9 T2 T1 T5 T7 T6
หลังการทดลอง X 4.58 4.75 4.81 4.98 5.02 5.12 5.48 6.50 6.58 6.60
T8 4.58 - 0.99 0.93 0.36 0.24 0.07 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T3 4.75 - 1.00 0.91 0.81 0.44 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T10 4.81 - 0.98 0.95 0.68 0.01* 0.00* 0.00* 0.00*
T4 4.98 - 1.00 0.99 0.13 0.00* 0.00* 0.00*
T9 5.02 - 1.00 0.21 0.00* 0.00* 0.00*
T2 5.12 - 0.53 0.00* 0.00* 0.00*
T1 5.48 - 0.00* 0.00* 0.00*
T5 6.50 - 1.00 1.00
T7 6.58 - 1.00
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 8 พบวา สิ่งทดลองที่ 6, 7 และ 5 มีคาความเปนกรด – เบส (pH) มากกวา


สิ่งทดลองอื่น ๆ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

Mahasarakham University
55

2. คาการนําไฟฟา (EC)

8
7
ค าการนําไฟฟา (EC ; mS/cm)

6
5
4 กอ นการทดลอง

3 หลั งการทดลอง
2
1
0
T1 T2 T3 T4 T5 T6 T7 T8 T9 T10
สิ่งทดลอง (Treatment)

ภาพประกอบ 4 แสดงคาการนําไฟฟา (EC) ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองกอนและหลังการปลูก


ผักบุงจีน

จากภาพประกอบ 4 อัตราสวนระหวางกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็มแตกตางกัน


ใหคาการนําไฟฟา (EC) แตกตางกัน จะเห็นวาสิ่งทดลองที่ 1 ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง
: ชานออย : ดินเค็ม เปน 0:0:1 มีคาการนําไฟฟา (EC) สูงที่สุด คือ 6.96 mS/cm สวนสิ่งทดลอง
ที่ 10 ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม เปน 2:1:3 มีคาการนําไฟฟา
(EC) ต่ําที่สุด คือ 4.97 mS/cm
เมื่อทําการปลูกผักบุงจีนครบ 28 วัน พบวา อัตราสวนระหวางกากมันสําปะหลัง :
ชานออย : ดินเค็มแตกตางกัน ใหคาการนําไฟฟา (EC) แตกตางกัน จะเห็นวาสิ่งทดลองที่ 1
ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม เปน 0:0:1 มีคาการนําไฟฟา (EC)
สูงที่สุด คือ 3.16 mS/cm สวนสิ่งทดลองที่ 5 ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย :
ดินเค็ม เปน 0:1:1 มีคาการนําไฟฟา (EC) ต่ําที่สุด คือ 1.09 mS/cm

Mahasarakham University
56

ตาราง 9 การเปรียบเทียบความแตกตางของคาการนําไฟฟา (EC) ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลอง


แตกตางกัน กอนการปลูกผักบุงจีน

แหลงความแปรปรวน SS df MS F p-value
สิ่งทดลอง 20.31 9 2.25 337.70 0.00*
ความคาดเคลื่อน 0.12 20 0.00
รวม 20.43 29
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 9 พบวา กอนการปลูกผักบุงจีนของสิ่งทดลองตางชนิดกัน มีคาการนําไฟฟา


(EC) แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ย
รายคูปรากฏผลตามตาราง 10

ตาราง 10 การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูของคาการนําไฟฟา (EC)


ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองกอนการปลูกผักบุงจีน

EC T10 T2 T8 T3 T9 T4 T7 T6 T5 T1
กอนการทดลอง X 4.97 5.04 5.16 5.30 5.32 5.65 6.76 6.86 6.95 6.95
T10 4.97 - 0.99 0.41 0.01* 0.01* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T2 5.04 - 0.92 0.12 0.07 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T8 5.16 - 0.84 0.71 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T3 5.30 - 1.00 0.01* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T9 5.32 - 0.01* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T4 5.65 - 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T7 6.76 - 0.96 0.44 0.41
T6 6.86 - 0.98 0.98
T5 6.95 - 1.00
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 10 พบวา สิ่งทดลองที่ 1, 5, 6 และ 7 มีคา การนําไฟฟา (EC) มากกวา


สิ่งทดลองที่ 4, 9, 3, 8, 2 และ 10 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

Mahasarakham University
57

ตาราง 11 การเปรียบเทียบความแตกตางของคาการนําไฟฟา (EC) ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลอง


แตกตางกัน หลังการปลูกผักบุงจีน

แหลงความแปรปรวน SS df MS F p-value
สิ่งทดลอง 12.52 9 1.39 7.55 0.00*
ความคาดเคลื่อน 3.68 20 0.18
รวม 16.20 29
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 11 พบวา หลังการปลูกผักบุงจีนของสิ่งทดลองตางชนิดกัน มีคาการนําไฟฟา


(EC) แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ย
รายคูปรากฏผลตามตาราง 12

ตาราง 12 การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูของคาการนําไฟฟา (EC)


ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองหลังการปลูกผักบุงจีน

EC T5 T6 T8 T9 T10 T7 T2 T3 T4 T1
หลังการทดลอง X 1.08 1.17 1.22 1.41 1.67 1.71 1.73 2.36 2.57 3.16
T5 1.08 - 1.00 1.00 0.99 0.96 0.94 0.93 0.22 0.09 0.00*
T6 1.17 - 1.00 1.00 0.98 0.97 0.97 0.30 0.13 0.00*
T8 1.22 - 1.00 0.99 0.98 0.98 0.36 0.16 0.01*
T9 1.41 - 1.00 1.00 1.00 0.61 0.33 0.02*
T10 1.67 - 1.00 1.00 0.90 0.67 0.09
T7 1.71 - 1.00 0.93 0.72 0.11
T2 1.73 - 0.94 0.74 0.12
T3 2.36 - 1.00 0.80
T4 2.57 - 0.96
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 12 พบวา สิ่งทดลองที่ 1 มีคาการนําไฟฟา (EC) มากกวาสิ่งทดลองที่ 9, 8, 6


และ 5 ตามลําดับอยางมีนยั สําคัญทางสถิติ (p<0.05)

Mahasarakham University
58

3. ความสามารถในการแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC)

20
ความสามารถในการแลกเปลี่ ยนแคตไออน

15
(CEC ; meq/100g)

กอ นการทดลอง
10 หลั งการทดลอง

0
T1 T2 T3 T4 T5 T6 T7 T8 T9 T10
สิ่งทดลอง (Treatment)

ภาพประกอบ 5 แสดงความสามารถในการแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC) ของวัสดุปลูก


แตละสิ่งทดลองกอนและหลังการปลูกผักบุงจีน

จากภาพประกอบ 5 อัตราสวนระหวางกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็มแตกตางกัน


ใหความสามารถในการแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC) แตกตางกัน จะเห็นวาสิ่งทดลองที่ 2
ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม เปน 1:0:1 มีความสามารถในการ
แลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC) สูงที่สุด คือ 12.87 meq/100g สวนสิง่ ทดลองที่ 1 ซึ่งมีอัตราสวน
ของกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม เปน 0:0:1 มีความสามารถในการแลกเปลี่ยนแคตไอออน
(CEC) ต่ําที่สุด คือ 3.07 meq/100g
เมื่อทําการปลูกผักบุงจีนครบ 28 วัน พบวา อัตราสวนระหวางกากมันสําปะหลัง :
ชานออย : ดินเค็มแตกตางกัน ใหความสามารถในการแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC) แตกตางกัน
จะเห็นวาสิ่งทดลองที่ 10 ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม เปน 2:1:3
มีความสามารถในการแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC) สูงที่สุด คือ 7.40 meq/100g สวนสิ่งทดลอง
ที่ 1 ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม เปน 0:0:1 มีความสามารถใน
การแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC) ต่ําที่สุด คือ 3.60 meq/100g

Mahasarakham University
59

ตาราง 13 การเปรียบเทียบความแตกตางของความสามารถในการแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC)


ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองตางกัน กอนการปลูกผักบุงจีน

แหลงความแปรปรวน SS df MS F p-value
สิ่งทดลอง 263.99 9 29.33 13.51 0.00*
ความคาดเคลื่อน 43.40 20 2.17
รวม 307.40 29
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 13 พบวา กอนการปลูกผักบุงจีนของสิ่งทดลองตางชนิดกัน มีความสามารถ


ในการแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC) แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)
เมื่อเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูปรากฏผลตามตาราง 14

ตาราง 14 การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูของความสามารถในการแลกเปลี่ยน
แคตไอออน (CEC) ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองกอนการปลูกผักบุงจีน

CEC T1 T5 T6 T7 T9 T4 T3 T10 T8 T2
กอนการทดลอง X 4.97 5.04 5.16 5.30 5.32 5.65 6.76 6.86 6.95 6.95
T1 4.97 - 1.00 1.00 1.00 0.27 0.19 0.15 0.08 0.01* 0.00*
T5 5.04 - 1.00 1.00 0.37 0.27 0.22 0.12 0.03* 0.00*
T6 5.16 - 1.00 0.57 0.44 0.37 0.23 0.06 0.00*
T7 5.30 - 0.65 0.52 0.44 0.29 0.08 0.00*
T9 5.32 - 1.00 1.00 1.00 0.95 0.04*
T4 5.65 - 1.00 1.00 0.98 0.07
T3 6.76 - 1.00 0.99 0.09
T10 6.86 - 1.00 0.17
T8 6.95 - 0.50
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 14 พบวา สิ่งทดลองที่ 2 มีความสามารถในการแลกเปลี่ยนแคตไอออน


(CEC) มากกวาสิ่งทดลองที่ 9, 7, 6, 5 และ 1 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

Mahasarakham University
60

ตาราง 15 การเปรียบเทียบความแตกตางของความสามารถในการแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC)


ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองตางกัน หลังการปลูกผักบุงจีน

แหลงความแปรปรวน SS df MS F p-value
สิ่งทดลอง 40.49 9 4.49 3.42 0.01*
ความคาดเคลื่อน 26.29 20 1.31
รวม 66.78 29
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 15 พบวา หลังการปลูกผักบุงจีนของสิ่งทดลองตางชนิดกัน มีความสามารถ


ในการแลกเปลี่ยนแคตไอออน (CEC) แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)
เมื่อเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูปรากฏผลตามตาราง 16

ตาราง 16 การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูของความสามารถในการแลกเปลี่ยน
แคตไอออน (CEC) ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองหลังการปลูกผักบุงจีน

CEC T1 T5 T6 T4 T7 T9 T3 T2 T8 T10
หลังการทดลอง X 3.60 4.30 4.63 4.66 4.80 5.06 5.86 6.53 6.80 7.40
T1 3.60 - 0.46 0.28 0.26 0.21 0.13 0.02* 0.00* 0.00* 0.00*
T5 4.30 - 0.72 0.69 0.59 0.42 0.11 0.02* 0.01* 0.00*
T6 4.63 - 0.97 0.86 0.64 0.20 0.05 0.03* 0.00*
T4 4.66 - 0.88 0.67 0.21 0.06 0.03* 0.00*
T7 4.80 - 0.77 0.26 0.07 0.04* 0.01*
T9 5.06 - 0.40 0.13 0.07 0.02*
T3 5.86 - 0.48 0.33 0.11
T2 6.53 - 0.77 0.36
T8 6.80 - 0.59
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 16 พบวา สิ่งทดลองที่ 10 และ 8 มีความสามารถในการแลกเปลี่ยนแคต


ไอออน (CEC) มากกวาสิ่งทดลองที่ 7, 4, 6, 5 และ 1 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

Mahasarakham University
61

4. ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total N ; %)

0.07
ปริมาณไนโตรเจน (Total N ; %)

0.06
0.05
กอ นการทดลอง
0.04
หลั งการทดลอง
0.03
0.02
0.01
0
T1 T2 T3 T4 T5 T6 T7 T8 T9 T10
สิ่งทดลอง (Treatment)

ภาพประกอบ 6 แสดงปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total N ; %) ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลอง


กอนและหลังการปลูกผักบุงจีน

จากภาพประกอบ 6 อัตราสวนระหวางกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็มแตกตางกัน


ใหมีปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total N) แตกตางกัน จะเห็นวาสิ่งทดลองที่ 2, 8, 9 และ 10
ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม เปน 1:0:1, 1.5:1.5:3, 1:2:3 และ 2:1:3
มีปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total N) สูงที่สุด คือ 0.05% สวนสิ่งทดลองที่ 1 ซึ่งมีอัตราสวนของ
กากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม เปน 0:0:1 มีปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total N) ต่ําที่สุด
คือ 0.03%
เมื่อทําการปลูกผักบุงจีนครบ 28 วัน พบวา อัตราสวนระหวางกากมันสําปะหลัง :
ชานออย : ดินเค็มแตกตางกันใหปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total N) แตกตางกัน จะเห็นวา
สิ่งทดลองที่ 2, 3, 4, 8, 9 และ 10 ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม
เปน 1:0:1, 1:0:2, 1:0:3, 1.5:1.5:3, 1:2:3 และ 2:1:3 มีปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด
(Total N) สูงที่สุด คือ 0.05% สวนสิ่งทดลองที่ 1 ซึ่งมีอัตราสวนของ กากมันสําปะหลัง :
ชานออย : ดินเค็ม เปน 0:0:1 มีปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total N) ต่ําที่สุด คือ 0.02%

Mahasarakham University
62

ตาราง 17 การเปรียบเทียบความแตกตางของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total N ; %)


ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองตางกัน กอนการปลูกผักบุงจีน

แหลงความแปรปรวน SS df MS F p-value
สิ่งทดลอง 0.00 9 0.00 1.33 0.28
ความคาดเคลื่อน 0.00 20 0.00
รวม 0.00 29
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 17 พบวา กอนการปลูกผักบุงจีนของสิ่งทดลองตางชนิดกัน มีปริมาณ


ไนโตรเจนทั้งหมด (Total N) ไมแตกตางกัน (P>0.05)

ตาราง 18 การเปรียบเทียบความแตกตางของปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total N ; %)


ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองหลังการปลูกผักบุงจีน

แหลงความแปรปรวน SS df MS F p-value
สิ่งทดลอง 0.00 9 0.00 2.44 0.04*
ความคาดเคลื่อน 0.00 20 0.00
รวม 0.00 29
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 18 พบวา หลังการปลูกผักบุงจีนของสิ่งทดลองตางชนิดกัน มีปริมาณ


ไนโตรเจนทั้งหมด (Total N) แตกตางกันอยางมีนยั สําคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบ
ความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูปรากฏผลตามตาราง 19

Mahasarakham University
63

ตาราง 19 การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูของปริมาณไนโตรเจน (Total N ; %)


ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองหลังการปลูกผักบุงจีน

ปริมาณ N T1 T5 T6 T7 T2 T4 T9 T10 T3 T8
กอนการทดลอง X 0.02 0.03 0.03 0.03 0.04 0.04 0.04 0.04 0.04 0.04
T1 0.02 - 0.30 0.30 0.30 0.16* 0.16* 0.16* 0.16* 0.05* 0.05*
T5 0.03 - 1.00 1.00 0.13 0.13 0.13 0.13 0.04* 0.04*
T6 0.03 - 1.00 0.13 0.13 0.13 0.13 0.04* 0.04*
T7 0.03 - 0.13 0.13 0.13 0.13 0.04* 0.04*
T2 0.04 - 1.00 1.00 1.00 0.60 0.60
T4 0.04 - 1.00 1.00 0.60 0.60
T9 0.04 - 1.00 0.60 0.60
T10 0.04 - 0.60 0.64
T3 0.04 - 1
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 19 พบวา สิ่งทดลองที่ 8 และ 3 มีปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total N)


มากกวาสิ่งทดลองที่ 7, 6, 5 และ 1 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

Mahasarakham University
64

5. ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (Available P ; ppm)

16
ปริมาณฟอสฟอรัส (Available P ; ppm)

14
12
10 กอ นการทดลอง
8 หลั งการทดลอง
6
4
2
0
T1 T2 T3 T4 T5 T6 T7 T8 T9 T10
สิ่งทดลอง (Treatment)

ภาพประกอบ 7 แสดงปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (Available P ; ppm) ของวัสดุปลูก


แตละสิ่งทดลองกอนและหลังการปลูกผักบุงจีน

จากภาพประกอบ 7 อัตราสวนระหวางกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็มแตกตางกัน


ใหปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (Available P) แตกตางกัน จะเห็นวาสิ่งทดลองที่ 10
ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม เปน 2:1:3 ที่มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปน
ประโยชน (Available P) สูงที่สุด คือ 13.48 ppm สวนสิ่งทดลองที่ 1 ซึ่งมีอัตราสวนของ
กากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม เปน 0:0:1 มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (Available
P) ต่ําที่สุด คือ 8.79 ppm
เมื่อทําการปลูกผักบุงจีนครบ 28 วัน พบวา อัตราสวนระหวางกากมันสําปะหลัง :
ชานออย : ดินเค็มแตกตางกัน ใหปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (Available P) แตกตางกัน
จะเห็นวาสิ่งทดลองที่ 7 ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม เปน 1:0:1
ที่มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (Available P) สูงที่สุด คือ 10.10 ppm สวนสิ่งทดลองที่ 2
ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม เปน 0:1:3 มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปน
ประโยชน (Available P) ต่ําที่สุด คือ 2.27 ppm

Mahasarakham University
65

ตาราง 20 การเปรียบเทียบความแตกตางของปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน
(Available P ; ppm) ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองตางกัน กอนการปลูกผักบุงจีน

แหลงความแปรปรวน SS df MS F p-value
สิ่งทดลอง 54.33 9 6.03 4.62 0.00*
ความคาดเคลื่อน 26.09 20 1.30
รวม 80.42 29
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 20 พบวา กอนการปลูกผักบุงจีนของสิ่งทดลองตางชนิดกัน มีปริมาณ


ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (Available P) แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)
เมื่อเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูปรากฏผลตามตาราง 21

ตาราง 21 การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูของปริมาณฟอสฟอรัส
(Available P ; ppm) ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองกอนการปลูกผักบุงจีน

ปริมาณ P T7 T4 T1 T6 T3 T8 T9 T5 T2 T10
กอนการทดลอง X 8.79 9.80 10.49 10.64 10.68 10.80 11.35 11.76 13.12 13.48
T7 8.79 - 0.99 0.93 0.90 0.88 0.84 0.59 0.39 0.05* 0.02*
T4 9.80 - 1.00 1.00 0.99 0.99 0.99 0.86 0.25 0.14
T1 10.49 - 1.00 1.00 1.00 0.99 0.99 0.55 0.38
T6 10.64 - 1.00 1.00 1.00 0.99 0.63 0.44
T3 10.68 - 1.00 1.00 0.99 0.65 0.47
T8 10.80 - 1.00 0.99 0.71 0.53
T9 11.35 - 1.00 0.92 0.79
T5 11.76 - 0.98 0.93
T2 13.12 - 1.00
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 21 พบวา สิ่งทดลองที่ 10 และ 2 มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน


(Available P) มากกวาสิ่งทดลองที่ 7 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

Mahasarakham University
66

ตาราง 22 การเปรียบเทียบความแตกตางของปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน
(Available P ; ppm) ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองตางกัน หลังการปลูกผักบุงจีน

แหลงความแปรปรวน SS df MS F p-value
สิ่งทดลอง 140.25 9 15.58 11.19 0.00*
ความคาดเคลื่อน 27.84 20 1.39
รวม 168.10 29
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 22 พบวา หลังการปลูกผักบุงจีนของสิ่งทดลองตางชนิดกัน มีปริมาณ


ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (Available P) แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)
เมื่อเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูปรากฏผลตามตาราง 23

ตาราง 23 การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูของปริมาณฟอสฟอรัส
(Available P ; ppm) ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองหลังการปลูกผักบุงจีน

ปริมาณ P T7 T6 T3 T5 T1 T8 T4 T9 T10 T2
หลังการทดลอง X 2.26 4.11 5.49 5.51 6.88 7.27 7.30 7.62 8.85 10.09
T7 2.26 - 0.91 0.32 0.31 0.39* 0.01* 0.01* 0.01* 0.00* 0.00*
T6 4.11 - 0.98 0.98 0.52 0.34 0.33 0.22 0.03 0.00*
T3 5.49 - 1.00 0.98 0.93 0.92 0.82 0.27 0.04*
T5 5.51 - 0.98 0.93 0.92 0.83 0.27 0.04*
T1 6.88 - 1.00 1.00 1.00 0.88 0.32
T8 7.27 - 1.00 1.00 0.96 0.50
T4 7.30 - 1.00 0.97 0.51
T9 7.62 - 0.99 0.83
T10 8.85 - 0.99
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 23 พบวา สิ่งทดลองที่ 2 มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (Available P)


มากกวาสิ่งทดลองที่ 5, 3, 6 และ 7 และสิ่งทดลองที่ 10, 9, 4, และ 1 มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปน
ประโยชน (Available P) มากกวาสิ่งทดลองที่ 7 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

Mahasarakham University
67

6. ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน (Available K ; ppm)

800
ปริมาณโพแทสเซียม (Available K ; ppm)

700
600
500 กอ นการทดลอง
400 หลั งการทดลอง
300
200
100
0
T1 T2 T3 T4 T5 T6 T7 T8 T9 T10
สิ่งทดลอง (Treatment)

ภาพประกอบ 8 แสดงปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน (Available K ; ppm) ของวัสดุแตละ


สิ่งทดลองกอนและหลังการปลูกผักบุงจีน

จากภาพประกอบ 8 อัตราสวนระหวางกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็มแตกตางกัน


ใหปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน (Available K) แตกตางกัน จะเห็นวาสิ่งทดลองที่ 8
ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็มเปน 1.5:1.5:3 มีปริมาณโพแทสเซียม
ที่เปนประโยชน (Available K) สูงที่สุด คือ 328.09 ppm สวนสิ่งทดลองที่ 1 ซึ่งมีอัตราสวนของ
กากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม เปน 0:0:1 มีปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน
(Available K) ต่ําที่สุด คือ 101.39 ppm
เมื่อทําการปลูกผักบุงจีนครบ 28 วัน พบวา อัตราสวนระหวางกากมันสําปะหลัง :
ชานออย : ดินเค็มแตกตางกัน ใหปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน (Available K) แตกตางกัน
จะเห็นวา สิ่งทดลองที่ 2 ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็มเปน 1:0:1
ที่มีปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน (Available K) สูงที่สุด คือ 697.32 ppm สวนสิ่งทดลองที่ 1
ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม เปน 0:0:1 มีปริมาณโพแทสเซียมที่เปน
ประโยชน (Available K) ต่ําที่สุด คือ 155.89 ppm

Mahasarakham University
68

ตาราง 24 การเปรียบเทียบความแตกตางของปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน
(Available K ; ppm) ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองตางกัน กอนการปลูกผักบุงจีน

แหลงความแปรปรวน SS df MS F p-value
สิ่งทดลอง 139398.89 9 15488.76 11.77 0.00*
ความคาดเคลื่อน 26307.47 20 1315.37
รวม 165706.35 29
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 24 พบวา กอนการปลูกผักบุงจีนของสิ่งทดลองตางชนิดกัน มีปริมาณ


โพแทสเซียมที่เปนประโยชน (Available K) แตกตางกัน อยางมีนยั สําคัญทางสถิติ (p<0.05)
เมื่อเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูปรากฏผลตามตาราง 25

ตาราง 25 การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูของปริมาณโพแทสเซียม
(Available K ; ppm) ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองกอนการปลูกผักบุงจีน

ปริมาณ K T1 T7 T6 T5 T9 T3 T4 T2 T10 T8
กอนการทดลอง X 101.38 109.23 116.40 126.38 148.12 163.48 163.77 204.76 250.91 328.08
T1 101.38 - 1.00 1.00 1.00 0.97 0.86 0.86 0.27 0.02* 0.00*
T7 109.23 - 1.00 1.00 0.99 0.93 0.93 0.37 0.03* 0.00*
T6 116.40 - 1.00 0.99 0.97 0.97 0.47 0.05 0.00*
T5 126.38 - 1.00 0.99 0.99 0.63 0.10 0.00*
T9 148.12 - 1.00 1.00 0.91 0.27 0.00*
T3 163.48 - 1.00 0.98 0.49 0.01*
T4 163.77 - 0.98 0.49 0.01*
T2 204.76 - 0.97 0.10
T10 250.91 - 0.65
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 25 พบวา สิ่งทดลองที่ 8 มีปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน (Available K)


มากกวาสิ่งทดลองอื่น ๆ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

Mahasarakham University
69

ตาราง 26 การเปรียบเทียบความแตกตางของปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน
(Available K ; ppm) ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองตางกัน หลังการปลูกผักบุงจีน

แหลงความแปรปรวน SS df MS F p-value
สิ่งทดลอง 1086413.08 9 120712.56 27.42 0.00*
ความคาดเคลื่อน 88027.36 20 4401.36
รวม 1174440.44 29
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 26 พบวา หลังการปลูกผักบุงจีนของสิ่งทดลองตางชนิดกัน มีปริมาณ


โพแทสเซียมที่เปนประโยชน (Available K) แตกตางกัน อยางมีนยั สําคัญทางสถิติ (p<0.05)
เมื่อเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูปรากฏผลตามตาราง 27

ตาราง 27 การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูของปริมาณโพแทสเซียม
(Available K ; ppm) ของวัสดุปลูกแตละสิ่งทดลองหลังการปลูกผักบุงจีน

ปริมาณ K T1 T7 T6 T5 T4 T8 T3 T9 T10 T2
หลังการทดลอง X 155.89 228.98 262.89 263.21 454.95 535.78 599.02 618.93 644.20 697.31
T1 155.89 - 0.99 0.90 0.89 0.01* 0.0*0 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T7 228.98 - 1.00 1.00 0.1 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T6 262.89 - 1.00 0.25 0.02* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T5 263.21 - 0.25 0.02* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T4 454.95 - 0.98 0.63 0.45 0.27 0.06
T8 535.78 - 0.99 0.97 0.89 0.47
T3 599.02 - 1.00 1.00 0.93
T9 618.93 - 1.00 0.98
T10 644.20 - 0.99
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 27 พบวา สิ่งทดลองที่ 2, 10, 9, 3 และ 8 มีปริมาณโพแทสเซียมที่เปน


ประโยชน (Available K) มากกวาสิ่งทดลองที่ 5, 6, 7 และ 1 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

Mahasarakham University
70

ตอนที่ 3 ผลการศึกษาการเจริญเติบโตของผักบุงจีน

จากการศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผักบุงจีนจากสิ่งทดลองทั้ง 10 สิ่งทดลอง
ซึ่งประกอบดวย ความสูง จํานวนใบ และน้าํ หนักสดของผักบุงจีน พบวา ไดผลดังภาพประกอบ 8-10

7. ความสูงของผักบุงจีน

10

6
ความสู ง (cm)

0
T1 T2 T3 T4 T5 T6 T7 T8 T9 T10
สิ่งทดลอง (Treatment)

ภาพประกอบ 9 แสดงความสูงของผักบุงจีนในแตละสิ่งทดลอง เมื่อผักบุงจีนครบ 28 วัน

จากภาพประกอบ 9 อัตราสวนระหวางกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็มแตกตางกัน


ใหความสูงของผักบุงจีนแตกตางกัน จะเห็นวาสิ่งทดลองที่ 5 ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง :
ชานออย : ดินเค็มเปน 0:1:1 ที่มีความสูง (cm) สูงที่สุด คือ 9.17 cm สวนสิ่งทดลองที่ 2
ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม เปน 1:0:1 มีความสูง (cm) ต่ําที่สุด
คือ 4.17 cm

Mahasarakham University
71

ตาราง 28 การเปรียบเทียบความแตกตางของความสูงของผักบุงจีน (cm) ของวัสดุปลูก


แตละสิ่งทดลองแตกตางกัน หลังการปลูกผักบุงจีน

แหลงความแปรปรวน SS df MS F p-value
สิ่งทดลอง 85.87 9 9.54 392.11 0.00*
ความคาดเคลื่อน 0.48 20 0.02
รวม 86.35 29
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 28 พบวา หลังการปลูกผักบุงจีนของสิ่งทดลองตางชนิดกัน มีความสูงของ


ผักบุงจีน (cm) แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบความแตกตางของ
คาเฉลี่ยรายคูปรากฏผลตามตาราง 29

ตาราง 29 การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูของคาความสูงของผักบุงจีน (cm)


ในแตละสิ่งทดลอง เมื่อผักบุงจีนครบ 28 วัน

ความสูง T2 T3 T4 T8 T9 T10 T1 T6 T7 T5
ของผักบุงจีน X 4.16 4.53 4.76 5.16 5.23 5.43 6.93 8.16 8.16 9.16
T2 4.16 - 0.52 0.04* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T3 4.53 - 0.93 0.02* 0.01* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T4 4.76 - 0.40 0.21 0.01* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T8 5.16 - 1.00 0.86 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T9 5.23 - 0.97 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T10 5.43 - 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T1 6.93 - 0.00* 0.00* 0.00*
T6 8.16 - 1.00 0.00*
T7 8.16 - 0.00*
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Mahasarakham University
72

จากตาราง 29 พบวา สิ่งทดลองที่ 5 มีคาความสูงของผักบุงจีนมากกวาสิ่งทดลองอื่น ๆ


และสิ่งทดลองที่ 7 และ 6 มีคาความสูงของผักบุงจีนมากกวาสิ่งทดลองที่ 1, 10, 9, 8, 4 และ 2
อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

8. จํานวนใบของผักบุงจีน

4
จํา นวนใบ (ใบ)

0
T1 T2 T3 T4 T5 T6 T7 T8 T9 T10
ชุดทดลอง (Treatment)

ภาพประกอบ 10 แสดงจํานวนใบของผักบุงจีน ในแตละสิ่งทดลอง เมื่อผักบุงจีนครบ 28 วัน

จากภาพประกอบ 10 อัตราสวนระหวางกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็มแตกตางกัน


ใหจํานวนใบของผักบุงจีนแตกตางกัน จะเห็นวาสิ่งทดลองที่ 5, 6 และ 7 ซึ่งมีอัตราสวนของ
กากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็มเปน 0:1:1, 0:1:2 และ 0:1:3 ที่มีจํานวนใบมากที่สุด คือ 4 ใบ
สวนสิ่งทดลองที่ 1, 2, 3, 4, 8, 9 และ 10 ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย :
ดินเค็ม เปน 0:0:1 มีจํานวนใบนอยที่สุด คือ 2 ใบ

Mahasarakham University
73

ตาราง 30 การเปรียบเทียบความแตกตางของจํานวนใบผักบุงจีน (ใบ) ของวัสดุปลูก


แตละสิ่งทดลองแตกตางกัน หลังการปลูกผักบุงจีน

แหลงความแปรปรวน SS df MS F p-value
สิ่งทดลอง 24.00 9 2.66 20.00 0.00*
ความคาดเคลื่อน 2.66 20 0.13
รวม 26.66 29
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 30 พบวา หลังการปลูกผักบุงจีนของสิ่งทดลองตางชนิดกัน มีจํานวนใบ


ผักบุงจีน (ใบ) แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบความแตกตาง
ของคาเฉลี่ยรายคูปรากฏผลตามตาราง 31

ตาราง 31 การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูของจํานวนใบของผักบุงจีน (ใบ)


ในแตละสิ่งทดลอง เมื่อผักบุงจีนครบ 28 วัน

น้ําหนักสด T2 T3 T4 T8 T9 T10 T1 T5 T6 T7
ของผักบุงจีน X 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.00 2.66 4.00 4.00 4.00
T2 2.00 - 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 0.81 0.00* 0.00* 0.00*
T3 2.00 - 1.00 1.00 1.00 1.00 0.81 0.00* 0.00* 0.00*
T4 2.00 - 1.00 1.00 1.00 0.81 0.00* 0.00* 0.00*
T8 2.00 - 1.00 1.00 0.81 0.00* 0.00* 0.00*
T9 2.00 - 1.00 0.81 0.00* 0.00* 0.00*
T10 2.00 - 0.81 0.00* 0.00* 0.00*
T1 2.66 - 0.06 0.06 0.06
T5 4.00 - 1.00 1.00
T6 4.00 - 1.00
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 31 พบวา สิ่งทดลองที่ 7, 6 และ 5 มีจํานวนใบของผักบุง จีนมากกวา


สิ่งทดลองที่ 10, 9, 8, 4, 3 และ 2 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

Mahasarakham University
74

9. น้ําหนักสดของผักบุงจีน

0.6
0.5
0.4
น้ํ า หนั ก สด (กรั ม )

0.3
0.2
0.1
0
T1 T2 T3 T4 T5 T6 T7 T8 T9 T10
สิ่ งทดลอง (Treatement)

ภาพประกอบ 11 แสดงน้ําหนักสดของผักบุงจีน (กรัม) ในแตละสิ่งทดลอง เมื่อผักบุงจีน


ครบ 28 วัน

จากภาพประกอบ 11 อัตราสวนระหวางกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม


แตกตางกัน ใหน้ําหนักสดของผักบุงจีนแตกตางกัน จะเห็นวาสิ่งทดลองที่ 5 ซึ่งมีอัตราสวนของ
กากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็มเปน 0:1:1 ที่มีน้ําหนักสดมากที่สุด คือ 0.55 กรัม
สวนสิ่งทดลองที่ 2 ซึ่งมีอัตราสวนของกากมันสําปะหลัง : ชานออย : ดินเค็ม เปน 1:0:1
มีน้ําหนักสดนอยที่สุด คือ 0.12 กรัม

Mahasarakham University
75

ตาราง 32 การเปรียบเทียบความแตกตางของน้ําหนักสดของผักบุงจีน (กรัม) ของวัสดุปลูก


แตละสิ่งทดลองแตกตางกัน หลังการปลูกผักบุงจีน

แหลงความแปรปรวน SS df MS F p-value
สิ่งทดลอง 0.42 9 0.04 25.23 0.00*
ความคาดเคลื่อน 0.03 20 0.00
รวม 0.46 29
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 32 พบวา หลังการปลูกผักบุงจีนของสิ่งทดลองตางชนิดกัน มีน้ําหนักสดของ


ผักบุงจีน (กรัม) แตกตางกันอยางมีนยั สําคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบความแตกตางของ
คาเฉลี่ยรายคูปรากฏผลตามตาราง 33

ตาราง 33 การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยรายคูของน้ําหนักสดของผักบุงจีน (กรัม)


ในแตละสิ่งทดลอง เมื่อผักบุงจีนครบ 28 วัน

น้ําหนักสด T2 T3 T4 T9 T8 T10 T6 T7 T1 T5
ของผักบุงจีน X 0.12 0.15 0.20 0.30 0.31 0.32 0.36 0.36 0.41 0.54
T2 0.12 - 0.99 0.76 0.02* 0.01* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T3 0.15 - 0.98 0.10 0.08 0.04* 0.00* 0.00* 0.00* 0.00*
T4 0.20 - 0.59 0.50 0.34 0.06 0.05 0.00* 0.00*
T9 0.30 - 1.00 1.00 0.95 0.94 0.46 0.00*
T8 0.31 - 1.00 0.98 0.97 0.54 0.00*
T10 0.32 - 0.99 0.99 0.72 0.00*
T6 0.36 - 1.00 0.99 0.01*
T7 0.36 - 0.99 0.02*
T1 0.41 - 0.16
* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตาราง 33 พบวา สิ่งทดลองที่ 5 มีน้ําหนักสดของผักบุงจีนมากกวาสิ่งทดลองที่ 7,


6, 10, 8, 9, 4, 3 และ 2 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

Mahasarakham University

You might also like