You are on page 1of 2

บทที่ 1

บทนำ

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
จากปั ญหาภัยแล้ งที่เกิดขึ ้นในประเทศไทยมีผลกระทบโดยตรงกับการเกษตรและแหล่งน้ำ ส่งผลเสียหาย
ต่อ
กิจกรรมทางการเกษตร เช่น พื ้นดินขาดความชุ่มชื ้น พืชขาดน้ำ พืชชะงักการเจริ ญเติบโต ผลผลิตที่ได้ มี
คุณภาพต่ำ รวมถึงปริมาณลดลง ภัยแล้ งที่เกิดมีผลต่อการเกษตร มักเกิดในฤดูฝนที่มีฝนทิ ้งช่วงเป็ น
เวลานาน ส่วนใหญ่เกิดจากฝนแล้ ง และทิ ้งช่วงโดยแต่ละปี จะเกิดขึ ้นได้ 2 ช่วง ได้ แก่ ช่วงฤดูหนาวต่อเนื่องถึง
ฤดูร้อน ซึง่ จะเริ่มจากครึ่งหลังของเดือนตุลาคมเป็ นต้ นไป บริ เวณประเทศไทยตอนบน (ภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออก) จะมีปริ มาณฝนลดลงเป็ นลำดับ ยกเว้ นภาคใต้
จนกว่าจะย่างเข้ าสูฤ่ ดูฝนในช่วงกลางเดือนพฤษภาคมของปี ถัดไป ซึง่ ภัยแล้ งลักษณะนี ้จะเกิดขึ ้นเป็ นประจำทุก
ปี และมีแนวโน้ มที่จะทวีความรุนแรงขึ ้นเป็ นลำดับ ส่วนภัยแล้ งอีกช่วงหนึง่ มักเกิดขึ ้นในช่วงกลางฤดูฝน คือ
ประมาณปลายเดือนมิถนุ ายนถึงกรกฎาคม จะมีฝนทิ ้งช่วง ซึง่ อาจเกิดขึ ้นเฉพาะท้ องถิ่น หรื อบางบริ เวณ แต่
บางครัง้ ก็อาจครอบคลุมพื ้นที่กว้ างเกือบทัว่ ประเทศไทย ( อัจฉรี สิงโต )

ดังนันเนื
้ ่องด้ วยมนุษย์มีความจำเป็ นต้ องใช้ น้ำเพื่อการดำรงชีวติ ทังในการอุ
้ ปโภคและบริ โภค ตลอดจนใช้
น้ำในกิจกรรมทางการเกษตรกรรมและการอุตสาหกรรม ซึง่ มีปริ มาณสูงขึ ้นภายใต้ มิติการพัฒนาเศรษฐกิจยุค
ปั จจุบนั เพราะทรัพยากรน้ำถือเป็ นต้ นทุนเศรษฐกิจราคาถูกที่ชว่ ยก่อเกิดความอุดมสมบูรณ์บนแผ่นดิน ที่ใดมี
น้ำที่นนั่ ย่อมมีความผาสุก เหมือนดังกระแสพระราชดำรัชของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงให้ ความสำคัญในลักษณะ “น้ำคือชีวิต” ดังพระราชดำรัส ณ สวน
จิตรลดา เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2529 ความว่าตอนหนึง่ “...หลักสำคัญว่า ต้ องมีน้ำบริ โภค น้ำใช้ เพื่อน้ำ
เพาะปลูก เพราะว่าชีวิตที่นนั่ ถ้ ามีน้ำคนอยูไ่ ด้ ถ้ าไม่มีน้ำคนอยูไ่ ม่ได้ ไม่มีไฟฟ้าคนอยูไ่ ด้ แต่มีไฟฟ้า ไม่มีน้ำ คน
อยูไ่ ม่ได้ ...” (เอกรัฐ กุศลสูงเนิน, 2563) ด้ วยเหตุที่ประเทศไทยเราเป็ นประเทศที่มีพื ้นฐานส่วนใหญ่ทำการ
เกษตร และส่งออกพืชผลทางการเกษตรเป็ นจำนวนมาก และสร้ างรายได้ ให้ กบั ประเทศจำนวนมาก แต่การ
เพาะปลูกพืชบางชนิด อาจไม่สามารถเพาะปลูกได้ ตลอดปี เนื่องด้ วยอาจมีการเกิดภัยแล้ ง และการบริ หาร
จัดการน้ำที่ยงั ไม่มีประสิทธิภาพมากพอ

ด้ วยเหตุนี ้ ผู้จดั ทำจึงสนใจศึกษาแนวทางการแก้ ปัญหาดังกล่าว โดยการนำแนวคิดการกักเก็บน้ำ เพื่อใช้ ในการ


ทำเกษตรกรรม นำมาจัดทำเครื่ องมือที่สามารถกักเก็บน้ำไว้ ใช้ เมื่อประสบภัยแล้ งได้ โดยการทำพื ้นที่สำหรับกัก
เก็บน้ำ และสูบน้ำโดยใช้ พลังงานจากแผงโซลาร์ เซลล์ และนำมากักเก็บที่สำหรับกักเก็บน้ำ และทำงานเป็ น
ระบบต่อไป เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพในการกักเก็บน้ำ ใช้ ในการทำการเกษตรกรรม โดยไม่ต้องกังวนปั ญหา
ภัยแล้ งในแต่ละปี

You might also like