You are on page 1of 43

ชุดที่ 1 (พ.ศ.

2555 )
มหาอุทกภัย
มหาอุทกภัย
ปรากฏการณ์น้ าท่วมนั้นเป็ นปัญหาที่อยูค่ ู่กบั สังคมไทยและนับดูเหมือนจะทวีความรุ นแรงมากขึ้น
เรื่ อย ๆ แม้จะไม่ได้สร้างความเสี ยหายร้ายแรงเหมือนแผ่นดินไหวหรื อไฟไหม้แต่ก็ทาให้มีการสู ญเสี ยทั้ง
ชีวิตและทรัพย์สินเป็ นจานวนมาก หากลองวิเคราะห์ปัญหาที่ทาให้เกิดน้ าท่วมในบ้านเราที่ประสบกันอยู่
เกือบทุกปี มากบ้างน้อยบ้าง ดังกล่าวมาพบว่า น่าจะมาจากสาเหตุหลัก 2 อย่างคือจากธรรมชาติและการ
กระทาของมนุษย์ โดยสามารถขยายความได้ดงั นี้
ประเทศไทยตั้งอยูใ่ นเขตมรสุ ม (Monsoons) มีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุม
ตะวันออกเฉี ยงเหนือสลับกันพัดผ่านเกือบตลอดทั้งปี ก่อให้เกิดปริ มาณน้ าฝนที่ตกหนักถึงหนักมาก
ติดต่อกันนอกจากปริ มาณน้ าฝนที่มากแล้วยังมีอิทธิพลอื่น ๆ ที่สาคัญ ได้แก่อิทธิพลของร่ องความกดอากาศ
(Through)ก่อให้เกิดพายุหมุนอีกหลายลูก ซึ่งมักเกิดในช่วงฤดูฝน และหากบางปี มีปรากฏการณ์ลานิญ่าเข้า
มาด้วยก็จะเป็ นสาเหตุที่ทาให้ฝนตกหนักมากขึ้น ลักษณะของธรรมชาติต่าง ๆ ที่กล่าวมานี้เป็ นที่มาของ
ความสาคัญของการเกิดน้ าหลาก น้ าท่วมอย่างรุ นแรงที่เกิดขึ้นในปี ที่ผา่ นมา
นอกจากนั้น การถมที่สร้างบ้านจัดสรรหรื อขยายเมืองไปในทิศทางที่ต่างหรื อลุ่มที่เคยเป็ นแหล่ง
รองรับน้ าฝนเอาไว้ได้อย่างเพียงพอแต่เมื่อคนอื่น ๆ มองโอกาสของความมัง่ คัง่ ต่างก็เร่ งถมเร่ งสร้างและทุก
คนก็หนีเอาตัวรอดโดยการถมที่ของตัวเองให้สูงกว่าที่ขา้ งเคียงเข้าไว้ คนอื่นจะเป็ นอย่างไรก็ช่าง ขอให้ที่
ตัวเองไม่น้ าท่วมเป็ นใช้ได้ ดังนั้นเมื่อที่รองรับน้ าถูกถมกลายเป็ นบ้านจัดสรรอย่างขาดการวางแผนและ
ควบคุม รวมถึงการก่อสร้างถนนหนทางขวางทางน้ าหลาก เมื่อฝนตกหนักทาให้เกิดการท่วมขังและแน่นอน
ว่าหากระบบระบายน้ าไม่มีประสิ ทธิภาพด้วยแล้ว จึงนาไปสู่ ปัญหาน้ าท่วมใหญ่ที่เกิดขึ้น
ปัจจัยที่สาคัญอีกอันหนึ่งที่มนุษย์ได้สร้างขึ้น นอกจากการก่อสร้างสิ่ งต่าง ๆ ที่ยงิ่ เร่ งให้เกิดน้ าท่วม
ใหญ่มากขึ้นคือการตัดไม้ทาลายป่ า ทาให้เกิดน้ าหลากอย่างรวดเร็ ว ขาดป่ าไม้ ต้นไม้ ไว้ดูดซับน้ าแล้วนี้ เป็ น
สิ่ งที่มนุษย์ผลักดันให้เกิดอุทกภัยนี้ดว้ ยตนเอง
อุทกภัยครั้งนี้ทาให้เกิดความเสี ยหายทั้งภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริ การมูลค่าหลักแสนล้าน
บาทเห็นได้ชดั ว่าพืชผลทางการเกษตรเสี ยหายกว้างขวาง โรงงานอุตสาหกรรมทั้งเล็ก กลางใหญ่ และ
แน่นอนว่ารายได้ธุรกิจบริ การแทบทุกอย่างพลอยถูกผลกระทบอย่างหนักด้วย ผูค้ นจานวนมากที่แทบ
สิ้ นเนื้อประดาตัวขาดที่อยู่อาศัย มิหนาซ้ ายังประสบสภาวะว่างงาน ภาวะทางสุขภาพและจิตเสื่ อม ฯลฯ
นอกจากนั้น ความเสี ยหายที่เกิดแก่ถนน สาธารณูปโภค วัดวาอาราม โบราณสถาน ฯลฯ เกิดความ
เสี ยหายอย่างหนักอย่างกว้างขวาง แบบไม่เคยเป็ นมาก่อนในภัยพิบตั ิครั้งใดของไทย แต่หากพวกเราทุกคน
เรี ยนรู ้ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นเพื่อนี้ เป็ นบทเรี ยนในการหาทางแก้ไข พัฒนาในครั้งต่อไปเราก็สามารถ
ป้องกันวิกฤติที่อาจเกิดขึ้นซ้ าในระยะเวลาอันใกล้น้ ีได้
เลขลาดับ ข้อความที่กาหนด ที่วา่ งสาหรับร่ างรหัสคาตอบ

01 สาเหตุน้ าท่วม

02 อุกทกภัยใหญ่

03 ปริ มาณน้ ามาก

04 มีพายุบ่อย

05 ตัดไม้ทาลายป่ า

06 สร้างสิ่ งกีดขวางทางน้ า

07 ประชาชนไม่มีที่อยูอ่ าศัย

08 ธรรมชาติ

09 ผลผลิตทางการเกษตรเสี ยหาย

10 ฝี มือมนุษย์
ชุดที่ 2 (พ.ศ. 2555 )
วิกฤติยโุ รป
วิกฤติยโุ รป
เรื่ องราวของวิกฤติทางการเงินของยุโรปนั้นได้เกิดขึ้นโดยไม่ห่างหายไปจากหน้าหนังสื อพิมพ์มา
เป็ นระยะเวลา 2-3 ปี แล้ว โดยจุดเริ่ มต้นมาจากปัญหาหนี้ สาธารณะแล้วขยายตัวไปสู ้ปัญหาวิกฤติการเงินของ
ประเทศเล็ก ๆ อย่างกรี ซ และไอร์แลนด์ แล้วปั ญหานี้ก็ได้ลุกลามไปสู ้ประเทศอื่น ๆ ในกลุ่มที่ใช้เงินสกุลยู
โรเดี่ยวกัน อย่างเช่นอิตาลีและสเปน ซึ่งมีเศรษฐกิจใหญ่เป็ นอันดับ 3 และ4 ของสหภาพยุโรป วิกฤติที่
เกิดขึ้นนี้ได้ส่งผลอย่างมาก ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การเงิน และการคลัง
ในด้านเศรษฐกิจนั้น มีสัญญาณชะลอตัวทางเศรษฐกิจมาตั้งแต่ตน้ ปี แล้วและมีแนวโน้มเด่นชัดมาก
ขึ้นว่ายุโรปเข้าสู่ ภาวะถดถอยด้านเศรษฐกิจตั้งแต่ไตรมาส 4 ปี นี้ และจะต่อเนื่องไปในปี 2555 ทั้งปี เป็ นผลมา
จากปัญหาด้านเศรษฐกิจของหลายประเทศในกลุ่ม PIIGS (โปรตุเกส ไอร์แลนด์ อิตาลี กรี ซ สเปน) เมื่อมีผล
ต่อเศรษฐกิจในยุโรปแล้ว สิ่ งที่สาคัญนี้คือผลกระทบได้ขยายไปสู่ ส่วนอื่น ๆ ที่เหลืออยูท่ วั่ โลกด้วยการที่
สหภาพยุโรป 27 ประเทศมีสัดส่วนผลผลิตมวลรวมในประเทศ (จีดีพี) ถึงประมาณ 1 ใน 3 ของโลกเป็ น
ภูมิภาคที่มีอิทธิพลต่อการค้า ด้วยมีการนาเข้าสิ นค้าจากทัว่ โลก มูลค่าประมาณ 1,501,844 ล้านยูโร และมีการ
ส่งออกไปทัว่ โลกด้วยมูลค่าประมาณ 1,348,782 ล้านยูโร (ข้อมูล ณ ปี 2553) โดยมียกั ษ์ใหญ่อย่างจีนและ
สหรัฐ เป็ นคู่คา้ ที่สาคัญ 2 อันดับแรก ซึ่งมีส่วนในการบ่งชี้ได้วา่ การชะลอตัวของเศรษฐกิจยุโรปจะ
สะเทือนไปสู่ส่วนที่เหลือของโลกได้เช่นกัน
เมื่อพิจารณาเปรี ยบเทียบทางด้านภาคการค้าของไทยแล้วพบว่า ช่วง 10 เดือนแรกของปี 2554 ไทย
ส่งออกเป็ น 12% ส่งออกไปญี่ปุ่นและสหภาพยุโรปในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกันประมาณ 10.7% ขณะที่ส่งออก
ไปสหรัฐ 9.5% และกลุ่มอาเซียน 23.4%
อย่างไรก็ตามเมื่อลองพิจารณาเชื่อมโยงไปถึงคู่คา้ ของฝั่งยุโรปพบว่ายุโรปนาเข้าสิ นค้าปี นี้เป็ น
อันดับหนึ่งด้วยสัดส่วน 18.8% และออกจากกลุ่ม BRIC (บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน) ในสัดส่วน 33.7% ซึ่ง
จีนและกลุ่มอาเซียนนั้นเป็ นแหล่งส่งออกอันดับต้น ๆ ของไทย
นักวิเคราะห์หลายสานักจึงคาดการณ์วา่ จากวิกฤติการเงินของประเทศในกลุ่ม PIIGS รวมถึง
เศรษฐกิจยุโรปี ที่ชะลอตัวลงอย่างต่อเนื่องไปจนถึงปี 2555 จะส่งผลต่อด้านเศรษฐกิจของไทยโดยตรงซึ่ง
ประกอบด้วยภาคการค้าที่เป็ นตลาดส่งออก รวมถึงรายได้จากการท่องเที่ยวที่สาคัญแล้วยังมี ผลกระทบต่อ
เศรษฐกิจทางอ้อมผ่านการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ซึ่งกระทบทางคู่คา้ หลักของไทย เช่น จีน และกลุ่ม
อาเซียนซึ่งเป็ นคู่คา้ สาคัญของยุโรปด้วยเช่นกัน
แม้วา่ ไทยจะถือเป็ นหนึ่งในประเทศที่มีทุนสารองแข็งแกร่ งเป็ นอันดับต้น ๆ ของโลก แต่หากวิกฤติ
หนี้ยโุ รประเบิด ก็ตอ้ งส่ งผลกระทบเป็ นวงกว้างแน่นอน ไทยจึงหนี้ไม่พน้ ที่จะได้รับผลกระทบ แม้จะไม่
รุ นแรงเหมือนวิกฤติตม้ ยากุง้ ปี 2540 ที่เศรษฐกิจไทยล้มละลายและตกเป็ นทาส IMF นานนับสิ บปี แต่รัฐบาล
ต้องระมัดระวังเรื่ องการขาดดุล การใช้จ่าย ตลาดทุน เพื่อยับยั้งผลกระทบที่มีต่อเศรษฐกิจประเทศเรา ซึ่ง
ขณะนี้ทาได้แค่ประคองตัว ขณะที่วิกฤติการเมืองไม่รู้วา่ จะกลับมารุ นแรงและซ้ าเติมปัญหานี้อีก หรื อไม่
เลขลาดับ ข้อความที่กาหนด ที่วา่ งสาหรับร่ างรหัสคาตอบ

01 หนี้สาธารณะ

02 ปัญหาเศรษฐกิจประเทศกรี ซ

03 ปัญหาเศรษฐกิจยุโรป

04 ปัญหาเศรษฐกิจประเทศไทย

05 ปัญหาเศรษฐกิจประเทศอิตาลี

06 ปัญหาเศรษฐกิจประเทศสเปน

07 ปัญหาเศรษฐกิจโลก

08 การส่ งออกลดลง

09 การท่องเที่ยวลดลง

10 ดูแลเงิน
ชุดที่ 1 (พ.ศ. 2556 )
วิกฤติแม่น้ าโขง
วิกฤติแม่น้ าโขง
แม่น้ าโขงหนึ่งในแม่น้ าสายหนึ่งที่ยงิ่ ใหญ่ของโลก ณ ตอนนี้ได้แห้งเหื อดลงถึงขั้นวิกฤตที่เรี ยกว่า
“วิกฤติแม่น้ าโขง” จากการสารวจของกรรมาธิการแม่น้ าโขง พบว่าระดับน้ าในแม่น้ าโขงลดลงต่าสุดในรอบ
20ปี ส่ งผลให้ประเทศที่อาศัยอยูต่ ามลาน้ าโขงตอนล่าง ได้แก่ ไทย ลาวกัมพูชา เวียดนาม เดือดร้อนใจตาม ๆ
กันอีกทั้งในขณะนี้จีนกาลังมีอภิมหาโครงการสร้างเขื่อนใหญ่เก็บกักน้ าในแม่น้ าโขงบริ เวณมนฑลยูนนานมี
ไม่นอ้ ยกว่า 15 เขื่อน โดยมี 4 เขื่อนใหญ่ที่สร้างเสร็จแล้ว โดยตามแผนระยะยาวตั้งเป้าจะสร้างเขื่อน 14
เขื่อน ซึ่งอยู่ระหว่างการสารวจ และการสร้างเขื่อนนี้เองเป็ นหนึ่งในสาเหตุที่ทาให้น้ าแม่น้ าโขงแห้งขอด
แม้วา่ จีนจะปฏิเสธเรื่ องนี้ก็ตาม
การที่น้ าในแม่น้ าโขงแห้งขอดเช่นนี้ได้ส่งผลต่อยังคนและสัตว์ในกรณี สัตว์ ผลกระทบอย่างหนัก
จะตกอยูท่ ี่สัตว์น้ าที่อาศัยในแม่น้ าโขง ทั้งปูปลา และหอย ซึ่งบางชนิดใกล้สูญพันธุ์ บางชนิดก็ลดปริ มาณลง
มาก โดยร้อยละ 16 ของปลาและหอยมีความเสี่ ยงสูญพันธุ์ ปูมีร้อยละ 34 กาลังโดนคุกคาม กรณีต่อคนได้
ส่งผลเสี ยต่อเศรษฐกิจที่ทาให้รายได้ของประชากรลดลง จากการที่ไม่สามารถจับสัตว์น้ ามาขายได้มาก
เหมือนแต่ก่อน แต่มนุษย์น้ นั ก็มีส่วนร่ วมให้สัตว์เหล่านี้โดนคุกคาม และเสี่ ยงสู ญพันธ์ จากการมีมลพิษใน
แหล่งน้ าเพิม่ ขึ้น โดยเป็ นผลจากการพัฒนาเมืองและการเกษตรที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ ว จนทาให้เกิดปั ญหาการ
ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้ นเปลืองแทนที่จะอนุรักษ์ไว้เพื่อให้ได้ใช้อย่างยัง่ ยืน
อีกทั้งยังมีผลกระทบที่มาจากโลกร้อนขึ้นอีกนั้นคือการที่โลกร้อนทาให้เกิดการขยายพันธุ์ของพืช
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น วัชพืชและพืชชนิดพันธุ์ต่างถิ่นอีกหลายชนิด มีคุณสมบัติที่ได้ประโยชน์จากการที่สภาวะ
อากาศเปลี่ยนแปลง เช่น มีความสามารถในการแพร่ กระจายได้ง่าย ขยายพันธุ์ได้รวดเร็ว และมีความ
ต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงในสภาวะอากาศสูงในขณะที่พืชพันธุ์ทอ้ งถิ่นหลายชนิดปรับตัวไม่เก่งย่อมตก
เป็ นฝ่ ายเสี ยเปรี ยบและถูกคุกคามจากพืชชนิดพันธุ์ต่างถิ่นได้ง่ายซึ่งรวมไปถึงสัตว์น้ าต่างๆก็ได้รับผลกระทบ
จากพืชพันธุ์ต่างถิ่นที่คุกคามด้วยเช่นกัน
จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้วา่ “วิกฤติแม่น้ าโขง” ได้ส่งผลกระทบต่อทุกสิ่ งทุกอย่างในแถบนั้น
เป็ นอย่างมาก ทั้งนั้นทางที่ดีที่สุดในเวลานี้ คือควรหาวิธีการแก้ไขเยียวยาแม่น้ าโขงด้วยกัน ตามบทบาท
หน้าที่ของตน และทาให้ดีที่สุด ภายใต้วิสัยทัศน์ของกรรมาธิการแม่น้ าโขงที่วา่ “เป็ นกลุ่มองค์กรลุ่มน้ า
ระหว่างประเทศระดับโลก ซึ่งมีความมัน่ คงทางการเงินต่อการสนับสนุนประเทศในแถบลาน้ าโขง เพื่อ
นาไปสู่ความสาเร็ จตามวิสัยทัศน์ของลุ่มน้ าโขง” โดยพิจารณาทบทวนถึงการชะลอสร้างเขื่อน ซึ่งสามารถ
นาไปสู่ การยับยั้งการถูกคุกคามและเสี่ ยงสู ญพันธุ์เร็ วขึ้น ซึ่งเรื่ องนี้ ควรมีการจัดการเป็ นอย่างแรกเพื่อให้
แม่น้ าโขงของพวกเราจะได้กลับมาหายใจได้ดงั เดิม
เลขลาดับ ข้อความที่กาหนด ที่วา่ งสาหรับร่ างรหัสคาตอบ

01 ปริ มาณน้ าในแม่น้ าโขงลดลง

02 ปูร้อยละ 34 ถูกคุกคาม

03 พันธุ์ปลาร้อยละ 16 เสี่ ยงสูญพันธุ์

04 ภาวะโลกร้อน

05 มลพิษในแหล่งน้ าเพิ่มขึ้น

06 ร้อยละ 16 ของหอยกาลังเสี่ ยงสูญพันธุ์

07 พืชจากต่างถิ่นคุกคาม

08 การสร้างเขื่อนกั้นแม่น้ า

09 ความหลากหลายของพันธุ์พืชถูกคุกคาม

10 ชะลอการสร้างเขื่อน
ชุดที่ 2 (พ.ศ. 2556 )
ธรรมานามัย
ธรรมานามัย
ธรรมานามัย หมายถึง ระบบการสร้างเสริ มสุ ขภาพด้วยวิธีการทางธรรมชาติ โดยให้ความสาคัญแก่
สิ่ งที่มีผลกระทบต่อสุ ขภาพ ธรรมานามัยจะช่วยให้บุคคลมีสุขภาพดีข้ นึ ทั้งกายและใจ มีร่างกายแข็งแรง มี
จิตใจสงบ รู ้กระทบรู ้กระทา สามารถช่วยเหลือตนเองและสังคมได้ แนวคิดพื้นฐานในหลักธรรมามัยทาง
การแพทย์ แผนไทยมองภาวะสุ ขภาพทั้งองค์รวมทั้งจิตกาย สังคม และสิ่ งแวดล้อม ซึ่ง ศ.นพ. อวย เกตุสิงห์
เป็ นผูจ้ ดั ตั้งโดยนาหลักพุทธธรรมมาประยุกต์ให้เข้ากับการดาเนินชีวิตประจาวัน หลัก 3 ประการธรรมานา
มัยได้แก่ กายานามัย จิตตานามัยและชีวิตตานามัย
กายานามัย เป็ นการส่ งเสริ มสุ ขภาพด้วยการออกกาลังกายโดยวิธีการต่าง ๆ ที่เหมาะแก่วยั และ
สุขภาพร่ างกายของแต่ละบุคคล เพื่อให้ผลดีที่สุดและมีการเสี่ ยงอันตรายน้อยที่สุด ความจริ งที่วา่ วิธีการออก
กาลังกายด้วยวิธีการต่าง ๆ นั้น บางวิธีอาจไม่เหมาะสาหรับทุกคน เพราะท่วงท่าหรื ออิริยาบถยามหยุดนิ่ง
และเคลื่อนไหวมีความเกี่ยวข้องกับส่วนต่าง ๆ ของร่ างกายและอาจเกิดความเจ็บปวดตามมา ในทางปฏิบตั ิ
จึงมีการทดสอบความพร้อมของสมรรถภาพร่ างกาย เช่น การเดิน การวิ่งเพื่อสุ ขภาพ สาหรับแพทย์แผนไทย
มีวิธีการส่งเสริ มสุขภาพด้วยท่า ฤาษีดดั ตน การฝึ กลมปราณ นับเป็ นการประพฤติปฏิบตั ิที่ดี ที่สามารถทาได้
ในทุกอิริยาบถส่งผลให้ร่างกายแข็งแรง เป็ นต้น นอกจากกายบริ หารแล้วยังมีขอ้ กาหนดในการเลือก
รับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรื อน การพักผ่อนอย่างเพียงพอก็จดั อยูใ่ นหมวดของการส่งเสริ มสุขภาพกาย
ด้วย เมื่อสุขภาพแข็งแรงดีแล้ว ก็ยอ่ มส่งผลให้สุขภาพจิตใจดีตามมา
จิตตานามัย เป็ นการส่ งเสริ มสุ ขภาพทางใจด้วยการปฏิบตั ิสมาธิและนัง่ วิปัสสนาตามหลักที่กาหนด
ในพุทธธรรม อาศัยศีลในการละความชัว่ ทุจริ ตทางกาย วาจา ใจ เพื่อสร้างพื้นฐานจิตใจให้มนั่ คง ศีลทาใจให้
สะอาด ไม่กวัดแกว่งไปตามกิเลส ไม่เครี ยด มีผลให้เกิดสมาธิ ซึ่งทาให้จิตตั้งมัน่ ไม่หวัน่ ไหว การรักษาศีล
การปฏิบตั ิเบื้องต้นในจิตตานามัย สาหรับการฝึ กสมาธิมีความสาคัญในฐานะหลักเป็ นหลักของการฝึ กจิตใจ
ให้เข้มแข็ง หนักแน่น มัน่ คง เป็ นจิตที่มีพลังมากขึ้น ส่ วนการปฏิบตั ิวิปัสสนาเป็ นส่ วนยอดซึ่งนับว่าเป็ นส่ วน
สาคัญสาหรับการพัฒนาจิตตานามัย การมีจิตใจที่ดีน้ นั ต้องประกอบไปด้วยจิตใจที่เป็ นสุ ข มีคุณภาพและ
พลังโดยเฉพาะจิตที่มีพลัง จะทาให้บุคคลมีความประพฤติดีงาม นามาซึ่งร่ างกายแข็งแรงและชีวิตยืนยาว
นอกจากนั้นพลังแห่งจิตใจยังป้องกันไม่ให้พฤติกรรมที่ไม่ดีกลับมา
ชีวิตตานามัย เป็ นการดาเนินชีวิตโดยยึดหลักอนามัย คือการปฏิบตั ิตามกายานามัยเพื่อส่งเสริ ม
สุ ขภาพกายและปฏิบตั ิตามจิตตานามัยเพื่อสุ ขภาพจิต เมื่อกายและจิตที่ดีจะส่ งผลให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ยงั่ ยืน
เช่น การล้างสารพิษในร่ างกายบางโอกาส การรับระทานอาหารที่ถูกต้อง การละเว้นสิ่ งเสพติดทั้งหลาย สิ่ ง
สาคัญคือการดาเนินชีวิตใกล้ชิดธรรมชาติให้มากที่สุด หลีกเหลี่ยงมลภาวะ หลีกเหลี่ยงการปฏิบตั ิตวั อยูใ่ น
สิ่ งที่ดีและมีวิชาชีพสุ จริ ต นัน่ คือการดาเนินชีวิตตามหลักจิตตานามัย ที่จะนามาซึ่งความสุขทางกายและ
คุณภาพชีวิตที่ดี
ในปัจจุบนั นี้สังคมกลายเป็ นเรื่ องของการแข่งขันมักก่อให้เกิดความเครี ยดขึ้นโดยไม่รู้ตวั ทาให้เกิด
พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมหลายประการที่ส่งผลต่อระบบการทางานของร่ างกายหลาย ๆ อย่างรวมกันและอาจ
เป็ นสาเหตุให้อายุส้ นั ได้ พฤติกรรมที่ไม่ดีที่ส่งผลให้ร่างกายแย่ลง ก็อย่างเช่น การดื่มเหล้า การสูบบุหรี่ เป็ น
ต้น เมื่อร่ างกายไม่ปกติก็ส่งผลให้จิตใจทาให้จิตไม่ปกติ และถ้าจิตไม่ปกติกายก็ไม่ปกติเช่นกัน เป็ นกลุ่ม
อาการใน 2ลักษณะ ที่เรี ยกว่ากายนาจิต หรื อจิตนากายนัน่ เอง ซึ่งทั้งร่ างกายและจิตที่ไม่ปกติเป็ นสาเหตุอีก
อย่างหนึ่งที่บนั่ ทอนการมีชีวิตยืนยาว
เลขลาดับ ข้อความที่กาหนด ที่วา่ งสาหรับร่ างรหัสคาตอบ

01 อายุยนื ยาว

02 สุขภาพกายดี

03 สุขภาพกายไม่ดี

04 สุขภาพจิตดี

05 สุขภาพจิตไม่ดี

06 จิตที่มีความสุข

07 จิตที่มีคุณภาพ

08 จิตที่สมรรถภาพ

09 พฤติกรรมที่ดี

10 พฤติกรรมที่ไม่ดี
(พ.ศ. 2557)
Obamacare กับ Government Shutdown
Obamacare กับ Government Shutdown
ล่วงเข้าสู ้สัปดาห์ที่สองสาหรับการปิ ดหน่วยงานบางส่ วนของรัฐบาลชัว่ คราวหรื อ Government
Shutdown ซึ่งส่ งผลให้ตอนนี้ลูกจ้างของรัฐบาลกลางมากกว่า 700,000 คน ยังคงถูกพักงานโดยไม่ได้รับ
ค่าตอบแทน ในขณะเดียวกันพิพิธภัณฑ์และอุทยานแห่งชาติทวั่ ประเทศ รวมถึงอนุสาวรี ยเ์ ทพีเสรี ภาพก็ตอ้ ง
ปิ ดให้บริ การโดยไม่มีกาหนดจึงส่งผลเสี ยต่อรายได้จากการท่องเที่ยวด้วย บรรดานักเศรษฐศาสตร์ก็กงั วลกัน
ว่าอาจนาไปสู่ วิกฤติเศรษฐกิจโลกครั้งใหญ่เกินกว่าใครจะคาดถึง
ชนวนเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดวิกฤติ Shutdown นั้น มีที่มาที่ไปจากความขัดแย้ง เรื่ องกฎหมาย
Patient Protection and Affordable Care Act หรื อกฎหมายประกันสุขภาพที่เรี ยกกันติดปากว่า “โอบามา
แคร์” ซึ่งไม่มีความเกี่ยวข้องกับงบประมาณโดยตรง แต่กาลังถูกทั้งสองพรรคใช้เป็ น “เครื่ องต่อรอง” ทาง
การเมืองซึ่งพรรครี พบั ลิกนั เห็นว่ารายละเอียดต่าง ๆ ทั้งหมดของโอบามาแคร์น้ นั ไม่ถูกต้องและเกิด
ผลกระทบขัดแย้งกับอุดมการณ์ของพรรค จึงได้ทาการขัดขวางมาตลอด นอกจากนั้น ดร.ชัยชนะ อิงควัต
จากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหงได้อธิบายว่า การต่อต้านโอบามาของพรรครี พบั ลิกนั นอกจาก
เป็ นเกมการเมืองแล้วยังมาจากหลักคิดที่วา่ คนต้องช่วยตัวเอง รัฐไม่ควรแทรกแซงเรื่ องที่ไม่จาเป็ น รัฐบาล
ควรสนับสนุนลดภาษีเพื่อให้ธุรกิจเอกชนเติบโต เมื่อเติบโตนาไปสู่ การจ้างงาน ดังนั้นการปฏิรูประบบ
สาธารณสุขของโอบามาจึงถูกมองว่าคือการแทรกแซงมากเกินไป
โอบามาแคร์ คืออะไร ? เป็ นหนึ่งในนโยบายที่ตอ้ งการขยายความคุม้ ครองประกันภัยให้
ครอบคลุมชาวอเมริ กนั ราว 15% หรื อ 40-50 ล้านคน ซึ่งสาระสาคัญของโอบามาแคร์มีรายละเอียดดังนี้
- อนุญาตให้บุตรรับสิ ทธิประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันสุขภาพของบิดามารดาได้จนอายุ 26 ปี
- ชาวอเมริ กนั ที่เป็ นผูท้ ุทลภาพและผูส้ ู งวัยที่มีอายุต้ งั แต่ 65 ขึ้นไปต้องได้รับประกันสุ ขภาพจากรัฐ
- ผูป้ ระกอบการที่มีพนักงาน หรื อลูกจ้างทางานเต็มเวลามากกว่า 50 คนต้องทาประกันสุขภาพให้
- การห้ามบริ ษทั ประกันอุบตั ิเหตุปฏิเสธรับทาประกันแก่ผทู ้ ี่มีปัญหาสุ ขภาพอยูก่ ่อนแล้ว
- การบังคับให้บริ ษทั ประกันภัยขายประกันสุขภาพในราคาเดียวโดยไม่แบ่งแยก
- รัฐใช้เงินอุดหนุนให้ประชาชนซื้อประกันภัยกับบริ ษทั เอกชนและรับเงินคนที่ไม่ยอมซื้อประกัน
สาระสาคัญดังกล่าวจึงเป็ นสาเหตุให้สมาชิกนิติบญั ญัติทุกคนจากพรรครี พบั ลิกนั ออกเสี ยงคัดค้าน
กฎหมายฉบับนี้เนื่องจากสมาชิกเห็นว่าการห้ามปฏิเสธประชาชนที่มีปัญหาสุ ขภาพ การขายประกันสุ ขภาพ
ในราคาเดียว รวมถึงสาระสาคัญที่กล่าวไปทั้งหมดจะเพิ่มภาระงบประมาณด้านบริ การสุ ขภาพและส่ งผลให้
เอกชนที่สนับสนุนพรรคต้องสูญเสี ยรายได้อีกทั้งยังจะถูกแย่งฐานเสี ยงไปด้วย ซึ่งเป็ นกลุ่มคนผิวขาวที่มี
ฐานะยากจนและเป็ นคนจากชนชั้นกลางและการที่จานวนฐานเสี ยงลดลงจะส่ งผลเสี ยต่อการเลือกตั้งสภาค
องเกรทในกลางปี 2557 และนัน่ เองจะส่ งผลเสี ยให้พรรครี พบั ลิกนั ต้องเป็ นฝ่ ายค้านอีกสมัย
ดังนั้นการขัดกับอุดมการณ์ของพรรคและเสี่ ยงต่อการเป็ นฝ่ ายค้านอย่างยาวนาน รวมทั้ง
บริ ษทั เอกชนที่สนับสนุนตนเองอยู่น้ นั ได้รับผลกระทบ ทั้งหมดนี้จึงเป็ นเหตุให้พรรครี พบั ลิกนั ตัดสิ นใจ
เสนอ Anti Obamaเพื่อให้ผกู กับงบประมาณ โดยเป็ นเงื่อนไขแลกเปลี่ยนการอนุมตั ิงบประมาณให้แก่
ประธานาธิบดีโอบามาการตัดสิ นใจของโอบามาที่ไม่ลงนามจึงทาให้การเสนอครั้งนี้ของพรรครี พบั ลิกนั ไม่
เป็ นผลและจากการตัดสิ นใจของโอบามาในครั้งนี้จึงนาสู่ การเดินหน้าปฏิรูปอย่างจริ งจัง อีกทั้งยังสร้าง
ประวัติศาสตร์ให้กบั ตนเองด้วย แต่ผลจากการไม่ลงนามก็ก่อให้เกิดความเสี ยหายครั้งใหญ่นนั่ คือการไม่
สามารถอนุมตั ิงบประมาณได้จนเป็ นสาเหตุทาให้เกิดวิกฤต “Shutdown” ดังที่กล่าวไปแล้วข้างต้น ซึ่งวิกฤต
ในครั้งนี้จะกระทบกระเทือนถึงเศรษฐกิจโลกอย่างแน่นอน
เลขลาดับ ข้อความที่กาหนด ที่วา่ งสาหรับร่ างรหัสคาตอบ
01 สาระสาคัญ Obamacare
02 เด็กใช้ประกันพ่อแม่ได้ถึงอายุ 26 ปี
03 ผูท้ ุทลภาพได้รับประกันสุขภาพจากรัฐ
04 อายุมากกว่า 65 ได้รับประกันสุขภาพจากรัฐ
05 ราคาประกันสุขภาพเดียว
06 ไม่ปฏิเสธคนที่มีปัญหาสุขภาพ
ภาคธุรกิจที่สนับสนุนพรรครี พบั ลิกนั เสี ย
07
ประโยชน์
08 แย่งฐานเสี ยงของพรรครี พบั ลิกนั
09 ขัดกับอุดมการณ์พรรค
10 คนผิวขาวฐานะยากจน
11 ชนชั้นกลาง
12 พรรครี พบั ลิกนั เป็ นฝ่ ายค้านยาวนาน
13 การเสนอAnti - Obama ผูกกับงบประมาณ
14 โอบามาไม่ลงนาม
15 ปฏิรูปประกันสุ ขภาพครั้งใหญ่
16 สร้างประวัติศาสตร์ยงิ่ ใหญ่ให้ตวั เอง
17 กฎหมายงบประมาณไม่ผา่ น
18 Government Shutdown
19 พนักงานข้าราชกาลจานวนมากต้องพักงาน
20 สูญเสี ยรายได้จากการท่องเที่ยว
( พ.ศ. 2558 )
โรคไม่ติดต่อ
โรคไม่ติดต่อ
คาว่า ” โรคไม่ ติดต่อ “ หรื อ Non Communicable Diseeases (NCDs) ถู ก น ามาใช้ม ากขึ้ น ในการ
ร่ วมมื อของนานาชาติ เพื่ อการควบคุม และป้ องกันโรค ตั้งแต่ พ.ศ. 2543 ( ค.ส.2000) หลังจากนโยบาย
Health All By The Yaer 2000 ซึ่ งส่ วนใหญ่เกี่ยวกับการควบคุมโรคติดต่อและต่อด้วยความร่ วมมือ Health
All In The 21 Century ซึ่ งเน้นการควบคุม โรคไม่ติดต่อที่ เป็ นปั ญหาสาคัญแทนปั ญหาโรคติดต่อในอดีต
ทางด้านประเทศไทยเองก็ได้มีการจัดการประชุมสมัชชาสุ ขภาพแห่ งชาติครั้งที่ 6 ขึ้นเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน
2556 ซึ่งประเด็นสาคัญเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อมีดงั ต่อไปนี้
1. กลุ่มโรคไม่ติดต่อคาว่า “โรคไม่ติดต่อ” เกิดขึ้นในระยะหลังเป็ นการแยกจากกลุ่ม “โรคติดต่อ”
หรื อ Communicable Diseeases ซึ่ งเป็ นโรคที่เกิดจากเชื้ อโรคที่สามารถติดต่อกันได้ และเกิดการระบาดได้
ดังนั้น “โรคไม่ติดต่อ”(Non Communicable Diseeases ,NCDs) จึงหมายถึง กลุ่มโรคที่เกิดจากความผิดปกติ
หรื อการเสื่ อมของร่ างกายซึ่ งไม่ติดต่อไปยัง บุคคลอื่น และส่ วนใหญ่เป็ นอาการของการเจ็บป่ วยเรื้ อรังกลุ่ม
โรคไม่ติดต่อชนิ ดต่าง ๆ ที่จะได้กล่าวถึงในเอกสารนี้ จึงเป็ นสาเหตุของการตายก่อนวัยอันควรที่เพิ่มมากขึ้น
เรื่ อย ๆ ซึ่งในเอกสารนี้ได้จากัดเฉพาะ 4 กลุ่มโรคที่ไม่ติดต่อได้แก่
1.) โรคหัวใจและหลอดเลือด เช่น หัวใจขาดเลือด ความดันโลหิ ตสู ง เส้นเลือดตีบหรื อในสมองแตก และ
โรคต่าง ๆ ที่เป็ นผลมาจากเส้นเลือดตีบหรื อเปราะ
2.)โรคเบาหวานและโรคอ้วน
3.) โรคมะเร็ง
4.) โรคปอดเรื้ อรัง (ได้แก่ โรคถุงลมโปงพองหรื อโรคหลอดเลือดอุดตันเรื้ อรัง โรคหอบหื ด)
2. ความสาคัญของปัญหา ประกอบด้วย
2.1 การเสี ยชีวิตก่อนวัยอันควรทั้งของประชากรโลกและของประชากรไทย โดยร้อยละ 63 เป็ นการเสี ยชีวิต
ก่ อนวัย อัน ควรทั้ง หมดของประชากรโลก และร้ อยละ 73 เป็ นการเสี ย ชี วิต ก่ อนวัย อัน ควรทั้ง หมดของ
ประชากรไทย ซึ่ งคาดการณ์ว่าการเสี ยชีวิตของประชากรโลกจะเพิ่มขึ้นจาก 36 ล้านคนใน พ.ศ. 2551 เป็ น
44 ล้านคนใน พ.ศ. 2563
2.2 จานวนผูป้ ่ วยจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว จากฐานข้อมูลผูป้ ่ วยที่ได้รับในการรักษาตัวใน
โรงพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุขในระยะเวลาเพียง 5 ปี 2548 - 2552 พบว่ามีจานวนผูป้ ่ วยจากกลุ่มโรค
ดังกล่าวเพิ่มขึ้นดังนี้ โรคหัวใจขาดเลือด 4.2 เท่า โรคความดันโลหิ ตสู ง 7.1 เท่า โรคหลอดเลือดในสมอง
3.9 เท่า โรคเบาหวาน 4.8 เท่า โรคมะเร็งตับ 1.2 โรคถุงลมโปงพอง 1.23 เท่า
2.3 ค่าใช้จ่ายในการรักษาที่เพิ่มมากขึ้นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเป็ นปั จจัยคุกคามที่สาคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคม ทั้งผลกระทบต่อคุณภาพของประชากร ความสู ญเสี ยทางเศรษฐกิจจากการเสี ยชีวิตก่อนวัยอันควร
ค่าใช้จ่ายด้านสุ ขภาพที่สังคมต้องแบกรับ ผลกระทบต่อความยากจนทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และสังคม
โดยรวม ประเทศไทยต้องเสี ยค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลที่สูงขึ้นจาก 4 โรคดังกล่าวไป ซึ่ งมูลค่ามากกว่า
1.4 แสนล้านบาทในปี พ.ศ. 2552
3. ปั จจัยเสี่ ยง ข้อมูลจากการสารวจคนไทยที่มีอายุต้ งั แต่ 15 ปี ขึ้นไปในปี พ.ศ. 2554 พบว่าจานวน
ผูป้ ่ วยจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อและมีปัจจัยเสี่ ยงเพิ่มมากขึ้น ประชากรผูใ้ หญ่มีความดันโลหิ ตสู งถึงร้อยละ 21.4
เบาหวานถึ ง ร้ อยละ 6.9 น้ าหนัก ตัวเกิ น และโรคอ้วนถึ งร้ อยละ 40.4 ในประชากรหญิ ง ร้ อยละ 20.5 ใน
ประชากรชาย และร้อยละ 24.5 ของประชากรหญิงบริ โภคอาหารที่ไม่เหมาะสมเสี่ ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ
ความดันโลหิ ตสู งและโรคเบาหวาน ในขณะที่ประชากรไทยถึงร้อยละ 31.5 และ21.4 ดื่มสุ ราและสู บบุหรี่
ซึ่งเป็ นปั จจัยเสี่ ยงทั้ง 2 นี้ เสี่ ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและมะเร็ ง นอกจากนั้นการสู บบุหรี่ ก็ยงั เป็ นปั จจัยเสี่ ยงต่อ
การเกิดปอดเรื้ อรังอีกด้วย
ด้านความเคลื่อนไหวระดับนานาชาติใ นการป้ องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ นั้น องค์การอนามัย
โลกโดยมีส่วนร่ วมของประเทศสมาชิกซึ่งรวมถึงประเทศไทย ได้ร่วมกันเคลื่อนไหวเพื่อป้องกันและควบคุม
โรคไม่ติดต่อมีการประชุมและพัฒนาร่ วมกันมาอย่างต่อเนื่องโดยมี เป้าหมายร่ วมกันที่จะสนับสนุ นประเทศ
สมาชิกในการลดความเจ็บป่ วย ความพิการและตายก่อนวัยอันควรอันเนื่องมาจาก “โรคไม่ติดต่อทั้งสี่ กลุ่ม”
เช่ น ร่ ว มกั น รองรั บ ยุ ท ธศาสตร์ โ ลกเพื่ อ ป้ อ งกั น และควบคุ ม โรคไม่ ติ ด ต่ อ เมื่ อ พ.ศ.2543 รั บ รอง
“แผนปฏิบตั ิการระดับโลกในการป้ องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ 2556 – 2563” เป็ นต้น นอกจากนั้นยัง
ร่ วมกันจัดทานโยบายและแนวทางปฏิบตั ิการร่ วมกันซึ่งเป็ นอีกหนึ่งในประเด็นหลักของโรคไม่ติดต่อในการ
จัดการปัจจัยเสี่ ยงของโรคไม่ติดต่อซึ่งจะได้กล่าวต่อไป
แนวทางการปฏิบตั ิช่วยลดปั จจัยเสี่ ยงและโรคต่าง ๆ นั้นแต่ละมาตรการจะช่วยลดปั จจัยเสี่ ยงและ
โรคไม่ติดต่อที่เกี่ ยวข้อง ซึ่ งมาตรการทั้งหมดล้วนเป็ นการดาเนิ นการในระดับประชากร เช่นการควบคุม
โฆษณาเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ที่จะช่วยลดการเกิดโรคหัวใจและมะเร็ ง การห้ามโฆษณาและส่ งเสริ มการขาย
บุหรี่ จะช่วยลดการสู บบุหรี่ ให้นอ้ ยลงแล้วยังสามารถยับยั้งโรคที่หมดที่เกิดจากบุหรี่ ได้อีกด้วย ส่ วนมาตรการ
ที่ จะช่ วยลดปั ญ หาการท่ านอาหารที่ เป็ นผลเสี ย ต่อสุ ขภาพและลดการเกิ ดโรคหัวใจ คือการลดการท่ าน
ไขมันทรานส์และเกลือและการลดการท่านไขมันทรานส์ยงั ช่วยให้เกิดโรคเบาหวานลดลงอีกด้วย มาตรการ
สุ ดท้ายคือการรณรงค์สาธารณะเพื่อส่ งเสริ มการมีกิจกรรมทางกายซึ่งจะช่วยลดปัญหา ทั้งปัจจัยเสี่ ยงและโรค
คือการออกกาลังกายไม่เพียงพอและปัญหาโรคอ้วน
แต่เป็ นที่ทราบกันว่าการจัดการกับโรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ ยงหลัก จาเป็ นจะต้ องอาศัยการทางาน
ร่ วมกันจากหลายภาคส่ วน อย่างไรก็ตาม การดาเนิ นงานเพื่อป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อส่ วนใหญ่มกั
จากัดอยูเ่ พียงแต่ในสายสุ ขภาพและภาครัฐเท่านั้น อีกทั้งการดาเนินงานมักมีความชัดเจนเฉพาะในระดับชาติ
หลายภาคส่ วนอย่างเช่น ภาคประชาชน ภาคเอกชน และภาคท้องถิ่นต่าง ๆ ยังขาดการมีส่วนร่ วม และการ
แสดงศักยภาพในกระบวนการที่ผา่ นมา นอกจากนั้นควรจะมีกลไกและกระบวนการในการพัฒนาศักยภาพ
ของผูท้ ี่เกี่ยวข้องต่าง ๆ ในการจัดการกับโรคไม่ติดต่อทั้งในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น
เลขลาดับ ข้อความที่กาหนด ที่วา่ งสาหรับร่ างรหัสคาตอบ
01 ประเด็นหลักเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ
02 กลุ่มโรคไม่ติดต่อ
03 ปัจจัยเสี่ ยง
04 ความสาคัญของปัญหา
05 นโยบายและแนวทางปฏิบตั ิ
06 เสี ยชีวิตก่อนวัยอันควร
07 ค่าใช้จ่ายในการรักษาสู งขึ้น
08 การสูบบุหรี่
09 การดื่มสุรา
10 กิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ
11 การบริ โภคอาหารที่ไม่เหมาะสม
12 โรคมะเร็ง
13 โรคปอดเรื้ อรัง
14 โรคเบาหวานและโรคอ้วน
15 โรคหัวใจและโรคหลอดเลือด
16 จากัดโฆษณาเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์
17 ห้ามโฆษณาเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์
18 การลดการบริ โภคไขมันทรานส์
19 การลดบริ โภคเกลือ
20 รณรงค์กิจกรรมทางกาย
( พ.ศ. 2559 )
คลีนฟู้ดกับคนรักสุ ขภาพ
คลีนฟู้ดกับคนรักสุขภาพ

ท่ามกลางวิถีการดาเนินชีวิตของคนไทยในกระแสสังคมแบบบริ โภคนิยมการก้าวเข้าสู่ช่วงผูส้ ูงอายุ


และสังคมคนโสด ความก้าวหน้าที่ ทางเทคโนโลยีและระบบสาธารณสุ ข ที่ ดีข้ ึ นฯลฯ ทาให้ก ระแสเรื่ อง
สุ ขภาพที่เกิดขึ้นมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่โรคภัยต่าง ๆ โดยเฉพาะกลุ่มโรค NCDs (Non
Comminicable - Diseases ) หรื อที่เรี ยกว่ากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้ อรัง เช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคมะเร็ ง
โรคความดันโลหิตสู ง โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ ก็ยงั คงเป็ นปัญหาเช่นเดียวกับปี ก่อน ๆ ผูค้ นจึงหันมา
ใส่ ใจสุ ขภาพมากขึ้น ทาให้เกิดกระแสนิ ยมเรื่ องสุ ขภาพยังคงมาแรงต่อเนื่ อง ไม่ว่าจะเป็ นการออกกาลังกาย
แบบ 25นาที(T25) หรื อแม้กระทัง่ การกินอาหารแบบคลีนฟู้ดที่หลายคนรู ้จกั และโดยเฉพาะ “คลีนฟู้ด ” นั้น
เรี ยกได้วา่ ได้รับความนิยมอย่างมากโดยเฉพาะกับกลุ่มคนรักสุขภาพ ซึ่งเป้าหมายของคนรักสุ ขภาพคือการมี
สุขภาพที่แข็งแรงและปราศจากโรคภัยไข้เจ็บให้นานที่สุด
คาว่า “ คลีนฟู้ด” (Clean Food) หรื อ “การกินคลีน” นั้นหลาย ๆ คนคงเคยได้ยินกันมาแล้วและให้
คาจากัดความคาว่า “คลีน” คืออาหารที่สะอาดเท่านั้น แต่ในความหมายที่แท้จริ งแล้ว อ.สง่า ดามาพงษ์
ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านโภชนาการและผูจ้ ดั การโครงการโภชนาการสมวัย สานักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริ ม
สุขภาพ (สสส.) ได้กล่าวว่ามีอยู่ 2 นัยยะด้วยกัน นัยยะที่หนึ่งคือ “อาหารที่ไม่ปนเปื้ อน” อันได้แก่ “ไม่
ปนเปื้ อนเชื้อโรค” เพราะหากจุลินทรี ยเ์ ข้าไปปะปนในอาหาร ไม่ว่าจะเป็ นอาหารที่ไม่สุก หรื ออาหารที่คา้ ง
คืนหรื ออาหารที่มีแมลงวันตอม ก็นามาซึ่งอาการท้องเดินได้ ต่อมาคือ “ไม่ปนเปื้ อนจากพยาธิ ” เพราะการ
กินอาหารแบบสุ ก ๆ ดิบ ๆ กินอาหารที่ไม่ระมัดระวังเรื่ องความสะอาด ก็อาจมีการปนเปื้ อนพยาธิ และเป็ น
โรคพยาธิได้ และสุ ดท้าย “ไม่ปนเปื้ อนสารเคมี” อย่างผัก หรื อผลไม้ที่ไม่ได้ลา้ งหรื อล้างไม่สะอาดอาจจะมี
ยาฆ่าแมลงปะปนอยู่ รวมทั้งอาหารที่ใส่ สีแต่ไม่ใช่สีผสมอาหาร หรื ออาหารที่มีพิษ เช่นเห็ดพิษ น้ ามันทอด
ซ้ า ถัว่ ลิสงที่มีอะฟลาทอกซิน เป็ นต้น ซึ่งอาหารเหล่านี้ลว้ นเป็ นพิษกับร่ างกายทั้งสิ้ น
ส่วนนัยยะที่สอง คือ “อาหารที่ถูกหลักโภชนาการ” ซึ่งหมายถึง “ ครบทั้ง 5 หมู่ ” การกินอาหาร
อย่างไรให้ครบทั้ง 5 หมู่ น้ ัน จะต้องกินให้ครบและหลากหลายซึ่ งการกินอาหารคลีนให้ถูกต้องนอกจาก
จะต้องครบทั้ง 5 หมู่แล้ว อาหารก็ตอ้ งมาจากธรรมชาติและมีการปรุ งแต่งรสชาติให้นอ้ ยที่สุดด้วย ลดหวาน
จัด เค็มจัดมันจัดซึ่งหากสามารถกินได้อย่างถูกวิธีและกินเป็ นประจาอย่างต่อเนื่อง การกินคลีนฟู้ดจะสามารถ
นาไปสู่เป้าหมายของคนรักสุขภาพได้ ที่นอกจากจะกินคลีนแล้วยังต้องครบ 5 หมู่ดว้ ยนัน่ เอง
นอกจากกินอาหารให้ถูกหลักแล้ว การออกกาลังกายเป็ นสิ่ งสาคัญที่ตอ้ งทาควบคู่กนั ไปด้วย เพราะ
การออกกาลังกายเพียงอย่างเดี ยวแต่ไม่คานึ งถึงอาหารการกินนั้นไม่เกิดประโยชน์ ดังนั้นการออกกาลังกาย
ให้ถูกต้อง อย่างแรกคือต้องเหมาะสมตามวัย เช่นในวัยเด็กเป็ นวัยที่อยูใ่ นช่วงของการพัฒนาทางด้านร่ างกาย
จิตใจ อารมณ์ สั งคมและสติ ปั ญ ญา การออกก าลังกายจึ งควรเน้น ที่ ส นุ ก สนาน ด้วยรู ปแบบง่าย ๆ และ
คานึงถึงความปลอดภัย ส่วนในวัยผูส้ ูงอายุเป็ นวัยที่ร่างกายเสื่ อมสภาพลง การออกกาลังกายจะช่วยชะลอการ
เสื่ อม
ของร่ างกายได้ ดังนั้นการออกกาลังกายจึงควรเริ่ มต้นจากช้าไปหาเร็ ว เช่นเดินช้า และเดินเร็ วขึ้น หรื อเลือก
กิจกรรมที่ทาให้ผอ่ นคลาย เช่นการรามวยจีน ไทเก็ก โยคะ แต่ถา้ หากมีอาการปวดเข่า ปวดหลัง ควรเลือก
กิจกรรมที่อยูใ่ นน้ าแทน
อย่างที่สองการออกกาลังกายอย่างพอดีไม่มากไม่นอ้ ยจนเกินไป และไม่หกั โหม ซึ่งการออกกาลัง
กายที่เหมาะสมควรอยูท่ ี่ 3-5 วันต่อสัปดาห์ ใช้เวลาประมาณวันละ 15-30 นาทีข้ นึ อยูก่ บั กิจกรรมที่ใช้ออก
กาลังกาย แต่ถา้ ไม่มีเวลาจริ ง ๆ อย่างน้อยควรหลีกเหลี่ยงพฤติกรรมแน่นิ่ง ควรเคลื่อนไหวร่ างกายบ่อย ๆ
อย่างเช่น เปลี่ยนการขึ้นลิฟต์เป็ นการเดินขึ้น-ลงบันไดลุกเดิน หรื อขยับแข้งขยับขาระหว่างทางาน เป็ นต้น
ดังนั้นหากรู ้วา่ อายุ สุ ขภาพ และกิจวัตรประจาวันของเราเหมาะกับการออกกาลังกายแบบไหนที่จะมี
ประโยชน์ต่อร่ างกายของเรามากที่สุด การออกกาลังกายที่ถูกต้องนั้นจึงจะนามาซึ่งสุขภาพร่ างกายที่แข็งแรง
และห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บได้
เมื่อกินอาหารคลีนฟู้ดและออกกาลังกายอย่างถูกต้องแล้ว อีกสิ่ งที่ขาดไม่ได้เพื่อการก้าวไปสู่
เป้าหมายของคนรักสุ ขภาพ นัน่ ก็คือการควบคุมน้ าหนักให้เหมาะสมโดยเกณฑ์ที่เหมาะสมตองอูยใู่ นระดับ
มาตรฐานคือไม่เกินและไม่ต่ากว่ามาตรฐาน ซึ่งการควบคุมน้ าหนักให้อยูใ่ นเกณฑ์ จะช่วยควบคุมระดับคอล
เลสเตอรอลความดันโลหิ ต ระดับน้ าตาลในเลือด และยังมีส่วนช่วยในการป้องกันโรคหัวใจ เบาหวาน
รวมทั้งไขข้ออักเสบและมะเร็ งบางชนิดได้
แต่อย่างไรก็ตาม แม้วา่ ในปั จจุบนั กระแสคนรักสุ ขภาพจะได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นและหลายคนหัน
กลับมาดูแลสุ ขภาพตัวเองกันมากขึ้นด้วยวิธีการที่เหมาะสมอย่างที่ได้กล่าวไป แต่ก็มีการดาเนินชีวิตของคน
บางกลุ่มที่กลับสวนกระแส คือมีพฤติกรรมที่ลดโอกาสการเข้าถึงเป้าหมายของคนรักสุ ขภาพ พฤติกรรมนั้น
ก็เช่นบางคนนอนดึก บางคนไม่ชอบออกกาลังกาย บางคนกินอาหารไม่เหมาะสม บางคนเสพสิ่ งที่ไม่
เหมาะสม เช่นสุ ราบุหรี่ ที่สาคัญคือยาเสพติด เป็ นต้น คนกลุ่มนี้กาลังใช้ชีวิตที่เสี่ ยงต่อการเกิดโรค NCDs ซึ่ง
เป็ นโรคที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการกินและการดารงชีวิตทั้งสิ้ น
ปัญหานี้ จึงนับได้วา่ เป็ นปั ญหาหนักและควรยกระดับปัญหาให้อยูใ่ นระดับเดียวกับโรคระบาด การ
จะแก้ไขปัญหาดังกล่าวจาเป็ นต้องเปลี่ยนทัศนคติให้กบั สังคม และจาเป็ นที่ตอ้ งกระตุน้ เตือนให้สังคมรับรู ้ถึง
อันตรายจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมมากขึ้น และเน้นรัฐบาลว่าอย่างน้อยควรทาให้การเข้าถึงการออกกาลัง
กายของประชาชนสะดวกสบายและปลอดภัยมากขึ้นเพราะการออกกาลังกายนั้นเป็ นการป้องกันโรคที่
สาคัญและทาได้ไม่ยากเลย
เลขลาดับ ข้อความที่กาหนด ที่วา่ งสาหรับร่ างรหัสคาตอบ
01 การดาเนินชีวิตของคนบางประเภท

02 บุหรี่

03 สุ รา

04 ยาเสพติด

05 เสพสิ่ งทาลายสุ ขภาพ

06 บริ โภคอาหารที่ไม่เหมาะสม

07 ไม่ออกกาลังกาย

08 คลีนฟู้ด

09 ปราศจากเชื้อโรค

10 ไม่มีสารเคมี

11 ครบ 5 หมู่

12 ไม่มากเกินไป

13 ไม่นอ้ ยเกิน

14 เหมาะสมกับวัย

15 ออกกาลังกายอย่างถูกต้อง

16 ควบคุมน้ าหนักให้เหมาะสม

17 ไม่สูงกว่าเกณฑ์

18 ไม่ต่ากว่าเกณฑ์

19 สุ ขภาพแข็งแรง

20 ไม่เจ็บป่ วยง่าย
( พ.ศ. 2560 )
ประเทศไทย 4.0
ประเทศไทย 4.0

ในช่วงแรก ๆ ที่นายกรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์ โอชา เข้ามาบริ หารประเทศ สิ่ งที่ได้ยนิ ได้
ฟังกันบ่อย ๆ คือการกล่าวถึงนโยบายและผลงานของคสช. พร้อมทั้งวิสัยทัศน์ที่นาพาประเทศไปข้างหน้า
วิสัยทัศน์ นั้นประกอบด้วย 3 ประการได้แก่ “ มัน่ คง มัง่ คัง่ ยัง่ ยืน” คือประเทศมีความมัน่ คง ประชาชนมี
ความมัง่ คัง่ และยัง่ ยืน แต่ในช่วงหลังมานี้ มีคากล่าวใหม่ที่ได้ยนิ นัน่ คือประเทศไทย 4.0 “ ซึ่งมีคาถามที่
ตามมาคือทาไมจึงมีประเทศไทย 4.0 แล้ว 1.0,2.0,3.0 คืออะไร คาตอบคือในอดีตที่ผา่ นมาประเทศไทยมีการ
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ตั้งแต่ “ ประเทศไทย 1.0” เน้นการเกษตร “ประเทศไทย 2.0” เน้นอุตสาหกรรมเบา
“ประเทศไทย 3.0” เน้นอุตสาหกรรมที่ซบั ซ้อนมากขึ้น(อุตสาหกรรมหนัก)แต่ทว่าภายใต้ “ประเทศไทย 3.0”
ที่เป็ นอยูต่ อนนี้ไม่อาจนาพาประเทศให้พฒั นาไปมากกว่านี้จึงเป็ นประเด็นที่รัฐบาลต้องปฏิรูปเศรษฐกิจของ
ประเทศและนาพาประชาชนไปสู่ ” ประเทศไทย 4.0 “ ให้ได้ภายใน 4-5 ปี นี้
คาว่า “ประเทศไทย 4.0” หลายคนอดสงสัยไม่ได้วา่ จะนาประเทศไทยไปทิศทางไหนและจะไปถึง
ประเทศไทย 4.0 ได้อย่างไร ผูท้ ี่อธิบายเรื่ องนี้ได้ชดั เจนมาดที่สุดคือดร.สุ วิทย์ เมษนทรี ย ์ รมต.ช่วยว่าการ
กระทรวงพาณิ ชย์ ซึ่งดร.สุ วิทย์ได้เริ่ มต้นอธิบายว่า ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพียงแต่ละ
ช่วงมีความท้าทายแตกต่างกัน ซึ่งปัจจุบนั ประเทศไทยกาลังเปลี่ยนผ่านไปสู่ศตวรรษที่ 21 ดังนั้นประเทศ
ไทยจึงต้องมีการปฏิรูปเศรษฐกิจ ให้รับมือกับโอกาสที่เข้ามา
แต่ในสภาพสถานการณ์ปัจจุบนั ประเทศไทยเต็มไปด้วยปัญหา เช่น ปัญหาสังคมคือเป็ นประเทศที่มี
ความเลื่อมล้ าระหว่างคนรวยกับคนจนกว้างมาก อีกทั้งยังเป็ นประเทศที่มีทุจริ ต คอรัปชัน่ อยูด่ าษดื่น ซึ่ง
ปัญหาสังคมนั้นจะลดลงได้โดยวาระปฏิรูปที่กาลังจะกล่าวถึงต่อไป สถานการณ์ต่อมาเป็ นปัญหาเศรษฐกิจ
ที่น่าสนใจคือเป็ นประเทศที่ติดกับดักรายได้ปานกลางมานานหลายปี
การเป็ นประเทศรายได้ปานกลางนั้น จะวัดจากการที่เราได้ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GNP)
โดยธนาคารโลกได้จดั อันดับประเทศทัว่ โลกออกเป็ นกลุ่มตามระดับรายได้ประชาชาติต่อหัว โดยนิ ยามของ
“ประเทศรายได้ต่า” คือ GNP ต่อหัวต่ากว่า 1,036 ดอลลาร์สหรัฐ ส่ วนประเทศรายได้ปานกลางนั้น ยัง
แบ่งเป็ น “ รายได้ปานกลางกลุ่มต่า” มี GNP ต่อหัวสูงถึง 1,036 - 4,085 ดอลลาร์สหรัฐ และ “รายได้ปาน
กลางกลุ่มสูง” มี GNP ต่อหัวระหว่าง 4,086 - 12,615 ดอลลาร์สหรัฐ ส่วน “ประเทศรายได้สูง” มี GNP ต่อ
หัวตั้งแต่ 12,615 ดอลลาร์สหรัฐขึ้นไป ซึ่งประเทศไทยติดอยูใ่ นรายได้ปาน กลางกลุ่มสูงมาเป็ นเวลา 10 ปี
แล้ว
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติเพื่อให้ประเทศไทยก้าวสู่การเป็ นประเทศที่มีรายได้สูงหรื อเป็ น
ประเทศในโลกที่หนึ่งนั้นจาเป็ นต้องมีความพร้อมทุกด้าน แต่ปัจจุบนั ประเทศไทยอยูใ่ นสภาวะสถานการณ์
ไม่เป็ นปกติ และไม่มีความพร้อมที่จะก้าวไปสู่ การเป็ นประเทศโลกที่หนึ่งดังที่คาดหวังไว้ได้ ดังนั้นประเทศ
ไทยจึงมีภารกิจที่สาคัญในการขับเคลื่อนไปสู่ การเป็ นประเทศในโลกที่หนึ่งอยู่ 2 วาระ ได้แก่
1. วาระปฏิรูป (Refrome Agenda) เป็ นลักษณะปฏิรูปเชิงโครงสร้างระบบ รวมถึงในเชิงพฤติกรรม
ซึ่งวาระการปฏิรูปมี 37 วาระด้วยกัน อย่างเช่น การปฏิรูปงบประมาณและที่ดิน ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม
และบังคับใช้กฎหมาย การปรับโครงสร้างภาษี การจัดตั้งสมัชชาคุณธรรม เป็ นต้น ซึ่ งวาระปฏิรูปต่าง ๆ นั้น
จะช่วยลดปัญหาสังคมทั้งสองอย่างที่กล่าวข้างต้นมาได้
2. วาระการปรับเปลี่ยน (Transformetion Agenda) ประกอบด้วยการปรับเปลี่ยนสู่ระบบเศรษฐกิจ
ดิจิตอลและ “กลไกการขับเคลื่อน” ชุดใหม่ (New Growth Engine) 3 กลไกสาคัญคือ 1. กลไกขับเคลื่อนผ่าน
การสร้างและการยกระดับผลิตภาพ (Product Growth Engine) 2. กลไกการขับเคลื่อนที่คนส่วนใหญ่มีส่วน
ร่ วมอย่าเท่าทียมและทัว่ ถึง (Inclusive Growth Engine) 3. กลไกการขับเคลื่อนที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม
อย่างยัง่ ยืน (Green Growth Engine) ซึ่งระบบเศรษฐกิจดิจิตอลและกลไกการขับเคลื่อนต่าง ๆ ดังกล่าวจะมุ่ง
ไปสู่จุดเน้นที่เป็ นลักษณะของไทยแลนด์ 4.0 และนอกจากนั้น ปัญหากับดักรายได้ปานกลางจะสามารถ
แก้ไข จากระบบเศรษฐกิจดิจิตอล และหนึ่งในกลไกขับเคลื่อนซึ่งก็คือการสร้างและยกระดับผลิตภาพ
ดร.สุวิทย์ อธิบายว่า ในอดีตประเทศไทยมุ่งเน้นสร้างความมัง่ คัง่ ทางเศรษฐกิจเป็ นสาคัญ โดยขาด
การพัฒนาในจุดอื่นให้มีความสอดคล้องกัน ดังนั้นการเป็ นประเทศไทย 4.0 จึงต้องมีลกั ษณะที่ตอ้ ง
ประกอบด้วยจุดเน้น 4 อย่างเพื่อการพัฒนาที่สมดุล อันได้แก่ 1. ความมัง่ คัง่ ทางเศรษฐกิจ ให้เป็ นประเทศที่
เศรษฐกิจมีความเข้มแข็ง มีเสถียรภาพ เน้นการแข่งขันอย่างเป็ นธรรมและเท่าเทียม 2. การมีสังคมที่อยูด่ ีมีสุข
เป็ นสังคมที่อุดมด้วยปัญญา ขับเคลื่อนด้วยองค์ความรู ้และคุณธรรม เป็ นสังคมแห่งโอกาส เกื้อกูล และ
แบ่งปัน 3. รักษ์ สิ่ งแวดล้อม จะต้องเป็ นสังคมที่เรี ยกว่าสังคมคาร์บอนต่า โดยร่ วมกันลดก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ และการทาอุตสาหกรรมต้องเป็ นอุตสาหกรรมสี เขียวให้มากขึ้น สุ ดท้ายคือส่ งเสริ มภูมิ
ปัญญามนุษย์ คนไทยจะต้องเป็ นพลเมืองที่เชื่อมัน่ ในตนเองและมีความคิดอิสระ ในขณะเดี่ยวกันต้องมีจิต
สาธารณะ และทาประโยชน์ต่อส่วนรวม เป็ นพลเมืองที่เรี ยนรู ้ได้ดว้ ยตนเอง ซึ่งจุดเน้นทั้ง 4 อย่างที่ตอ้ ง
พัฒนาให้สมดุลนี้จะสามารถนาไปสู่ วิสัยทัศน์ที่กล่าวไปแล้วข้างต้น โดยจุดเน้นทั้งหมดจะตั้งอยูบ่ นฐาน
ความคิดของ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” และหลักการสาคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีอยูว่ า่ “เมื่อ
พร่ อง ต้องรู ้จกั เติม เมื่อพอต้องรู ้จกั หยุด เมื่อเกิน ต้องรู ้จกั แบ่งปัน” เพื่อให้ประเทศมีความสามรถจนเพียงพอ
ต่อการพัฒนาเป็ นประเทศโลกที่หนึ่งต่อไป
เลขลาดับ ข้อความที่กาหนด ที่วา่ งสาหรับร่ างรหัสคาตอบ
01 ความมัง่ คัง่ ทางเศรษฐกิจ
02 ความเหลื่อมล้ าทางสังคม
03 การปฏิรูปบังคับใช้กฎหมาย
04 ให้คนมีส่วนร่ วมอย่าเท่าเทียม
05 ประเทศติดกับดักรายได้ปานกลาง
06 เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อมอย่างยัง่ ยืน
07 การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม
08 เศรษฐกิจดิจิตอล
09 ลักษณะสาคัญของประเทศไทย 4.0
10 สังคมอยูด่ ีมีสุข
11 ส่งเสริ มภูมิปัญญามนุษย์
12 สถานการณ์ ประเทศไทยปัจจุบนั
13 มัน่ คง
14 ทุจริ ตคอรัปชัน่
15 วาระปฏิรูป
16 ยัง่ ยืน
17 มัง่ คัง่
18 รักษ์สิ่งแวดล้อม
19 สร้างและยกระดับผลิตภาพ
20 วาระปรับเปลี่ยน
( พ.ศ. 2561 )
ภาษีความหวาน
ภาษีความหวาน
ภายใต้ พ.ร.บ สรรพสามิต พ.ศ. 2560 ฉบับใหม่ มีผลบังคับใช้แล้วเมื่อวันที่ 16 กันยายน ที่ผา่ นมา
และจะส่ งผลในอีก 2 ปี ข้างหน้า คือตั้งแต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2562 เป็ นต้นไป สาระสาคัญของ พ.ร.บ ที่สังคมให้
ความสนใจเป็ นอย่างมาก คือการปรับเปลี่ยนวิธีจดั เก็บภาษีสรรพสามิตสาหรับเครื่ องดื่ม มาเป็ นการจัดเก็บ
ภาษีในอัตราก้าวหน้า แต่เดิมคิดเฉพาะมูลค่าของราคาหน้าโรงงาน มาเป็ นคิดตามมูลค่าและตามปริ มาณ
น้ าตาล ทั้งนี้อตั ราภาษีความหวานจะเพิม่ ขึ้นตามความหวาน หรื อปริ มาณน้ าตาลที่เพิม่ ขึ้น ฉะนั้นการเก็บภาษี
อัตราก้าวหน้านี้คือจะแบ่งกลุ่มตามปริ มาณน้ าตาลในเครื่ องดื่ม (อย่างเช่น น้ าแร่ หรื อน้ าอัดลม เป็ นต้น) โดย
แบ่งออกเป็ น 6 กลุ่ม ได้แก่ ไม่มีน้ าตาลหรื อมีน้ าตาลไม่เกิน 6 กรัม ต่อเครื่ องดื่มปริ มาตร 100 มิลลิลิตร, ที่มี
ปริ มาณน้ าตาล 8 กรัม แต่ไม่เกิน 10 กรัมต่อเครื่ องดื่มปริ มาตร 100 มิลลิลิตร, ที่มีน้ าตาล 10 กรัมแต่ไม่เกิน
14 กรัมต่อเครื่ องดื่มปริ มาตร 100 มิลลิลิตร, ที่มีน้ าตาล 14 กรัมแต่ไม่เกิน 18 กรัมต่อเครื่ องดื่มปริ มาตร 100
มิลลิลิตร และที่มีน้ าตาลเกิน 18 กรัมต่อเครื่ องดื่มปริ มาตร 100 มิลลิลิตร
จากนั้นกรมสรรพสามิตให้เวลาภาคเอกชนในอุตสาหกรรมเครื่ องดื่มปรับตัวเป็ นเวลา 6 ปี แบ่งเป็ น
3 ช่วง ช่วงละ 2 ปี ค่อยเพิ่มอัตราขึ้น โดยใน 2 ปี แรกจะเก็บในอัตราต่าสุ ด ดังนั้นปริ มาณน้ าตาลจึงต่างกัน จึง
ทาให้เสี ยภาษีต่างกันด้วย อันได้แก่ ไม่มีน้ าตาลหรื อมีน้ าตาลไม่เกิน 6 กรัมจะได้รับการยกเว้นภาษี, ปริ มาณ
น้ าตาล 6 กรัมแต่ไม่เกิน 8 กรัม ในช่วงที่ 1 เสี ยภาษี 10 สตางค์ ช่วงที่ 2 เสี ยภาษี 10 สตางค์ , และช่วงที่ 3
เสี ยภาษี 30 สตางค์ , ปริ มาณน้ าตาลเกิน 8 กรัม แต่ไม่เกิน 10 กรัม ในช่วงที่ 1 เสี ยภาษี 30 สตางค์ ช่วงที่ 2
เสี ยภาษี 30 สตางค์ และช่วงที่ 3 เสี ยภาษี 1 บาท, ปริ มาณน้ าตาลเกิน 10 กรัมแต่ไม่เกิน 14 กรัม ช่วงที่ 1
เสี ยภาษี 50 สตางค์ ช่วงที่ 2 เสี ยภาษี 1 บาท และช่วงที่ 3 เสี ยภาษี 3 บาท, ปริ มาณน้ าตาลเกิน 14 กรัมแต่
ไม่เกิน 18 กรัม ในช่วงที่ 1 เสี ยภาษี 1 บาท ช่วงที่ 2 เสี ยภาษี 3 บาท ช่วงที่ 3 เสี ยภาษี 5 บาท, ปริ มาณ
น้ าตาลเกิน 18 กรัม ช่วงที่ 1 เสี ยภาษี 1 บาท ช่วงที่ 2 เสี ยภาษี 5 บาท ช่วงที่ 3 เสี ยภาษี 5 บาท ซึ่งจะเริ่ ม
เก็บจริ งในวันที่ 1 ต.ค. 2562
กรมสรรพสามิตได้อธิบายเพิ่มเติมว่าได้อา้ งอิงตามคานิยามของ อย.เกี่ยวกับเครื่ องดื่มที่จะต้องเสี ย
ภาษีตามค่าความหวาน หรื อภาษีน้ าตาลนั้นไม่วา่ เครื่ องดื่มที่เป็ นน้ า แต่ยงั รวมไปถึงเครื่ องดื่มผลที่ตอ้ งชงดื่ม
และเครื่ องดื่มที่เป็ นหัวเชื้อเช่น น้ าหวานเข้มข้น เป็ นต้น ที่จะต้องนามาผสมตามอัตราส่ วนบนฉลากเพื่อเป็ น
เครื่ องดื่มในการบริ โภคด้วย สาหรับอัตราการคิดค่าภาษีความหวานนั้นจะเป็ นลักษณะของ “ เซิร์ฟวิงไซส์”
(Serving Size) คือวัดค่าน้ าตาลตามหน่วยบริ โภค อย่างน้ าหวานเข้มข้นก็จะคิดหลังจากผสมน้ าตามสัดส่ วนที่
กาหนดแล้ว เช่น ผสมออกมา 1 แก้ว 200 มิลลิลิตร มีน้ าตาลอยูเ่ ท่าไหร่ ก็ค่อยคิดภาษีตามอัตราใหม่ที่กรม
สรรพสามิตกาหนด ในส่ วนของน้ าผักผลไม้ ที่ได้รับการยกเว้นภาษีสรรพสามิต เพื่อคอยช่วยเหลือภาค
เกษตรกร แต่ตอ้ งมาเสี ยภาษีน้ าตาลแทน การที่น้ าผักผลไม้มีการเติมน้ าตาลลงไปอีก อย. เสนอมาว่าไม่ควร
ยกเว้น เพื่อให้เป็ นเครื่ องดื่มที่ดีต่อสุขภาพจริ ง ๆ สาหรับการคิดภาษีน้ าตาล จะคิดแบบ “น้ าตาลทั้งหมด
(Total Sugar)” โดยไม่มีการแยกว่ายน้ าตาลจากผัก หรื อผลไม้ หรื อเป็ นน้ าตาลที่เพิ่มเข้าไปนอกจากนั้นการที่
อย. มีขอ้ กาหนดเรื่ องของฉลากโภชนาการด้านหลังของผลิตภัณฑ์ และฉลากหวาน มัน เค็มหรื อฉลาก
จีดีเอ เพื่อแสดงข้อมูลส่ วนผสมของเครื่ องดื่ม ช่วยให้กรมสรรพสามิตทราบถึงส่ วนประกอบทั้งหมดภายใน
ผลิตภัณฑ์ นั้นและจัดเก็บภาษีได้ง่ายขึ้น ฉะนั้นการเก็บภาษีอตั ราก้าวหน้าสามารถช่วยทาให้เครื่ องดื่มมี
ปริ มาณน้ าตาลลดลงได้ ซึ่งเป็ นเครื่ องดื่มที่มีน้ าตาลลดลงก็ได้แก่ น้ าแร่ น้ าอัดลม น้ าผักผลไม้และรวมถึงหัว
เชื้อด้วย
ในเรื่ องเกี่ยวกับสุ ขภาพองค์การอนามัยโลกได้กล่าวว่า น้ าตาลเป็ นส่ วนประกอบของอาหารที่หาก
บริ โภคมากเกินไปจะเกิดผลเสี ยต่อสุขภาพ จึงได้มีคาแนะนาว่า ไม่ควรบริ โภคนาตาลเกิน 50 กรัม/วัน แต่
จากข้อมูลและสถิติพบว่า คนไทยบริ โภคนาตาล 100 กรัม/วัน/คน ซึ่งถือว่าเป็ นอันดับ 9 ของโลกที่บริ โภค
น้ าตาลสู งสุ ดและบริ โภคเกินความจาเป็ น แม้วา่ การเพิ่มปริ มาณน้ าตาลในเลือดจะให้พลังงานแก่ร่างกาย
จานวนมากแต่ก็ไม่ให้สสารที่จาเป็ นอื่น ๆ หรื อให้นอ้ ยมาก ส่ วนในแง่ของการก่อโรคนั้นมีหลักฐานทาง
วิชาการชี้ชดั ว่าการบริ โภคน้ าตาลมากเกินไปเป็ นการเพิ่มความเสี่ ยงที่ก่อให้เกิดโรคอ้วน รวมไปถึงโรคที่
เกี่ยวข้องกับโรคอ้วนด้วย อย่างเช่น เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือด และความดันโลหิ ต ซึ่งหลายประเทศทัว่
โลกรวมถึงประเทศไทยได้เล็งเห็นตรงกันถึงปัญหาสุ ขภาพที่สาคัญที่กาลังเผชิญในขณะนี้คือการเพิ่มขึ้นสู ง
ของอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้ อรัง (Non Communicable Diseases : NCDs) โดยเฉพาะโรคอ้วนและ
เบาหวาน หลอดเลือดและหัวใจ และความดันโลหิ ตสู ง ดังนั้นหากประชาชนลดการบริ โภคน้ าตาลลดลง ก็
จะสามารถช่วยลดหรื อป้องกันโรคที่กล่าวมาข้างตนได้ ซึ่งในประเทศไทยโรคไม่ติดต่อเรื้ อรังก่อให้เกิดการ
สู ญเสี ยชีวิตเป็ นอันดับต้น ๆนอกจากนี้ยงั ทาให้เกิดการสู ญเสี ยทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาลอีกด้วย
ข้อมูลองค์การอนามัยโลกได้ระบุไว้วา่ การจัดเก็บเป็ นมาตรการที่ได้ผลดี ผูเ้ ชี่ยวชาญทัว่ โลกจึงมี
แนวคิดที่จะจัดเก็บภาษี ซึ่งผลจากการรวบรวมข้อมูลจากประเทศต่าง ๆ ทัว่ โลก พบว่าวิธีการที่มีความ
เป็ นไปได้มากที่สุดคือการจัดเก็บภาษีเครื่ องดื่มที่มีน้ าตาลเนื่องจากมีเหตุผลทางโภชนาการที่เพียงพอสาหรับ
จัดทาหลักเกณฑ์ในการจัดเก็บภาษีและง่ายต่อการจัดเก็บ ประเทศไทยจึงได้นาเอามาปรับใช้ ซึ่งการที่
เครื่ องดื่มที่มีปริ มาณน้ าตาลน้อยลงอันเนื่องมาจากการจัดเก็บภาษีน้ าตาลในอัตราก้าวหน้าย่อมมีผลทาให้
ประชาชนบริ โภคน้ าตาลน้อยลงได้และในขณะนี้ก็มีหลายประเทศที่จดั เก็บภาษีเครื่ องดื่มที่มีน้ าตาล
ยกตัวอย่างเช่น ประเทศฟิ นแลนด์ ฝรั่งเศส ฟิ จิ เม็กซิโก เฟรนซ์โพลีนีเซีย กัวเตมาลา ฮังการี นอร์ เวย์ และ
บางรัฐของสหรัฐอเมริ กาโดยการจัดเก็บภาษีมีวตั ถุประสงค์หลักเพื่อเพิ่มรายได้ให้รัฐพ่วงด้วยเหตุผลทาง
สุ ขภาพ ซึ่งมีบางส่ วนใช้ปริ มาณน้ าตาลเป็ นเกณฑ์การจัดเก็บ
จากที่กล่าวมาทั้งมด การจัดเก็บภาษีเครื่ องดื่มที่มีน้ าตาล จึงเป็ นอีกหนึ่งมาตรการสาคัญ ซึ่ง
มาตรการดังกล่าวนอกจากจะมีศกั ยภาพในการส่ งเสริ มการมีสุขภาพที่ดีแล้วยังสามารถเพิ่มรายได้ให้แก่รัฐ
ซึ่งจะเป็ นประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม แต่สิ่งที่สาคัญที่สุดในการมีสุขภาพที่ดีคือการปฏิบตั ิตวั ของประชากร
เอง ที่นอกจากควรบริ โภคน้ าตาลให้นอ้ ยลงแล้ว การออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอก็สามารถช่วยป้องกันโรค
ต่าง ๆ ที่ กล่าวไปได้ ดังนั้นจึงอยากให้ทุกคนหันมาดูแลใส่ใจสุขภาพักมากขึ้น
เลขลาดับ ข้อความที่กาหนด ที่วา่ งสาหรับร่ างรหัสคาตอบ
01 ประชาชนบริ โภคน้ าตาลน้อยลง
02 เครื่ องดื่มมีน้ าตาลลดน้อยลง
03 หัวเชื้อ
04 ภาษี 3 บาท
05 ภาษี 5 บาท
06 น้ าผักผลไม้
07 โรคความดันโลหิตสูง
08 โรคอ้วน
09 โรคเบาหวาน
10 ภาษี 30 สตางค์
11 การเก็บภาษีอตั ราก้าวหน้า
12 มีปริ มาณน้ าตาล 14-18 กรัม
13 มีปริ มาณน้ าตาล6-8 กรัม
14 น้ าแร่
15 ออกกาลังกาย
16 น้ าอัดลม
17 โรคหลอดเลือด
18 ภาษี 10 สตางค์
19 บริ โภคน้ าตาลมากเกินไป
20 โรคหัวใจ
เฉลย แนวข้อสอบจริ งความถนัดแพทย์ พาร์ต เชื่อมโยง
( พ.ศ.2555 - พ.ศ.2561)
ชุดที่ 1 (พ.ศ. 2555 )
มหาอุทุกภัย

เลขลาดับ ข้อความที่กาหนด ที่วา่ งสาหรับร่ างรหัสคาตอบ

01 สาเหตุน้ าท่วม 08D 10D


02 อุกทกภัยใหญ่ 07A 09A
03 ปริ มาณน้ ามาก 02A
04 มีพายุบ่อย 02A
05 ตัดไม้ทาลายป่ า 02A
06 สร้างสิ่ งกีดขวางทางน้ า 02A
07 ประชาชนไม่มีที่อยูอ่ าศัย 99H
08 ธรรมชาติ 03D 04D
09 ผลผลิตทางการเกษตรเสี ยหาย 99H
10 ฝี มือมนุษย์ 05D 06D
ชุดที่ 2 (พ.ศ. 2555 )
วิกฤติยโุ รป

เลขลาดับ ข้อความที่กาหนด ที่วา่ งสาหรับร่ างรหัสคาตอบ

01 หนี้สาธารณะ 02A 05A 06A


02 ปัญหาเศรษฐกิจประเทศกรี ซ 03A 04A
03 ปัญหาเศรษฐกิจยุโรป 04A 07A
04 ปัญหาเศรษฐกิจประเทศไทย 08D 09D
05 ปัญหาเศรษฐกิจประเทศอิตาลี 03A 04A
06 ปัญหาเศรษฐกิจประเทศสเปน 03A 04A
07 ปัญหาเศรษฐกิจโลก 04A
08 การส่ งออกลดลง 99H
09 การท่องเที่ยวลดลง 99H
10 ดูแลเงิน 04F
ชุดที่ 1 (พ.ศ. 2556 )
วิกฤตแม่น้ าโขง

เลขลาดับ ข้อความที่กาหนด ที่วา่ งสาหรับร่ างรหัสคาตอบ

01 ปริ มาณน้ าในแม่น้ าโขงลดลง 02A 03A 06A


02 ปูร้อยละ 34 ถูกคุกคาม 99H
03 พันธุ์ปลาร้อยละ 16 เสี่ ยงสูญพันธุ์ 99H
04 ภาวะโลกร้อน 07A
05 มลพิษในแหล่งน้ าเพิม่ ขึ้น 02A 03A 06A
06 ร้อยละ 16 ของหอยกาลังเสี่ ยงสูญพันธุ์ 99H
07 พืชจากต่างถิ่นคุกคาม 02A 03A 06A 09A
08 การสร้างเขื่อนกั้นแม่น้ า 01A 02A 03A 06A
09 ความหลากหลายของพันธุ์พืชถูกคุกคาม 99H
10 ชะลอการสร้างเขื่อน 01F 02F 03F 06F
ชุดที่ 2 (พ.ศ. 2556 )
ธรรมานามัย

เลขลาดับ ข้อความที่กาหนด ที่วา่ งสาหรับร่ างรหัสคาตอบ

01 อายุยนื ยาว 99H


02 สุขภาพกายดี 01A 04A
03 สุขภาพกายไม่ดี 01F 05A
04 สุขภาพจิตดี 01A 06D 07D
05 สุขภาพจิตไม่ดี 01F 03A
06 จิตที่มีความสุข 99H
07 จิตที่มีคุณภาพ 99H
08 จิตที่สมรรถภาพ 09A 10F
09 พฤติกรรมที่ดี 01A 02A
10 พฤติกรรมที่ไม่ดี 01F 02F 03A
(พ.ศ. 2557 )
Obamacare กับ Government Shutdown

เลขลาดับ ข้อความที่กาหนด ที่วา่ งสาหรับร่ างรหัสคาตอบ

01 สาระสาคัญ Obamacare 02D 03D 04D 05D 06D


02 เด็กใช้ประกันพ่อแม่ได้ถึงอายุ 26 ปี 07A 08A 09A
03 ผูท้ ุทลภาพได้รับประกันสุขภาพจากรัฐ 07A 08A 09A
04 อายุมากกว่า 65 ได้รับประกันสุขภาพจากรัฐ 07A 08A 09A
05 ราคาประกันสุขภาพเดียว 07A 08A 09A
06 ไม่ปฏิเสธคนที่มีปัญหาสุขภาพ 07A 08A 09A
ภาคธุรกิจที่สนับสนุนพรรครี พบั ลิกนั เสี ย
07 13A
ประโยชน์
08 แย่งฐานเสี ยงของพรรครี พบั ลิกนั 10D 11D 12A
09 ขัดกับอุดมการณ์พรรค 13A
10 คนผิวขาวฐานะยากจน 99H
11 ชนชั้นกลาง 99H
12 พรรครี พบั ลิกนั เป็ นฝ่ ายค้านยาวนาน 13A
13 การเสนอAnti - Obama ผูกกับงบประมาณ 99H
14 โอบามาไม่ลงนาม 13F 15A 16A 17A
15 ปฏิรูปประกันสุ ขภาพครั้งใหญ่ 99H
16 สร้างประวัติศาสตร์ยงิ่ ใหญ่ให้ตวั เอง 99H
17 กฎหมายงบประมาณไม่ผา่ น 18A
18 Government Shutdown 19A 20A
19 พนักงานข้าราชกาลจานวนมากต้องพักงาน 99H
20 สูญเสี ยรายได้จากการท่องเที่ยว 99H
(พ.ศ. 2558 )
โรคไม่ติดต่อ
เลขลาดับ ข้อความที่กาหนด ที่วา่ งสาหรับร่ างรหัสคาตอบ
01 ประเด็นหลักเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ 02D 03D 04D 05D
02 กลุ่มโรคไม่ติดต่อ 12D 13D 14D 15D
03 ปัจจัยเสี่ ยง 08D 09D 10D 11D
04 ความสาคัญของปัญหา 06D 07D
05 นโยบายและแนวทางปฏิบตั ิ 16D 17D 18D 19D 20D
06 เสี ยชีวิตก่อนวัยอันควร 99H
07 ค่าใช้จ่ายในการรักษาสู งขึ้น 99H
08 การสูบบุหรี่ 12A 13A 15A
09 การดื่มสุรา 12A 15A
10 กิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ 14A
11 การบริ โภคอาหารที่ไม่เหมาะสม 14A 15A
12 โรคมะเร็ง 06A 07A
13 โรคปอดเรื้ อรัง 06A 07A
14 โรคเบาหวานและโรคอ้วน 06A 07A
15 โรคหัวใจและโรคหลอดเลือด 06A 07A
16 จากัดโฆษณาเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ 09F 12F 15F
17 ห้ามโฆษณาเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ 08F 12F 13F 15F
18 การลดการบริ โภคไขมันทรานส์ 11F 14F 15F
19 การลดบริ โภคเกลือ 11F 15F
20 รณรงค์กิจกรรมทางกาย 10F 14F
(พ.ศ. 2559 )
คลีนฟู้ดกับคนรักสุ ขภาพ
เลขลาดับ ข้อความที่กาหนด ที่วา่ งสาหรับร่ างรหัสคาตอบ
01 การดาเนินชีวิตของคนบางประเภท 05D 06D 07D
02 บุหรี่ 99H
03 สุ รา 99H
04 ยาเสพติด 99H
05 เสพสิ่ งทาลายสุ ขภาพ 02D 03D 04D 19F 20F
06 บริ โภคอาหารที่ไม่เหมาะสม 19F 20F
07 ไม่ออกกาลังกาย 19F 20F
08 คลีนฟู้ด 09D 10D 11D 19D 20D
09 ปราศจากเชื้อโรค 99H
10 ไม่มีสารเคมี 99H
11 ครบ 5 หมู่ 99H
12 ไม่มากเกินไป 99H
13 ไม่นอ้ ยเกิน 99H
14 เหมาะสมกับวัย 99H
15 ออกกาลังกายอย่างถูกต้อง 12D 13D 14D
16 ควบคุมน้ าหนักให้เหมาะสม 17D 18D 19A 20A
17 ไม่สูงกว่าเกณฑ์ 99H
18 ไม่ต่ากว่าเกณฑ์ 99H
19 สุ ขภาพแข็งแรง 99H
20 ไม่เจ็บป่ วยง่าย 99H
(พ.ศ. 2560 )
ประเทศไทย 4.0
เลขลาดับ ข้อความที่กาหนด ที่วา่ งสาหรับร่ างรหัสคาตอบ
01 ความมัง่ คัง่ ทางเศรษฐกิจ 13A 16A 17A
02 ความเหลื่อมล้ าทางสังคม 99H
03 การปฏิรูปบังคับใช้กฎหมาย 02F 14F
04 ให้คนมีส่วนร่ วมอย่าเท่าเทียม 01A 10A 11A 18A
05 ประเทศติดกับดักรายได้ปานกลาง 99H
06 เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อมอย่างยัง่ ยืน 01A 10A 11A 18A
07 การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม 02F 14F
08 เศรษฐกิจดิจิตอล 01A 05F 10A 11A 18A
09 ลักษณะสาคัญของประเทศไทย 4.0 01D 10D 11D 18D
10 สังคมอยูด่ ีมีสุข 13A 16A 17A
11 ส่งเสริ มภูมิปัญญามนุษย์ 13A 16A 17A
12 สถานการณ์ ประเทศไทยปัจจุบนั 02D 05D 14D
13 มัน่ คง 99H
14 ทุจริ ตคอรัปชัน่ 99H
15 วาระปฏิรูป 03D 07D
16 ยัง่ ยืน 99H
17 มัง่ คัง่ 99H
18 รักษ์สิ่งแวดล้อม 13A 16A 17A
19 สร้างและยกระดับผลิตภาพ 01A 05F 10A 11A 18A
20 วาระปรับเปลี่ยน 04D 06D 08D 19D
(พ.ศ. 2561 )
ภาษีความหวาน
เลขลาดับ ข้อความที่กาหนด ที่วา่ งสาหรับร่ างรหัสคาตอบ
01 ประชาชนบริ โภคน้ าตาลน้อยลง 07F 08F 09F 17F 20F
02 เครื่ องดื่มมีน้ าตาลลดน้อยลง 01A 03D 06D 14D 16D
03 หัวเชื้อ 99H
04 ภาษี 3 บาท 99H
05 ภาษี 5 บาท 99H
06 น้ าผักผลไม้ 99H
07 โรคความดันโลหิตสูง 99H
08 โรคอ้วน 99H
09 โรคเบาหวาน 99H
10 ภาษี 30 สตางค์ 99H
11 การเก็บภาษีอตั ราก้าวหน้า 02A 12D 13D
12 มีปริ มาณน้ าตาล 14-18 กรัม 04A 05A
13 มีปริ มาณน้ าตาล6-8 กรัม 10A 18A
14 น้ าแร่ 99H
15 ออกกาลังกาย 07F 08F 09F 17F 20F
16 น้ าอัดลม 99H
17 โรคหลอดเลือด 99H
18 ภาษี 10 สตางค์ 99H
19 บริ โภคน้ าตาลมากเกินไป 07A 08A 09A 17A 20A
20 โรคหัวใจ 99H

You might also like