Masanobu Fukuoka เกษตรกรผู้ปฏิวัติยุคสมัยด้วยฟางเส้นเดียว

You might also like

You are on page 1of 17

Masanobu Fukuoka เกษตรกรผู้ปฏิวัติยุคสมัยดูวย

ฟางเสูนเดียว
"ฟาง เสูนนี้ ด้บอบบางและไรูน้าหนั ก และคนส่วนมากก็ไม่อาจรู้ว่า
แทูจริงแลูวมันมีน้าหนั กมากขนาดไหน หากผู้คนรู้ถึงคุณค่าที่แทูจริง
ของฟางนี้ การปฏิวัติของมนุษยชาติก็จะเกิดขึน
้ เป็ นการปฏิวัติท่ีทรง
พลังเพียงพอที่จะเปลี่ยนแปลงประเทศ และโลกทัง้ โลกเลยทีเดียว"

-มาซาโนบุ ฟ้ก้โอกะ, "ปฏิวัติยุคสมัยดูวยฟางเสูนเดียว" ส้านวนแปล


รสนา โตสิตระก้ล

ใน บรรดาอาชีพทัง้ หมด คงไม่มีอาชีพใดที่จำาเป็ นต่อความอย่่รอด


ของประชากรมนุษย์ซ่ึงนั บวันก็ย่ิงล้น โลกขึ้นเรื่อยๆ แต่ในขณะ
เดียวกันก็ถ่กคนอื่นด่แคลนหรือเย้ยหยันเท่ากับอาชีพเกษตรกร โดย
เฉพาะเกษตรกรรายย่อยทุนน้ อยผ้่ต้องเผชิญกับปั จจัยความเสี่ยง
มากมายที่ควบ คุมไม่ได้ และไม่มีเงินพอที่จะซื้อวิธีป้องกันความเสี่ยง
เหมือนกับบริษัทอุตสาหกรรม อาหารยักษ์ ใหญ่ทัง้ หลาย

นั บตัง้ แต่สงครามโลกครัง้ ที่สองเป็ นต้นมา ประเทศกำาลังพัฒนา


แทบทุกประเทศในโลกได้ส่งเสริมให้เกษตรกรปล่กพืชเชิงเดี่ยว เพื่อ
การส่งออกเป็ นหลัก ตามรอย "เกษตรกระแสหลัก" ของประเทศโลก
ตะวันตก ซึ่งวิธีนี้แปลว่าเกษตรกรต้องละทิง้ วิธีการเพาะปล่กแบบ
โบราณโดยใช้วัตถุดิบ ตามธรรมชาติ เช่นปุ ุยหมักและม่ลสัตว์ หันมาใช้
ปุ ุยเคมีและยาฆ่าแมลงเพื่อเพิ่มผลผลิตแทน ปั จจุบัน ผลเสียจากวิธีการ
เพาะปล่กที่เน้ นการ "เอาชนะธรรมชาติ" ดังกล่าวได้ปรากฏให้เห็น
อย่างชัดเจนในแทบทุกประเทศ การใช้สารเคมีจำานวนมากส่งผลให้
ฮิวมัสในดิน (humus หมายถึงซากพืชและสัตว์ท่ีเน่ าเปื่ อยผุพังทับถม
กันปะปนอย่่ในดิน ทำาให้ดินมีแร่ธาตุท่ีเป็ นประโยชน์ เหมาะแก่การ
เพาะปล่ก) ถ่กทำาลายหมดไปภายในชัว่ เวลาไม่ก่ีสิบปี คุณภาพดิน
เสื่อมลง ส่งผลให้พืชพันธ์ุอ่อนแอและผลผลิตตกตำ่า ทำาให้เกษตรกร
ยิ่งต้องพึ่งสารเคมีและเครื่องจักรมากกว่าเดิม

ยิ่งเวลา ผ่านไปนานเท่าไหร่ ปั ญหาก็ย่ิงปรากฏให้เราเห็นชัดขึ้น


เรื่อยๆ ว่า แนวทางของเกษตรกรรมกระแสหลัก ซึ่งคิดขึ้นมาช่วยให้
คนใช้แรงงานในการเพาะปล่กน้ อยลง กลับกลายเป็ นตัวบ่อนทำาลาย
ความอุดมสมบ่รณ์ของดินลงอย่างช้าๆ จนส่งผลให้เกษตรกรยิ่งถลำา
ลึกลงในปลักแห่งความยากจนมากกว่าเดิม จากต้นทุนและภาระหนี้
สินที่พุ่งส่งขึ้นจากความจำาเป็ นที่จะต้องพึ่งพิงปุ ุย เคมีและยาฆ่าแมลง

เมื่อปั ญหาต้นทุนส่งและดินเสื่อมเกิดในพื้นที่ซ่ ึง ไม่มรี ะบบการ


ชลประทานที่ ดีพอและทัว่ ถึง จนเกษตรกรต้องพึ่งดินฟ้ าอากาศซึ่งมี
ความปรวนแปรและกำาลังแย่ลงเรื่อยๆ จากปั ญหาโลกร้อน ตลอดจน
การกดราคาของผ้่รับซื้อผลผลิตที่มีอำานาจในการต่อรองส่ง จึงไม่น่า
แปลกใจว่าเหตุใดเกษตรกรรายย่อยในปั จจุบัน โดยเฉพาะชาวนา จึงมี
ภาระหนี้สินรุงรังและแทบไม่มีเงินเก็บเลย โดยผลการสำารวจของ
กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ในปี 2545 พบว่าการปล่กข้าวนาปี ต้อง
ใช้ต้นทุนเฉลี่ยประมาณ 1,700 บาทต่อไร่ แต่ได้กำาไรเพียง 23 บาท
ต่อไร่ หรือคิดเป็ นอัตราผลตอบแทนการลงทุนเพียงร้อยละ 1.35
เท่านั ้น

ยังไม่นับอันตรายด้านสุขภาพที่ตามมาจากการใช้สารเคมีในการ
เพาะปล่ก ทัง้ ต่อเกษตรกรต้นทางและต่อผ้่บริโภคปลายทาง

เกษตรกร ส่วนใหญ่อาจยังมองไม่เห็นอันตรายของเกษตร
กระแสหลัก หรือไม่ก็มองเห็นแต่คิดว่าพวกเขาไม่มีทางเลือกอื่น แต่
เกษตรกรจำานวนน้ อยที่กระจัดกระจายอย่่ทัว่ โลกรวมทัง้ ใน
ประเทศไทย กำาลังพิส่จน์ให้เห็นว่า วิถีเกษตรกรรมแบบ "อย่่รว่ ม"
แทนที่จะ "เอาชนะ" ธรรมชาติ โดยหันหลังให้กับเกษตรกระแสหลัก
อาศัยกระบวนการอันซับซ้อนเกื้อก่ลกันของธรรมชาติท่ีมนุษย์ไม่มีวัน
เข้าใจ อย่างถ่องแท้ แทนที่สารเคมีทุกชนิ ด ไม่เพียงแต่จะเป็ นทางเลือก
ที่ "เป็ นไปได้" เท่านั ้น แต่ยังเป็ นทางเลือกที่ "ดีกว่า" เกษตรกระแส
หลักอีกด้วย ทัง้ ในแง่คุณภาพชีวิตของเกษตรกรและฐานะความเป็ น
อย่่ โดยเฉพาะในยุคปั จจุบันที่ผ้่บริโภคกำาลังเรียกร้องผลิตภัณฑ์เกษตร
ที่ ผ่านกระบวนการผลิตแบบธรรมชาติล้วนๆ มากขึ้นเรื่อยๆ

เราอาจเรียก เกษตรกรรมที่อย่่ภายใต้แนวคิดกว้างๆ นี้ ซึ่งมีร่ป


แบบและชื่อเรียกหลากหลาย ตัง้ แต่ เกษตรผสมผสาน เกษตรยัง่ ยืน
ไร่นาสวนผสม วนเกษตร เกษตรอินทรีย์ เกษตรปลอดสารพิษ
เกษตรถาวร ตลอดจนแนวคิดของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่่หัวรัชกาล
ที่ 9 คือเกษตรพอเพียง และเกษตร "ทฤษฎีใหม่" รวมกันว่า "เกษตร
ก้าวหน้ า"

หนึ่ งใน "เกษตรกรก้าวหน้ า" ผ้่มีอิทธิพลมหาศาลคือเกษตรกร


อดีตนั กวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น มาซาโนบุ ฟ่ก่โอกะ (Masanobu
Fukuoka) เขาได้เล็งเห็นปั ญหาของเกษตรกระแสหลักตัง้ แต่ปลาย
ทศวรรษ 1930 ค้นคว้าทดลองจนพบทางออก เชื่อมัน ่ ว่าแก่นสารของ
ทางออกนั ้นมีความเป็ นสากลที่นำาไปปรับใช้ได้ทัว่ โลก และเรียบเรียง
ทางออกนั ้นออกมาเป็ นหนั งสือชื่อ "ปฏิวัติยุคสมัยด้วยฟางเส้น
เดียว" (The One-Straw Revolution) ในปี 1975 ซึ่งได้รับการแปล
เป็ นภาษาไทยโดยคุณรสนา โตสิตระก่ล และวางจำาหน่ ายแล้วตัง้ แต่ปี
1987

ก่อนที่เราจะซาบซึ้งกับแนวคิดของฟ่ ก่โอกะได้ และก่อนที่จะ


เข้าใจได้วา่ แนวคิดนั ้นเป็ นมากกว่า "ทฤษฏีการเกษตร" หากเป็ น
ปรัชญาในการดำารงชีวิตอย่างไร เราต้องทำาความเข้าใจกับวิธีการของ
เกษตรกระแสหลักนั ้นเสียก่อน ซึ่งในประเด็นนี้ คุณเดชา ศิริภัทร ผ้่
ก่อตัง้ ม่ลนิ ธิข้าวขวัญและ "โรงเรียนชาวนา" จ.สุพรรณบุรี ผ้่ประมวล
และสังเคราะห์แนวทาง "เกษตรยัง่ ยืน" ออกมาเป็ นหลักส่ตรการเรียน
ร้่ เขียนอธิบายที่มาและปั ญหาของเกษตรกระแสหลักไว้อย่างน่ าสนใจ
ในคำานิ ยมฉบับภาษา ไทยของ "ปฏิวัติยุคสมัยด้วยฟางเส้นเดียว" ดัง
ต่อไปนี้:

ในด้าน การเกษตรนั ้น การเปลี่ยนแปลงครัง้ ล่าสุดที่อาจถือได้ว่า


เป็ นการปฏิวัติก็คือ "การปฏิวัติเขียว" (The Green Revolution) ซึ่ง
เกิดขึ้นในช่วงทศวรรษ 1960 ...โดยเริ่มต้นจากเทคโนโลยีการผลิต
เช่น การผสมพันธ์ุพืชสัตว์ท่ีให้ผลผลิตส่ง การใช้สารเคมีชนิ ดต่างๆ
เป็ นปั จจัยการผลิตที่สำาคัญ และการใช้เครื่องจักรกลการเกษตร
เป็ นต้น ซึ่งนำ าไปส่่การเปลี่ยนแปลงในด้านอื่น ๆ เช่น ด้านเศรษฐกิจ
สังคม การเมืองและวัฒนธรรม ตลอดจนสุขภาพอนามัยและระบบ
นิ เวศวิทยาของโลก

จุด เด่นของการปฏิวัติเขียวอย่่ท่ีการนำ าเอาความก้าวหน้ าทาง


วิทยาศาสตร์เละ เทคโนโลยี มาใช้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า
เกษตรอย่างได้ผล ชัดเจนดังเช่นการเพิ่ม ผลผลิตต่อไร่ของพันธ์ุข้าว
"มหัศจรรย์" ต่าง ๆ เป็ นต้น แต่จุดอ่อนของมันก็คือละเลยต่อผลกระ
ทบด้านอื่นๆ เช่น สังคมและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะผลกระทบต่อ
ระบบนิ เวศวิทยาซึ่งมีความละเอียดอ่อนและซับซ้อนเป็ นอย่าง ยิ่ง

โดยอาศัยเงื่อนไขต่างๆ เช่น ผลประโยชน์ร่วมกันระหว่างกลุ่ม


อำานาจต่างๆ ในที่สุด ระบบการเกษตรในแนวทาง "การปฏิวัติเขียว" ก็
กลายเป็ นนโยบายหลักของแทบทุกประเทศ และประชาชนส่วนใหญ่
โดยเฉพาะเกษตรกรต่างถ่กชักจ่งให้ยอมรับระบบการเกษตรดัง กล่าว
ด้วยวิธีการต่างๆ รวมทัง้ ผ่านระบบการศึกษาและสื่อสารมวลชนนานา
ชนิ ด จนกระทัง่ กลายเป็ นกระแสหลักของระบบการเกษตรในปั จจุบัน

กล่าวโดยสรุป ระบบการเกษตรปั จจุบันตัง้ อย่่บนหลักการใหญ่ๆ


เพียง 2 ประการคือ ความมักง่ายและความรุนแรง

"ความ มักง่าย" แสดงออกโดยการมองทุกสิ่งอย่างแยกส่วน


เช่น มองเห็นดินเป็ นเพียงพื้นที่สำาหรับพืชอาศัยยืนต้นและเป็ นแหล่ง
ธาตุอาหารเท่า นั ้น เมื่อดินขาดความอุดมสมบ่รณ์ก็เพียงแต่ใส่ธาตุ
อาหารลงไปโดยตรงในร่ปของปุ ุย เคมี ซึ่งในที่สุดก็พัฒนามาจนไม่ต้อง
ปล่กพืชบนดินก็ได้ กล่าวคือ ปล่กบนกกรวดทรายที่มีสารละลายของ
ธาตุอาหารหล่อเลีย ้ งอย่่แทน (Hydroponic)

ส่วน "ความรุนแรง" จะเห็นได้จากการแก้ปัญหาศัตร่พืช เช่น


โรครา แมลง วัชพืชหรือสัตว์อ่ ืนๆ เช่นหน่นา โดยการฆ่าหรือทำาลาย
โดยตรงด้วยสารเคมีพิษชนิ ดต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นยากำาจัดเชื้อรา ยาฆ่า
แมลง ยากำาจัดวัชพืช หรือยาเบื่อหน่ก็ตาม

ระบบ การเกษตรปั จจุบันพยายามแยกตัวออกจากธรรมชาติ โดย


ใช้วิธีการควบคุมและบังคับธรรมชาติไปในทิศทางที่มนุษย์ต้องการ
เพียงเพื่อสนอง "ความต้องการเทียม" ของคนกลุ่มน้ อยที่มีกำาลังซื้อ
ตัวอย่างเช่น การปล่กพืชเมืองร้อนในประเทศเขตหนาว หรือปล่กพืช
เมืองหนาวในประเทศเขตร้อน รวมทัง้ การบังคับให้ต้นไม้ออกผลนอก
ฤด่กาล เป็ นต้น

ร่ปธรรมอันเป็ นผล จากระบบการเกษตรดังกล่าวที่เห็นได้ชัดเจน


ในปั จจุบัน ก็คือ การขยายตัวอย่างรวดเร็วของกิจการกลุ่มบรรษั ทผลิต
สารเคมีและเครื่องจักรกลที่ ใช้ในการเกษตร การล่มสลายของ
เกษตรกรรายย่อย หนี้สินต่างประเทศของประเทศเกษตรกรรม ความ
เสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมและระบบนิ เวศวิทยา ปั ญหาด้านสุขภาพ
อนามัยของประชาชนทัว่ ไปในฐานะผ้่บริโภคผลผลิตจากระบบการ
เกษตรนี้ และเมื่อวิเคราะห์ลึกลงไปอีกก็พบว่าแท้จริงแล้ว ระบบ
การเกษตรที่ใช้อย่่ในปั จจุบันนี้กลับมิได้มีประสิทธิภาพส่งขึ้นดังที่
กล่าวอ้างกันมาแต่ต้น หากแต่เป็ นระบบที่ด้อยประสิทธิภาพอย่างยิ่ง
ดังจะเห็นได้จากการผลิตอาหารให้ได้พลังงาน 1 แคลอรี่นั้น จะต้องใช้
พลังงานในการผลิตถึง 7 แคลอรี่ ในขณะที่ระบบการเกษตรดัง้ เดิม
นั ้นใช้พลังงานการผลิตเพียง 1 แคลอรี่ แต่ผลิตอาหารได้พลังงานถึง
50 แคลอรี่ ดังนั ้น ระบบการเกษตรในปั จจุบันจึงใช้ทรัพยากรของโลก
อย่างฟ่ ุมเฟื อย โดยเฉพาะทรัพยากรที่มีอย่่จำากัดและไม่อาจหมุนเวียน
กลับมา ใช้ใหม่ได้อีก เช่น นำ ้ ามันดิบ ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติและแร่ธาตุ
ต่างๆ เป็ นต้น ในขณะเดียวกันก็ทำาให้เกิดของเของเสียซึ่งเป็ นพิษต่อ
ดิน นำ ้ า อากาศ ตลอดจนปนเปื้ อนมากับอาหารที่ผลิตได้ เป็ นพิษภัยต่อ
ผ้่บริโภคอีกด้วย"

จากความตื่นรู้ ส่้เกษตรกรรมแบบ "ไม่กระท้า"

เส้น ทางส่่เกษตรธรรมชาติของฟ่ก่โอกะ เริ่มต้นเมื่อเขามีอายุ


เพียง 25 ปี ในแผนกวิจัยพืชของกรมศุลกากรแห่งเมืองโยโกฮาม่า
งานแรกของเขาหลังจากจบปริญญาสาขาจุลชีววิทยา (microbiology)
โดยสาขาที่เชี่ยวชาญเป็ นพิเศษคือ พยาธิสภาพของพืช งานหลักของฟ่
ก่โอกะในฐานะนั กวิทยาศาสตร์ในห้องแล็บ คือการตรวจสอบหาแหล่ง
ที่เป็ นพาหะของโรคพืชจากพันธ์ุไม้ต่าง ๆ ที่จะนำ าเข้าและส่งออก แต่
หลังจากที่เริ่มงานนี้ได้ไม่นาน วันหนึ่ งระหว่างที่ฟ่ก่โอกะกำาลังชื่นชม
กับภาพความงดงามของธรรมชาติยามเช้า เขาก็ฉุกคิดได้ว่า "ธรรมชาติ
ที่แท้" นั ้น สลับซับซ้อนและลึกซึ้งจนมนุษย์ไม่มีวันเข้าใจอย่างถ่องแท้
ด้วยการศึกษา ธรรมชาติทีละส่วนได้ ในภาษาของฟ่ก่โอกะ – "ผมแล
เห็นได้ว่าบัญญัติ (concepts) ทัง้ หลายแหล่ท่ีผมเคยยึดถือ ความคิด
ความเข้าใจเกี่ยวกับความมีอย่่ โดยตัวมันเอง ล้วนเป็ นโครงอันว่าง
เปล่า"

ถ้ามนุษย์ไม่มีวันเข้าถึง "ธรรมชาติท่ีแท้" ได้โดยสมบ่รณ์ ก็


หมายความว่ามนุษย์ไม่มีทางพยากรณ์ผลกระทบที่เกิดจากการปรับ
เปลี่ยน ทำาลาย หรือควบคุมกระบวนการในธรรมชาติได้อย่างสมบ่รณ์
ฟ่ก่โอกะจึงมองว่า บทบาทของเกษตรกรที่ควรจะเป็ นคือ "ผ้่สังเกต"
ระเบียบกฎเกณฑ์ของธรรมชาติในพื้นที่เพาะปล่ก และทำาตัวให้
สอดคล้องกับธรรมชาติ ไม่ใช่ "ผ้่แทรกแซง" ระเบียบกฎเกณฑ์เหล่า
นั ้น เราไม่มีทางที่จะมีความร้่เกี่ยวกับระบบนิ เวศน์ภายในชัว่ ข้ามคืน
และความร้่นี้กห ็ าไม่ได้จากหนั งสือ ดังนั ้น เราจึงต้องพยายามสังเกต
ความเปลี่ยนแปลงที่ไม่หยุดนิ่ งของระบบนิ เวศน์ เพื่อให้ธรรมชาติ
สามารถปรับตัวเข้ากับการเพาะปล่กของมนุษย์

ซึ่งเป็ นแนวคิดที่อย่้ตรงขูามกับเกษตรกระแสหลักอย่างหนู า
มือเป็ นหลังมือ
วัน รุ่งขึ้น ฟ่ก่โอกะยื่นใบลาออกจากที่ทำางาน เดินทางกลับ
บ้านนาของพ่อที่ชนบท ตัดสินใจใช้ชีวิตอย่่กับธรรมชาติ เป็ นเกษตรกร
เต็มเวลานั บจากนั ้นเป็ นต้นมา โดยใช้แนวทางที่สอดคล้องกับความเชื่อ
ของเขา นั่ นคือ แทนที่จะพยายามตอบคำาถามตามแบบฉบับเกษตร
กระแสหลักว่า "ลองใช้สารเคมี X / เทคโนโลยี X / เทคนิ ค X" ดีหรือ
ไม่ ฟ่ก่โอกะกลับพยายามตอบคำาถามว่า "ลองไม่ใช้สารเคมี X ได้ไหม?
ลองไม่ใช้เทคนิ ค X ได้ไหม?" ถ้าคำาตอบคือ "ได้" ฟ่ก่โอกะก็จะเลิกใช้
ประดิษฐ์กรรมของมนุษย์ชิน ้ นั ้น ปล่อยให้ธรรมชาติเป็ นผ้่จัดการ แต่
ทัง้ นี้ วิธีการของฟ่ก่โอกะไม่ได้เป็ นการเพาะปล่กแบบปล่อยไปตาม
ยถากรรม หรือไม่ทำาอะไรเลย เพียงแต่เป็ นการงดเว้นกิจกรรมที่ไม่
จำาเป็ นทุกชนิ ด และไม่พ่ึงพาปั จจัยการผลิตจากภายนอก
ความคิด พื้นฐานปรากฏแก่เขาในวันหนึ่ ง ขณะที่เขาเดินผ่านทุ่งนา
รกรูางแห่งหนึ่ งที่ดินไม่เคยถ้กไถพรวนมาเป็ นเวลา หลายปี ที่นั่นเขา
แลเห็นตูนขูาวที่แข็งแรงแทงยอดออกมาท่ามกลางกอหญูาของวัชพืช
จากนั ้นเป็ นตูนมา เขาเลิกกักน้ ้ าไวูในนาเพื่อที่จะปล้กขูาว เขาเลิก
หว่านเมล็ดขูาวในฤด้ใบไมูผลิ แต่เปลี่ยนมาหว่านเมล็ดในฤด้ใบไมูร่วง
แทน และหว่านเมล็ดลงไปบนทูองนาโดยตรงซึ่งเมล็ดเหล่านั ้นจะ
ตกลงไปบนผืนดินโดย ธรรมชาติ แทนที่จะไถพรวนดินเพื่อก้าจัด
วัชพืช เขาเรียนรู้ท่ีจะควบคุมมันโดยการใชูพืชคลุมดินจ้าพวกถั่ว เช่น
ไวท์โคลเวอร์ และฟางขูาว เมื่อเขาแลเห็นว่าสภาพเช่นนั ้นมีแนวโนู มที่
เป็ นประโยชน์ต่อพืชผลของเขา ฟ้ก้โอกะจะเขูาไปแทรกแซงพืชผลรวม
ทัง้ ชุมชนของสัตว์ในไร่นาของเขานู อยที่สุด เท่าที่จะนู อยไดู - "ปฎิวัติ
ยุคสมัยดูวยฟางเสูนเดียว" ส้านวนแปล รสนา โตสิตระก้ล

ทักษะและวินัยด้านวิทยาศาสตร์การทดลองที่เขารำ่าเรียน และ
ฝึ กปรือจนชำานาญ เป็ นปั จจัยสำาคัญที่ช่วยให้ฟ่ก่โอกะสามารถค้นพบ
หลักการเกษตรธรรมชาติท่ีเขา ขนานนามว่า "เกษตรกรรมไม่กระทำา"
ผ่านการลองผิดลองถ่กนั บครัง้ ไม่ถ้วน เพราะถ้าปราศจากขัน ้ ตอนการ
ทดลอง เก็บข้อม่ล และประเมินผลแบบนั กวิทยาศาสตร์แล้ว ฟ่ก่โอกะ
ก็คงไม่สามารถประมวลผลการทดลองของเขาออกมาเป็ น "ชุดหลัก
การ" ได้ เพราะเกษตรกรรมมีปัจจัยเกี่ยวข้องนั บร้อยนั บพันรายการที่
มีความสัมพันธ์ซ่ึง กันและกันอย่างลึกซึ้ง

หลักการ "เกษตรกรรมไม่กระท้า" ของฟ้ก้โอกะ หรือที่เราอาจ


เรียกใหูทันสมัยว่า minimalist farming มี 4 ขูอ ซึ่งเขาอธิบายใน
"ปฏิวัติยุคสมัยดูวยฟางเสูนเดียว" ดังต่อไปนี้ :

"หลัก การประการแรก ไม่มีการไถพรวนดิน เป็ นเวลาหลายร้อย


ปี มาแล้วที่เกษตรกรเชื่อว่าการไถเป็ นสิ่งจำาเป็ นต่อการปล่ก พืช
อย่างไรก็ตาม การไม่ไถพรวนดินคือพื้นฐานของเกษตรกรรมธรรมชาติ
พื้นดินมีการไถพรวนตามธรรมชาติด้วยตัวมันเองอย่่แล้ว โดยการ
แทรกซอนของรากพืช และการกระทำาของพวกจุลินทรีย์ทัง้ หลาย สัตว์
เล็กๆ และไส้เดือน
หลักการประการที่ 2 ไม่มีการใช้ปุยเคมี หรือทำาปุ ุยหมัก คนเรา
มักจะเข้าไปวุ่นวายกับธรรมชาติ และเขาก็ไม่สามารถแก้ไขผลเสียที่เกิด
ขึ้นได้ไม่ว่าจะพยายามอย่างไร วิธีการเพาะปล่กที่เลินเล่อสะเพร่าทำาให้
ส่ญเสียหน้ าดินอันอุดมสมบ่รณ์ไป และดินก็จะจืดลงทุกปี แต่ถ้าปล่อย
ดินอย่่ในสภาพของมันเองดินจะสามารถรักษาความอุดมสมบ่รณ์ตาม
ธรรมชาติเอาไว้ได้ ซึ่งเป็ นไปตามวงจรชีวิตของพืชและสัตว์อย่างมี
ระเบียบ

หลัก การประการที่ 3 ไม่มีการกำาจัดวัชพืชไม่ว่าโดยการถางหรือ


ใช้ยาปราบวัชพืช วัชพืชมีบทบาทสำาคัญในการสร้างความอุดมสมบ่รณ์
ให้แก่ดินและช่วยให้เกิดความ สมดุลในสิ่งแวดล้อมทางชีววิทยา ตาม
หลักการพื้นฐาน วัชพืชเป็ นสิ่งที่ต้องควบคุม แต่ไม่ต้องกำาจัด การใช้
ฟางคลุม และปล่กพืชคลุมดินจำาพวกถัว่ ปนไปกับพืชผล ตลอดจนการ
ปล่อยนำ ้ าเข้านาเป็ นครัง้ คราว เป็ นวิธีควบคุมวัชพืชได้อย่างดีในนาของ
ผม

หลักการประการที่ 4 ไม่มีการใช้สารเคมี เมื่อพืชอ่อนแอลง


เพราะผลจากการปฏิบัติท่ีไม่เป็ นไปตามธรรมชาติ อันได้แก่การไถพลิก
ดิน การใช้ปุยเป็ นต้น ความไร้สมดุลของโรคพืช และแมลงก็จะกลาย
เป็ นปั ญหาใหญ่ ในการเกษตรธรรมชาตินั้นหากปล่อยไว้ตามลำาพังจะ
อย่่ในสภาพสมดุล แมลงที่เป็ นอันตรายและโรคพืชมักมีอย่่เสมอ แต่ไม่
เคยเกิดขึ้นในธรรมชาติจนถึงระดับที่ต้องใช้สารเคมีท่ีมีพิษเหล่านั ้น
เลย วิธีการควบคุมโรคและแมลงที่เหมาะสม ก็คือการปล่กพืชที่แข็ง
แรงในสภาพแวดล้อมที่สมบ่รณ์"

เกษตรธรรมชาติ ของฟ่ก่โอกะให้ผลเป็ นที่น่าพอใจอย่างยิ่ง ลาร์ร่ี


คอร์น (Larry Corn) ผ้่แปล "ปฏิวัติยุคสมัยด้วยฟางเส้นเดียว" เป็ น
ภาษาอังกฤษ เปรียบเทียบเกษตรธรรมชาติกับเกษตรแนวอื่นไว้ใน
บทนำ าของหนั งสือว่า: "การเพาะปล่กทัง้ 3 วิธี (ธรรมชาติ พื้นบ้าน
และใช้สารเคมี) ให้ผลผลิตที่ไม่แตกต่างกัน แต่จะให้ผลแตกต่างต่อดิน
ที่ทำาการเพาะปล่กอย่างเห็นได้ชดั ดินในที่นาของฟ่ก่โอกะดีขึ้นใน
แต่ละฤด่กาล ตลอดระยะ 25 ปี ท่ีผ่านมาตัง้ แต่เขาเลิกไถพรวนดิน ที่
นาของเขาดีขึ้นทัง้ ในแง่ความอุดมสมบ่รณ์ โครงสร้างของดิน และ
ความสามารถในการกักเก็บนำ ้ า สำาหรับวิธีเพาะปล่กแบบพื้นบ้านนั ้น
สภาพของดินที่ผ่านการเพาะปล่กเป็ นเวลาหลายปี จะคงสภาพเดิม
ชาวนาจะได้ผลผลิตตามสัดส่วนของปุ ุยหมักกับม่ลสัตว์ท่ีเขาใส่ในนา
แต่ดินในที่นาที่ใช้สารเคมีจะไร้ชีวิต และความอุดมสมบ่รณ์ตาม
ธรรมชาติจะถ่กผลาญไปในระยะเวลาอันสัน ้ "

เกษตร ธรรมชาติของฟ่ก่โอกะ "...ทำาให้ข้าวเจ้าและพืชผลที่ให้


ผลผลิตส่งสามารถเติบโตงอกงามในพื้นที่ท่ี เกษตรกรไม่เคยคิดฝั นว่า
จะปล่กได้ ที่ดินลาดชันและที่ดินที่ไม่อุดมสมบ่รณ์สามารถนำ ามาใช้
เพาะปล่กได้ โดยปราศจากอันตรายจากการชะล้างพังทลายของหน้ าดิน
เกษตรกรรมธรรมชาติสามารถช่วยฟื้ นฟ่สภาพดินที่ถ่กทำาลายจากวิธี
การเพาะปล่กอัน โง่เขลา และจากสารเคมีได้อย่างมีประสิทธิภาพ"

เปลี่ยนทะเลทรายเป็ นสีเขียวดูวยเกษตรธรรมชาติ

เมื่อ ฟ่ก่โอกะได้ไปเยือนสหรัฐอเมริกาในปี 1979 และเห็นทะเล


ทรายในมลรัฐแคลิฟอร์เนี ย เขาคิดว่าแนวทางเกษตรธรรมชาติน่าจะ
ช่วยทำาให้ทะเลทรายเป็ นพื้นที่เกษตรกรรม ได้ เขาเดินทางไปพ่ดคุยกับ
ชุมชนเกษตรกรหลายแห่ง และผลจากคำาแนะนำ าของฟ่ก่โอกะก็คือ
ทะเลทรายสามารถกลายเป็ นพื้นที่เพาะปล่กเขียวชอุ่มได้จริงๆ ความ
สำาเร็จครัง้ นั ้นเป็ นแรงบันดาลใจให้ฟ่ก่โอกะออกเดินทางไปทัว่ โลกเพื่อ
เปลี่ยนทะเลทรายที่อ่ ืนๆ ให้เป็ นสีเขียว ตัง้ แต่จีน อินเดีย ฟิ ลิปปิ นส์
กรีซ กลุ่มประเทศอเมริกาใต้ และกลุ่มประเทศแอฟริกา รวมทัง้
โซมาเลียและเอธิโอเปี ย สองประเทศในกลุ่มประเทศยากจนที่สุดใน
โลก ทุกแห่งที่เขาไปให้คำาแนะนำ าประสบผลสำาเร็จอย่างงดงาม

แม้ว่าความสำาเร็จ ของเกษตรธรรมชาติต้องใช้เวลานานหลายปี
ไม่มีทางเกิดได้ใน "ชัว่ พริบตา" เมื่อเทียบกับเกษตรกระแสหลัก ความ
สำาเร็จนั ้นเกิดแน่ ๆ อย่างแน่ นอนและส่งผลยัง่ ยืนถึงชัว่ ล่กชัว่ หลาน

เคล็ด ลับที่สำาคัญประการหนึ่ งของแนวทางเกษตรธรรมชาติ ซึ่ง


เป็ นปั จจัยสำาคัญของความสำาเร็จในการเปลี่ยนทะเลทรายเป็ นสีเขียว
ด้วย คือการที่ฟ่ก่โอกะคิดค้นวิธีใส่เมล็ดพืชผสมนำ ้ าเข้าไปในก้อนดิน
แล้วปั ้ นจนแน่ นให้เป็ นก้อนกลมๆ และตากแห้ง 3-4 วัน ก่อนจะ
หว่านก้อนเมล็ดนั ้นลงไปในดิน เพราะเขาสังเกตเห็นว่าเมล็ดพืชที่ไม่มี
อะไรห่อหุ้มนั ้นมักตกเป็ นเหยื่อของนก ก้อนดินห่อเมล็ดอุ้มนำ ้ านี้ช่วย
ป้ องกันให้เมล็ดไม่ถ่กนกกิน ไม่แห้งเร็ว และสันฐานกลมก็ช่วยไม่ให้
แตกง่ายอีกด้วย

ก้อนดินห่อเมล็ดของฟ่ก่โอกะ เหมาะกับการเพาะปล่กในทะเล
ทรายเป็ นอย่างยิ่ง เพราะไม่ต้องใช้การรดนำ ้ าหรือปุ ย
ุ ใดๆ แถมยังมีราคา
ถ่กแสนถ่ก ทำาให้เป็ นที่นิยมอย่างรวดเร็วในทุกประเทศที่ฟ่ก่โอกะเดิน
ทางไปสาธิตเกษตร ธรรมชาติ แม้ว่าปั จจุบันฟ่ก่โอกะ ในวัย 94 ปี ท่ีด่
แข็งแรงอย่างไม่น่าเชื่อ จะ "เกษี ยณ" ตัวเองจากชีวิตเกษตรกร ใช้ชีวิต
เรียบง่ายในบ้านพักของเขา ขบวนการเปลี่ยนทะเลทรายเป็ นสีเขียวที่
เขาริเริ่ม ก็ยังดำาเนิ นต่อไปในหลายประเทศทัว่ โลก

ปั ญหาและความเขูาใจผิดของวิทยาศาสตร์แบบแยกส่วน

นอกเหนื อจากการค้นคว้าวิจัยเรื่องเกษตรธรรมชาติอย่างต่อ
เนื่ อง ฟ่ก่โอกะยังเป็ นนั กปรัชญาผ้่ย่ิงใหญ่คนหนึ่ งอีกด้วย ทัง้ นี้เพราะ
เขาเริ่มจากการตระหนั กร้่ถึงสัจธรรมของธรรมชาติ ก่อนที่จะพยายาม
แปรสัจธรรมนั ้นออกมาเป็ นวิธีปฏิบัติท่ีมี "ความเป็ นสากล" ส่ง (อย่าง
น้ อยก็สำาหรับพื้นที่ค่อนข้างบริสุทธิท์ ่ียังไม่สายเกินเยียวยาด้วย เกษตร
ธรรมชาติ) ไม่ใช่เริ่มจากวิธีปฏิบัติแล้วค่อยพัฒนาปรัชญาให้สอดคล้อง
กัน

ฟ่ก่โอ กะใช้พ้ืนที่พอสมควรใน "ปฏิวัติยุคสมัยด้วยฟางเส้น


เดียว" ในการครุ่นคิดว่าเหตุใดประโยชน์ของเกษตรธรรมชาติจึงไม่
แพร่หลายออกไปหรือได้ รับความนิ ยมในวงกว้าง เขาคิดว่าสาเหตุท่ี
สำาคัญประการหนึ่ งคือ วิธีคิดแบบ "แยกส่วน" มากขึ้นเรื่อยๆ ของโลก
ปั จจุบัน ฟ่ก่โอกะอธิบายตัวอย่างหนึ่ งของปั ญหาวิธีคิดแบบนี้ดังต่อไป
นี้:

โลก เราในปั จจุบันนี้ได้กลายเป็ นโลกของผ้่เชี่ยวชาญเฉพาะทาง


มากเกินไป จนผ้่อ่ ืนไม่อาจจะจับสาระของสิ่งใดสิ่งหนึ่ งในฐานะแห่ง
ความเป็ นองค์รวมอัน สมบ่รณ์ของสิ่งนั ้น ยกตัวอย่างเช่น ผ้่เชี่ยวชาญ
ด้านป้ องกันโรคแมลงศัตร่พืชผ้่หนึ่ งจากศ่นย์ทดลองการเกษตรที่
จังหวัดโคชิได้มาที่นาและถามผมว่า ทำาไมจึงมีเพลีย ่ ข้าว (rice
้ จักจัน
leaf hopper) น้ อยมากในนาของผม ทัง้ ๆ ที่ผมไม่ได้ใช้ยาฆ่าแมลง
เลย จากการสังเกตสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอย่่ในนาข้าว เขาพบว่าความสมดุล
ระหว่างแมลงชนิ ดต่างๆ และศัตร่ตามธรรมชาติของแมลงเหล่านั ้น
รวมทัง้ อัตราการขยายตัวของแมงมุม และอื่นๆ ทำาให้เพลีย ้ จักจัน
่ ข้าว
ในนาของผมมีน้อยกว่าที่พบในแปลงทดลองของศ่นย์ ทัง้ ๆ ที่แปลง
ทดลองดังกล่าว ได้ฉีดพ่นยาฆ่าแมลงพิษร้ายแรงสารพัดชนิ ดอย่างนั บ
ครัง้ ไม่ถ้วนด้วยซำา้

ศาสตราจารย์ ผ้่นั้นร้่สึกประหลาดใจที่พบว่า ในขณะที่แมลงศัตร่


พืชมีน้อย แต่ศัตร่ตามธรรมชาติของแมลงกลับมีอย่่มากมายในนาข้าว
ของผม ยิ่งกว่าทีมีอย่่ในแปลงทดลองที่ได้พ่นยาปราบศัตร่พืชไว้ ใน
ที่สุดเขาก็เข้าใจได้ว่าสภาพเช่นนี้คงอย่่ได้ด้วยความสมดุลตาม
ธรรมชาติท่ี เกิดจากชุมชนแมลงทีมีอย่่หลากหลายในที่นา เขาได้คำา
ตอบว่า หากวิธีการของผมมีการนำ าไปปฏิบัติอย่างกว้างขวางแล้ว
ปั ญหาความเสียหายของพืชผลที่เกิดจากเพลีย ้ ทัง้ หลายก็จะสามารถ
แก้ไขได้ จากนั ้นเขาก็รีบกลับขึ้นรถและกลับไปที่โคชิทันที

แต่ถ้าคุณถามว่า ผ้่เชี่ยวชาญด้านความอุดมสมบ่รณ์ของดิน และ


ผ้่เชี่ยวชาญด้านพืชผลของศ่นย์ทดลองนั ้นเคยมาที่ไร่นาของผมหรือไม่
คำาตอบก็คือ ไม่เลย พวกเขาไม่เคยมา และหากว่าคุณจะพยายามเสนอ
แนะในที่ประชุมว่าวิธีการเช่นนี้ หรือน่ าจะเรียกว่าวิธีท่ีปราศจากวิธีการ
สมควรจะนำ าไปทดลองปฏิบัติในระดับกว้างแล้วละก็ ผมเดาได้เลยว่า
เจ้าหน้ าที่ผ้่ใหญ่ของศ่นย์ทดลองจะกล่าวว่า "เสียใจครับ มันเร็วเกินไป
ที่จะทำาเช่นนั ้น ก่อนอื่นเราต้องทำาวิจัยเกี่ยวกับแง่มุมต่าง ๆ ให้รอบ
ด้านที่สด ุ เท่าที่จะสามารถทำาได้ ก่อนที่จะมาถึงการอนุมัติขัน ้ สุดท้าย
และมันต้องใช้เวลาหลายสิบปี กว่าที่จะได้ข้อสรุปออกมา" …"

นอกจาก ปั ญหาที่เกิดขึ้นจากการมองแบบแยกส่วนของผ้่
เชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่ไม่ เข้าใจองค์รวม ฟ่ก่โอกะยังอธิบายถึงความ
หลงผิดของคนส่วนใหญ่ท่ีคิดว่าสารเคมีและเทคโนโลยี ใหม่ๆ กำาลัง
ช่วย "พัฒนา" เกษตรกรรม ทัง้ ๆ ที่ส่วนมากเป็ นการ "แก้ปัญหา" ที่
มนุษย์เป็ นคนสร้าง:

การเข้าไปแทรกแซงของมนุษย์ก่อให้เกิดสิ่ง ที่ผิดพลาดขึ้น และ


ถ้าความเสียหายดังกล่าวถ่กปล่อยทิง้ ไว้โดยไม่แก้ไข จนผลร้ายนั ้น
สะสมมากเข้า คนเราก็จะต้องทุ่มเทความพยายามทัง้ มวลเพื่อเข้าไป
แก้ไขมัน หากการแก้ไขลุล่วงไปด้วยดี พวกเขาก็จะคิดว่าวิธีการเหล่านี้
เป็ นความสำาเร็จอันงดงาม คนเรามักทำาเช่นนี้ซำา้ แล้วซำา้ เล่า มันก็
เหมือนกับคนโง่ท่ีปีนขึ้นไปบนหลังคาบ้านแล้วทำากระเบื้องบนหลังคา
แตก พอฝนตกลงมา เพดานก็เริ่มเปื่ อยและปล่อยนำ ้ าฝนรัว่ ลงมา เขาก็
จะรีบปี นขึ้นไปซ่อมหลังคา จากนั ้นก็ดีอกดีใจที่เขาได้ค้นพบวิธก ี ารแก้
ปั ญหาที่วิเศษมหัศจรรย์

เหตุผล ที่เทคนิ คใหม่ ๆ ของมนุษย์ด่จะมีความจำาเป็ น ก็เพราะว่า


ธรรมชาติได้ส่ญเสียความสมดุลไปมากแล้วจากเทคนิ คทัง้ หลายก่อน
หน้ า นั ้น จนทำาให้ต้องพึ่งพิงและขึ้นอย่่กับเทคนิ คพวกนั ้น

เหตุผลข้อนี้ ไม่เพียงแต่ใช้ได้กับเกษตรกรรมเท่านั ้น แต่รวมถึง


แง่มุมอื่น ๆ ของสังคมมนุษย์ด้วย แพทย์และยากลายเป็ นสิ่งจำาเป็ น
เมื่อคนเราก่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เจ็บป่ วย ขึ้นมา การศึกษาใน
ระบบโรงเรียนไม่มีคุณค่าที่แท้จริงแต่กลายเป็ นสิ่งจำาเป็ น เมื่อคนเรา
สร้างเงื่อนไขให้คนต้องเป็ นผ้่ "มีการศึกษา" ขึ้นมา"

เกษตรกรไทยฟั งสองเรื่องนี้แล้วคงร้่สึกคุ้นห่มากทีเดียว

เกษตรธรรมชาติในฐานะเกษตรเพื่อการคูา

เนื่ อง จากฟ่ก่โอกะเชื่อว่า "เป้ าหมายส่งสุดของเกษตรกรรมไม่ใช่


การเพาะปล่กพืชผล แต่คือการบ่มเพาะความสมบ่รณ์แห่งความเป็ น
มนุษย์" เขาจึงไม่เคยตัง้ ใจจะพัฒนาเกษตรธรรมชาติในเชิงพาณิ ชย์
เพื่อให้สามารถใช้วิธีนี้ทดแทนเกษตรเชิงเดี่ยว (ซึ่งโดยมากหมายถึง
การเพาะปล่กเพื่อส่งออกเป็ นหลัก) ได้ อย่างไรก็ตาม ความกังวลของผ้่
บริโภคเรื่องอันตรายจากสารเคมีท่ีใช้ในการเพาะปล่ก ประกอบกับการ
โหมประชาสัมพันธ์เรื่องพืช GMO อย่างต่อเนื่ องโดยสื่อมวลชนและ
องค์กรสุขภาพระหว่างประเทศ ตลอดจนวิถีชีวิตคนรุ่นใหม่ท่ีหันมา
สนใจเรื่องสุขภาพมากขึ้น ทำาให้ตลาดผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์เป็ น
ตลาดที่มีม่ลค่าส่ง และเติบโตในอัตราเฉลี่ยส่งถึงร้อยละ 20 ต่อปี โดย
มีม่ลค่าตลาดทัว่ โลกกว่า 800,000 ล้านบาท โดยลำาพังตลาดผลิตภัณฑ์
เกษตรอินทรีย์สหรัฐอเมริกามีม่ลค่ากว่า 500,000 ล้านบาท หรือร้อย
ละ 60 ของม่ลค่าตลาดโลก

ความต้องการอาหารที่สะอาด และปลอดสารพิษของผ้่บริโภคที่
เพิ่มจำานวนขึ้น เรื่อยๆ สะท้อนให้เห็นในราคาเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์
เกษตรอินทรีย์ ซึ่งจะส่งกว่าอาหารปกติประมาณร้อยละ 28 เกษตรกร
ไทยก็เริ่มมีการส่งออกผลผลิตเกษตรอินทรีย์บ้างแล้ว เช่น หน่ อไม้
ฝรัง่ ข้าวโพดอ่อน สมุนไพร และรัฐบาลเองก็มีโครงการเกษตรอินทรีย์
นำ าร่องอย่างต่อเนื่ อง เช่น ในจังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2548 มีการนำ าพืช
หลัก 3 ชนิ ด คือ ผัก (คะน้ า ข้าวโพดหอม ฟั กทอง ฯลฯ) เห็ด และข้าว
มาปล่กแบบเกษตรอินทรีย์ สามารถขายข้าวอินทรีย์ได้ในราคากิโลกรัม
ละ 30 บาท ส่งกว่าราคาข้าวหอมมะลิเกรดดีซ่ ึงอย่่ท่ี 18 บาท/กก.
เกือบสองเท่า

นอก จากนี้ ขบวนการเคลื่อนไหวระดับโลกซึ่งทำาหน้ าที่เป็ น


"ตัวกลาง" ให้กลุ่มเกษตรกรรายย่อยในประเทศกำาลังพัฒนาได้ขาย
ผลิตภัณฑ์เกษตรโดยตรงต่อผ้่ บริโภคในประเทศพัฒนาแล้ว ในราคาที่
"เป็ นธรรม" เช่น Fairtrade Label ก็เป็ นกำาลังสำาคัญในการขยาย
ตลาดและโฆษณาประโยชน์ของเกษตรอินทรีย์ ทำาให้เกษตรกรราย
ย่อยจำานวนมากมีชีวิตความเป็ นอย่ด
่ ีขึ้น ยกตัวอย่างเช่น สมาชิก
สหกรณ์เกษตรอินทรีย์ กองทุนข้าวสุรินทร์ หรือชื่อภาษาอังกฤษว่า
"Rice Fund Surin" ซึ่งมีสมาชิก 588 ครัวเรือน เป็ นผ้่ผลิตไทยราย
หนึ่ งที่เข้าร่วมโครงการ Fairtrade Label ปั จจุบันส่งข้าวเกษตร
อินทรีย์ออกไปขายในยุโรปและสหรัฐอเมริกา มีชีวิตความเป็ นอย่่ดีขึ้น
กว่ายี่สิบปี ท่ีแล้ว นำ ารายได้ท่ีเพิ่มขึ้นไปซื้อโรงสีสำาหรับชุมชน สอน
เทคนิ คการปล่กข้าวแบบเกษตรอินทรีย์ให้กบ ั เพื่อนชาวนา มีเงินพอส่ง
ล่กหลานวัยเรียนไปโรงเรียน และปรับปรุงระบบสาธารณ่ปโภคภายใน
ชุมชน

แนวคิดเกษตรธรรมชาติของฟ่ก่โอ กะ เป็ นแนวคิดค่อนข้าง "สุด


ขัว้ " ในแง่ท่ีไม่พ่ึงพาปั จจัยนอกธรรมชาติใดๆ เลย ไม่เว้นแม้แต่
แรงงานมนุษย์และสัตว์ ทำาให้ใช้ได้จริงเฉพาะในพื้นที่ท่ีธรรมชาติยัง
ค่อนข้างบริสุทธิอ์ ย่่ เหมือนกับไร่นาของเขา แปลว่าหลักการหลัก 4
ข้อของเกษตรธรรมชาติไม่สามารถนำ ามาใช้ตรงๆ กับประเทศอื่นได้
โดยเฉพาะประเทศที่คุณภาพดินและความหลากหลายทางชีวภาพได้
ถ่ก "ทำาลาย" อย่างย่อยยับจนต้องใช้เวลารื้อฟื้ นขึ้นมาใหม่ ก่อนที่จะใช้
แนวทางเกษตรธรรมชาติได้จริง

ประเทศไทยเป็ นหนึ่ งในจ้านวนนั ้น


ปั ญหา ดินเสื่อมและความหลากหลายทางชีวภาพถ่กทำาลายอาจ
ทำาให้เกษตรกรไทยใช้วิถี ของฟ่ก่โอกะไม่ได้ทัง้ หมด แต่นั่นไม่ได้
หมายความว่าเกษตรกรไทยควรทำาเกษตรกระแสหลักต่อไปเรื่อยๆ
เพราะผลเสียของเกษตรกระแสหลักนั ้นชัดเจน และเห็นชัดว่าไม่ได้
ทำาให้เกษตรกรรายย่อยของไทยมีฐานะดีขึ้นแต่อย่างใด ซำา้ ยังกลับจน
ลงและเป็ นหนี้มากกว่าเดิม เพราะโครงสร้างการผ่กขาดในตลาดยังไม่
ได้รับการแก้ไข และยังต้องเผชิญกับปั ญหาการแข่งขันส่งในตลาดโลก
และผลผลิตต่อไร่ตำ่ากว่าประเทศค่่แข่ง เช่น อินเดีย จีน และเวียดนาม

้ ปี 2548 ประเทศไทยมีเกษตรกร 5.8 ล้านครัวเรือน


ณ สิน
(22.2 ล้านคน) ในจำานวนนี้ทำาเกษตรในเนื้ อที่ของตนเองร้อยละ 74
(มีโฉนดร้อยละ 60.7) ที่เหลือทำาเกษตรในเนื้ อที่ท่ีไม่ใช่ของตนเอง
หรือทัง้ ของตัวเองและของคนอื่น ยังไม่นับล่กจ้างเกษตรและล่กจ้างใน
ชนบทอีก 2.7 ล้านครัวเรือน เกษตรกรกว่าร้อยละ 53 ทำานา ส่วน
ใหญ่คือร้อยละ 60 ทำาฟาร์มขนาดเล็ก มีท่ีดินไม่ถึง 20 ไร่ต่อครัวเรือน

แม้ว่าประเทศไทยจะยังรักษา ตำาแหน่ งผ้่ส่งออกข้าวอันดับหนึ่ ง


ของโลก โดยมีส่วนแบ่งการตลาดประมาณร้อยละ 28-30 อินเดียและ
เวียดนาม (ส่วนแบ่งร้อยละ 16 และ 14 ตามลำาดับ) ผลผลิตต่อไร่ของ
ไทย ที่ประมาณ 474 กิโลกรัมต่อไร่ในปี 2548 ก็ตำ่ากว่าประเทศค่่แข่ง
รายสำาคัญทุกประเทศ และตำ่ากว่าผลผลิตต่อไร่ของเวียดนาม ญี่ปุ่น
และจีน เกือบสองเท่าหรือส่งกว่า

นอก เหนื อจากการปล่กพืชผิดประเภทและการใช้สารเคมีท่ี


ทำาให้ดินเสื่อมลง อีกสาเหตุหลักที่ทำาให้ผลผลิตข้าวนาปี ตำ่ามากคือ
พื้นที่ร้อยละ 76 ของพื้นที่เกษตรทัง้ หมดของไทย อย่่นอกเขต
ชลประทาน

ชาวนาในจังหวัด อุบลราชธานี ผ้่หนึ่ งเคยเล่าให้ผ้่เขียนฟั งว่า ชาว


บ้านแถวนี้ขาดแคลนแหล่งนำ ้ าชลประทานเพราะอย่่ในที่ส่ง ต้องรอฝน
ตกอย่างเดียว หรือไม่เช่นนั ้นก็ต้องจ่ายค่านำ ้ ารายเดือนให้กับเอกชน
เจ้าของคลองชลประทาน เพราะกรมชลประทานไม่เคยมาสร้างคลองให้
ชาวบ้านหลายคนไม่มีเงินเก็บพอจ่ายค่านำ ้ า 30 บาทต่อเดือน แถมเวลา
นี้ค่านำ ้ ามันแพงกว่าแต่ก่อนมาก ทำาให้ค่าขนส่งข้าวไปขายให้โรงสีพุ่งส่ง
ขึ้น โรงสีเองก็ร้่ดีว่าถ้าชาวนาต้องขนข้าวกลับไปโดยไม่ได้ขาย จะเสียค่า
ขนส่งส่งมากจนไม่คุ้มเที่ยว เลยกดราคารับซื้อ ชาวนาร้่ทัง้ ร้่ว่าถ้าขาย
ราคานี้จะขาดทุน แต่ถ้าไม่ขาย ขนข้าวกลับไปก็จะขาดทุนมากกว่า ก็
เลยต้องจำาใจขายในราคานั ้น

"คิดซะว่าผีถึงป่ าช้าแล้ว" ลุงชาวนาแค่นเสียงพ่ด

เกษตรธรรมชาติคอ
ื ความหวังของมนุษยชาติ

เกษตรกรรม ไม่มี "ส่ตรสำาเร็จ" ที่ใช้ได้กับทุกพื้นที่ ทุกครัวเรือน


เกษตรกรทุกคนควรหมัน ่ สังเกตและขยันทดลองเหมือนฟ่ก่โอกะ นำ า
บางส่วนจากแนวคิดเกษตรธรรมชาติหรือร่ปแบบอื่นของเกษตร
ก้าวหน้ ามาประยุกต์ หรือผสมผสานเข้ากับเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อลด
ภาระ แต่ควรพยายามใช้สารเคมีให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำาได้

สิ่งที่ส้าคัญที่สุดคือการเปลี่ยนทัศนคติเดิมๆ ที่ส่วนหนึ่ งตูองโทษ


รัฐบาลในฐานะผู้ปล้กฝั ง

ปั จจุบัน เกษตรกรไทยส่วนใหญ่ยังทำาเกษตรเชิงเดี่ยวซึ่งมีความ
เสี่ยงส่งมากและแทบไม่ได้ กำาไร ทัง้ ความเสี่ยงจากสภาพดินฟ้ าอากาศ
การถ่กนายทุนโรงสีกดราคา ภาระหนี้สิน ต้นทุนค่าสารเคมี ค่าขนส่ง
ยังไม่นับผลเสียต่อสุขภาพในระยะยาว ทัง้ ๆ ที่มีตัวอย่างให้เห็น
มากมายว่า แนวทางเกษตรก้าวหน้ าสามารถปรับปรุงชีวิตความเป็ นอย่่
ของเกษตรกรให้ดีขึ้นได้ และปลอดหนี้สินอย่างถาวร ด่จากพ่อคำาเดื่อง
ภาษี คร่บาสุทธินันท์ ปรัชญพฤทธ์ ผ้่ใหญ่วิบ่ลย์ เข็มเฉลิม และปราชญ์
ชาวบ้านอีกมากมาย
ใน ระดับเกษตรเพื่อการค้า การเติบโตของตลาดผลิตภัณฑ์
เกษตรอินทรีย์ และความสำาเร็จที่ผ่านมาของเกษตรอินทรีย์ใน
ประเทศไทย ก็ชีใ้ ห้เห็นว่า ไม่จำาเป็ นต้องทำาเกษตรเชิงเดี่ยวก็ประสบ
ความสำาเร็จเชิงพาณิ ชย์ได้

รัฐ ควรส่งเสริมเกษตรก้าวหน้ าในฐานะ "ทางเลือก" หนึ่ งที่เป็ น


ไปได้ และใช้ได้จริง เลิกยึดติดกับความเชื่อผิดๆ ว่าจะต้องส่งเสริมให้
เกษตรกรใช้วิถีเกษตรกระแสหลักเพียงอย่างเดียว เพราะที่ผ่านมา บท
เรียนราคาแพงได้สอนเราแล้วว่า การทำาเช่นนั ้นรังแต่จะทำาให้
เกษตรกรจนลง สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม และสุขภาพของคนใน
สังคมทรุดโทรมลงเรื่อยๆ

รัฐควรอธิบายให้เกษตรกรที่ ยังไม่เชื่อมัน
่ ในแนวคิดเกษตร
อินทรีย์ (เพราะมองว่าการใช้ปุยเคมีให้ผลผลิตมากกว่า) เข้าใจว่า
เกษตรอินทรีย์อาจให้ผลผลิตตำ่ากว่าจริง แต่ก็ขายได้ราคาดีกว่า ทำาให้
กำาไรตกถึงมือเกษตรกรมากกว่า ทำาได้อย่างยัง่ ยืนกว่า และไม่เป็ น
อันตรายต่อสุขภาพ

รัฐควรออกมาตรการให้เงินสนั บสนุนค่าครอง ชีพและรายได้ท่ีหายไป


ต่อเกษตรกรที่แสดงความจำานงว่าจะเปลี่ยนวิถีชีวิต ตลอดช่วง 2-3 ปี
ที่ต้องใช้ในการฟื้ นฟ่หรือพักฟื้ นหน้ าดินที่ถ่กทำาลาย ก่อนที่จะเปลี่ยน
วิถีการเกษตรมาเป็ นเกษตรก้าวหน้ าได้

นอกจากนั ้น รัฐก็ควรเริ่มใช้กรมธรรม์ประกันภัยแล้ง (rainfall


insurance) แทนที่จะรับประกันราคาพืชผลหรือรับซื้อเพียงอย่างเดียว
เนื่ องจากเป็ นเครื่องมือทางการเงินที่ไม่บิดเบือนกลไกตลาด หลีกเลี่ยง
พฤติกรรมการปล่กพืชผิดประเภทเพื่อขอรับค่าประกันราคา (ปั ญหา
moral hazard) มีต้นทุนในการบริหารจัดการตำ่าเพราะดัชนี นำ้าฝนเป็ น
ข้อม่ลที่โปร่งใสและไร้การ บิดเบือน (objective) และมีตลาดรองรับ
ผ่านบริษัทรับประกันภัยต่อ (reinsurer) รายใหญ่ๆ ระดับโลก

มรดกที่มาซาโนบุ ฟ่ก่โอกะ มอบให้แก่โลก นอกเหนื อจากบท


พิส่จน์อันยิ่งใหญ่ถึงพลังแห่งการอ่อนน้ อมต่อธรรมชาติ อาจเป็ น
ปรัชญาชีวิตซึ่งเสนอทางออกให้กับวิกฤตของมนุษย์ ในหนั งสืออัน
ยอดเยี่ยมที่เป็ นมากกว่า "บันทึก" ของเกษตรกรคนหนึ่ ง ดังที่สำานั ก
พิมพ์ม่ลนิ ธิโกมลคีมทอง สรุปความไว้อย่างดีเยี่ยมในคำานำ าของฉบับ
ภาษาไทย ดังต่อไปนี้:

"ปฏิวัติ ยุคสมัยด้วยฟางเส้นเดียว เป็ นเรื่องของชาวนาผ้่หนึ่ งซึ่ง


ได้ผา่ นการปฏิวัติทางทัศนคติอย่างถึงรากฐาน เป็ นการปฏิวัติอัน
เนื่ องจากฟางข้าว ซึ่งได้แสดงให้เขาประจักษ์ ว่า ธรรมชาตินั้นยิ่งใหญ่
กว่าสารเคมีและประดิษฐกรรมทางวิทยาศาสตร์ทัง้ ปวง การค้นพบดัง
กล่าวมิเพียงแต่จะมีความหมายต่อเกษตรกรรม ซึ่งกำาลังมาถึงจุดอุด
ตัน มันเป็ นผลจากการปฏิวัติเขียวที่เห็นเทคโนโลยีเป็ นคำาตอบเท่านั ้น
หากยังมีความหมายต่ออารยธรรมมนุษย์อย่างสำาคัญ ในยุคสมัยที่
มนุษย์ทัง้ มวลกำาลังประสบกับความอับจนครัง้ สำาคัญในประวัติศาสตร์
ชนิ ดที่อาจมีผลทำาลายมนุษยชาติให้ส่ญสิน ้ เผ่าพันธ์ุไปนั ้น มาซาโนบุ ฟ่
ก่โอกะได้บอกให้เราร้ว่ ่า ฟางข้าวนั ้นสามารถปฏิวัติยุคสมัยให้ผ่านพ้น
วิกฤตการณ์ไปได้ การปฏิวัติดังกล่าวก็คือการปฏิวัติทางทัศนคติ ที่มี
ความตระหนั กและสำานึ กในคุณค่าอันยิ่งใหญ่ของธรรมชาติ ซึ่งด่เผินๆ
แล้วเหมือนว่าไร้ค่า ดังที่เราทัว่ ไปมักมองเช่นนั ้นกับฟางข้าวในท้องทุ่ง
นี่ แหละคือการปฏิวัติท่ีแท้จริงที่ยุคสมัยของเรากำาลังต้องการอย่าง
ยิ่งยวด.

You might also like