You are on page 1of 59

กล้วย (Banana)

โดย

นาย วชิรกร เขื่อนแก้ว 5910740389

นำเสนอ

อาจารย์ ดร.พฤกษ์ ชุติมานุกูล


รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร

วิชา ทก.316 (พืชอุตสาหกรรมและพืชพลังงาน) ปี การศึกษา 2564


คำนำ
รายงานเรื่อง”กล้วย”ฉบับนี ้ เป็ นส่วนนึงของวิชา ทก.316 (พืช
อุตสาหกรรมและพืชพลังงาน) จัดทำเพื่อศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์
อนุกรมวิธาน คุณประโยชน์และสรรพคุณของกล้วย ประวัติความเป็ นมา
การจำแนกกลุ่มของกล้วย อีกทัง้ ยังได้ศึกษาวิถีชีวิตคนไทยที่มีการใช้ส่วน
ต่างๆของกล้วยเพื่อประกอบในพิธีการและความเชื่อต่างในแบบไทย และยัง
เพื่อเป็ นความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับชนิดของกล้วย ซึง่ ในรายงานเรื่อง
กล้วยฉบับนีย
้ ังได้จดรายชื่อพันธุ์กล้วยไทยที่หายากมามากมาย

หวังเป็ นอย่างยิ่งว่ารายงานนีจ
้ ะมีประโยชน์ต่อผู้อ่านหรือผู้ที่คิดจะ
ศึกษาเรื่องกล้วย หากมีข้อผิดพลาดประการใด ก็ขอน้อมรับและขออภัยมา
ณ ที่นี่ด้วย
 
วชิรกร เขื่อนแก้ว 5910740389

20 ตุลาคม 2564
สารบัญ
เรื่อง
หน้า

บทที่ 1
บทนำ.......................................................................................................
....................................... 1

- ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
2
- อนุกรมวิธาน
4
- การจำแนกกลุ่มของกล้วย
8
- การใช้ประโยชน์ของกล้วย
8
- กล้วยกับวิถีชีวิตคนไทย

บทที่ 2 ชนิดของกล้วยยอดนิยมและรายชื่อกล้วยหา
ยาก..............................................................................12

- กล้วยน้ำว้า
12
- กล้วยหอม
14
- กล้วยไข่
16
- กล้วยเล็บมือนาง
18
- กล้วยนาก
19
- กล้วยน้ำไท
20
- กล้วยตานี
21
- รายชื่อพันธ์กล้วยไทยหายาก
23

บทที่ 3 คุณประโยชน์ของ
กล้วย........................................................................................................
.......... 29

- ประโยชน์ของการกินกล้วย
30
- ประโยชน์ของกล้วย
31
- คุณค่าทางโภชนาการของกล้วย
32
- ข้อควรระวังในการกินกล้วย
33

แหล่งอ้างอิง
.................................................................................................................
............................. 34
2

บทที่ 1
บทนำ

ภาพที่ 1.1 ต้นกล้วย ที่มา

(https://www.technologychaoban.com/agricultural-technology/article_2091 )

กล้วยเป็ นพืชล้มลุกขนาดใหญ่จัดอยู่ในตระกูล Musaceae มีถิ่นกำเนิดใน


แถบตะวันออกเฉียงใต้เจริญเติบโตได้ดีในดินแทบทุกชนิดโดยเฉพาะอากาศ
ร้อนชื้นเป็ นพืชปลูกง่ายไม่ยุ่งยากในการบำรุงรักษาและให้ผลผลิตตลอดปี จึง
มีการขยายพันธุ์กันอย่างแพร่หลายสำหรับประเทศไทยมีการปลูกกล้วยเพื่อ
บริโภคตัง้ แต่ระดับครัวเรือนจนถึงการปลูกเพื่อการจำหน่ายในระดับ
อุตสาหกรรมกล้วยจัดเป็ นพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่สร้างรายได้ให้กับ
เกษตรกรทั่วทุกภาคของประเทศการใช้ประโยชน์จากกล้วยนัน
้ พบว่ากล้วย
ให้ประโยชน์ในทุกส่วนตัง้ แต่ลำต้นใบและผลในส่วนของลำต้นใช้เป็ นอาหาร
2

สัตว์แปรรูปเป็ นเชือกกล้วยและปุ๋ยส่วนใบใช้ประดิษฐ์งานด้านศิลปะและเป็ น
ภาชนะบรรจุอาหารผลของกล้วยอุดมด้วยวิตามินและเกลือแร่ที่ให้ประโยชน์
แก่ร่างกายใช้รับประทานสดและแปรรูปเป็ นผลิตภัณฑ์ใหม่ได้หลายชนิด

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

กล้วยเป็ นไม้ล้มลุกขนาดใหญ่ ทุกส่วนเหนือพื้นดินของกล้วยเจริญจากส่วนที่


เรียกว่า "หัว" หรือ "เหง้า" ปกติแล้ว ต้นกล้วยจะสูงและแข็งแรงพอสมควร
ทำให้เข้าใจผิดว่าเป็ นต้นไม้ ซึง่ แท้จริงแล้วส่วนที่คล้ายกับลำต้นคือ "ลำต้น
เทียม" (pseudostem) ใบของกล้วยประกอบด้วย "ก้านใบ" (petiole) และ
แผ่นใบ (lamina) ฐานก้านใบแผ่ออกเป็ นกาบ กาบที่รวมตัวกันอย่างหนา
แน่นทำให้เกิดลำต้นเทียม มีหน้าที่ชูก้านใบ พยุงให้พืชตัง้ ตรงดูคล้ายต้นไม้
เมื่อแรกเจริญขอบของกาบจะจรดกันคล้ายท่อ เมื่อมีใบเจริญขึน
้ ใหม่ที่
ใจกลางลำต้นเทียม ขอบกาบที่จรดกันนัน
้ ก็จะแยกออกจากกัน พันธุ์กล้วย
นัน
้ มีความผันแปรมากขึน
้ อยู่กับพันธุ์ปลูกและสภาพแวดล้อม โดยมาก สูง
ประมาณ 5 m (16 ft) จาก 'กล้วยหอมแคระ (Dwarf Cavendish)' ซึง่ สูง
ประมาณ 3 m (10 ft) ไปจนถึง 'กล้วยหอมทอง (Gros Michel)' ที่สูง
ประมาณ 7 m (23 ft) หรือมากกว่า ใบแรกเจริญจะขดเป็ นเกลียวก่อนที่จะ
แผ่ออก อาจยาวได้ถึง 2.7 เมตร (8.9 ฟุต) และกว้าง 60 ซ m (2.0 ft) แผ่น
ใบมีขนาดใหญ่ ปลายใบมน รูปใบขอบขนาน โคนใบมน มีสีเขียว ใบฉีกขาด
2

ได้ง่ายจากลม ทำให้บางครัง้ มองดูคล้ายใบเฟิ ร์น รากเป็ นระบบรากฝอย แผ่


ไปทางด้านกว้างมากกว่าทางแนวดิ่งลึก

เมื่อกล้วยเจริญเติบโตเต็มที่ หัวจะสร้างใบสุดท้ายที่เรียกว่า "ใบธง"


จากนัน
้ จะหยุดสร้างใบใหม่ และเริ่มสร้างช่อดอก (inflorescence) ลำต้นที่
มีช่อดอกอ่อนบรรจุอยู่ จะพัฒนาขึน
้ ภายในลำต้นเทียม จนในที่สุดมันก็โผล่
ออกที่ด้านบนลำต้นเทียม แต่ละลำต้นเทียมจะสร้างช่อดอกเพียงช่อเดียว ซึ่ง
รู้จักกันในชื่อ "ปลี (banana heart)" (บางครัง้ มีกรณีพิเศษ เช่นกล้วยใน
ประเทศฟิ ลิปปิ นส์สร้างปลีขน
ึ ้ มาห้าหัว) ช่อดอกประกอบด้วยกลุ่มของช่อ

ดอกย่อยเป็ นกลุ่มๆ มีใบประดับสีม่วงแดงหรือที่เรียกว่า "กาบปลี" (บางครัง้


มีการเข้าใจผิดเรียกเป็ นกลีบดอก) ระหว่างแถวของช่อดอกย่อย ช่อดอกย่อย
แต่ละช่อมีดอกเรียงซ้อนกันอยู่ 2 แถว ดอกตัวเมีย (ที่สามารถเจริญเป็ นผล
ได้) จะอยู่ในช่อดอกย่อยที่บริเวณโคนปลี (ใกล้กับใบ) ดอกตัวผู้จะอยู่ที่ปลาย
ปลี หรือส่วนที่เรียกว่า "หัวปลี" รังไข่อยู่ต่ำกว่าซึ่งหมายความว่ากลีบดอก
ขนาดเล็กและส่วนอื่นๆ ของดอกจะอยู่ในปลายรังไข่ หลังให้ผล ลำต้นเทียม
จะตาย

ภาพที่ 1.2 หัวกล้วย ที่มา


2

(https://sites.google.com/site/wtp1679800140037/laksna-thang-

phvkssastr)

ลง แต่หน่อหรือตะเกียงจะพัฒนาขึน
้ จากตา (bud) ที่หัว ส่งผลให้กล้วยเป็ น
พืชหลายปี หากเกิดขึน
้ หลายหน่อพร้อมกันจะเรียกว่า "การแตกกอ" ใน
ระบบการเพาะปลูก จะอนุญาตให้เจริญเติบโตเพียงหน่อเดียวเท่านัน
้ เพื่อให้
ง่ายต่อการจัดสรรพื้นที่

ภาพที่ 1.3 ดอกตัวเมีย ที่มา

(https://sites.google.com/site/joy083black/laksna-khxng-dxk-klwy)

ผลกล้วยพัฒนาจากดอกเพศเมีย กลุ่มของดอกเพศเมีย 1 กลุ่มเจริญเป็ นผล


เรียกว่า "หวี (hands)" ซึ่งหวีหนึ่งๆ มีผลกล้วยประมาณ 20 ผล กลุ่มหวีบน
ช่อดอกเจริญเป็ น "เครือ (banana stem)" ซึง่ อาจมี 3-20 หวี ผลของกล้วย
มีการเจริญได้โดยไม่ต้องผสมพันธุ์ จึงทำให้กล้วยส่วนใหญ่ไม่มีเมล็ดดอกตัว
2

เมีย (ซึง่ จะเจริญไปเป็ นผล) มีกลีบดอกและส่วนอื่นที่ปลายรังไข่ (รังไข่อยู่ต่ำ


กว่า (inferior))

ผลกล้วยได้รับการบรรยายเป็ น "leathery berry (ลูกเบอร์รี่ที่คล้ายแผ่น


หนัง)" มีชน
ั ้ ป้ องกันภายนอก (เปลือก) มีสายบางๆ ตามยาว (มัดท่อลำเลียง
โฟลเอ็ม) อยู่ระหว่างเปลือกและส่วนที่รับประทานได้ภายใน เนื้อกล้วยมีเนื้อ
นิ่มสีเหลือง มีรสหวานคล้ายขนม เมล็ดกล้วยมีลักษณะกลมเล็ก บางพันธุ์มี
ขนาดใหญ่ เปลือกหนาแข็ง มีสีดำ สำหรับในสายพันธุ์ปลูก เมล็ดกล้วยมี
ขนาดเล็กมากเกือบจะไม่มีเลย เหลือแค่เพียงจุดสีดำเล็กๆ ภายในเนื้อกล้วย
เท่านัน

อนุกรมวิธาน

สกุล Musa จัดอยู่ในวงศ์ Musaceae ตามระบบ APG III กำหนดให้


Musaceae อยู่ในอันดับ Zingiberales เป็ นส่วนหนึ่งในเครือบรรพบุรุษ
commelinid ของพืชใบเลีย
้ งเดี่ยว บางแหล่งอ้างว่าชื่อ Musa ได้รับการตัง้
ชื่อตามแอนโตนิอุส มูซา (Antonius Musa) นักพฤกษศาสตร์และแพทย์
ประจำประองค์ของจักรพรรดิออกัสตัส แหล่งอื่นกล่าวว่าคาโรลัส ลินเนียสผู้
ตัง้ ชื่อสกุลในปี ค.ศ. 1750 ได้ดัดแปลงมาจากคำว่า mauz ซึ่งแปลว่ากล้วย
ในภาษาอาหรับ คำว่า banana ในภาษาอังกฤษมีรากมากจากภาษาโวลอฟ
คำว่า banaana มีพืช 70 ชนิดในสุกล Musa ที่ได้รับการบันทึกใน World
2

Checklist of Selected Plant Families (รายการตรวจสอบวงศ์พืชทั่ว


โลก) เมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 2013 มีหลายชนิดที่ผลรับประทานได้ ขณะที่
บางชนิดปลูกไว้เป็ นไม้ประดับ

การจัดจำแจกกล้วยเป็ นปั ญหามาช้านานสำหรับนัก


อนุกรมวิธาน เดิมลินเนียสจำแนกกล้วยออกเป็ นสองชนิดบนพื้นฐานของ
การนำไปใช้เป็ นอาหารคือ Musa sapientum สำหรับกล้วยและ Musa
paradisiaca สำหรับกล้าย ภายหลังชื่ออีกหลายชนิดก็ถก
ู เพิ่มเติมเข้าไป
อย่างไรก็ตาม วิธีการนีไ้ ด้พิสูจน์ว่ามันไม่ดีพอที่จะจัดการจำนวนพันธุ์ปลูกซึ่ง
มีจำนวนมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งเป็ นศูนย์กลางความหลากหลาย
ของสกุล หลายพันธุ์ปลูกที่ได้รับการตัง้ ชื่อได้ถูกพิสูจน์ว่าเป็ นเพียงชื่อพ้อง

ในชุดเอกสารที่ตีพิมพ์หลัง ค.ศ. 1947 เออเนส์ต ชีสแมน


(Ernest Cheesman) แสดงให้เห็นว่า Musa sapientum และ Musa
paradisiaca ของลินเนียสเป็ นแค่พันธุ์ปลูกและสืบเชื้อสายมาจากกล้วยป่ า
สองชนิด คือ Musa acuminata และ Musa balbisiana ซึ่งได้รับการจัด
จำแนกโดยลุยจี อาลอย์ซีอุส คอลลา (Luigi Aloysius Colla) เขาแนะนำให้
ยกเลิกสปี ชีส์ของลินเนียส และสนับสนุนให้จัดจำแนกกล้วยใหม่ตามกลุ่มที่มี
สัณฐานวิทยาที่ต่างกันสามกลุ่ม กลุ่มที่แสดงออกตามลักษณะทาง
พฤกษศาสตร์ของ Musa balbisiana กลุ่มที่แสดงออกตามลักษณะทาง
พฤกษศาสตร์ของ Musa acuminata และกลุ่มที่แสดงออกตามลักษณะทาง
พฤกษศาสตร์ที่ผสมกันระหว่างสองชนิดข้างต้น นักวิจัยนอร์แมน ซิมมอนด์
(Norman Simmonds) และ เคน เชปเฟิ ด (Ken Shepherd) เสนอระบบ
2

การตัง้ ชื่อบนพื้นฐานของจีโนมใน ค.ศ. 1955 ระบบนีไ้ ด้ขจัดความยากและ


ความไม่สอดคล้องของการจัดจำแนกกล้วยก่อนหน้าที่ตงั ้ อยู่บนพื้นฐาน
Musa sapientum และ Musa paradisiaca ของลินเนียส ถึงอย่างไรก็ตาม
ปั จจุบันชื่อเดิมยังคงถูกใช้โดยผู้แต่งบางคนซึ่งนำไปสูค
่ วามสับสน

ปั จจุบัน ชื่อวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็ นที่ยอมรับของกล้วยคือ


Musa acuminata Colla และ Musa balbisiana Colla สำหรับสปี ชีส์
บรรพบุรุษ และ Musa × paradisiaca L. สำหรับลูกผสม M. acuminata
× M. balbisiana ชื่อพ้องของ M. × paradisica ประกอบด้วย:

ชื่อชนิดย่อยและชื่อพันธุ์จำนวนมากของ M. × paradisiaca, รวมถึง M. p.


subsp. sapientum (L.) Kuntze

 Musa × dacca Horan.


 Musa × sapidisiaca K.C.Jacob, nom. superfl.
 Musa × sapientum L. และชื่อพันธุ์จำนวนมากของมัน รวมถึง M. ×
sapientum var. paradisiaca (L.) Baker, nom. illeg.

โดยทั่วไปแล้ว การจัดจำแนกพันธุ์ปลูกของกล้วยในปั จจุบันยึดตามระบบ


ของซิมมอนด์และเชปเฟิ ด พันธุ์จะได้รับการจัดกลุ่มบนพื้นฐานของจำนวน
โครโมโซมที่มีและสปี ชีส์ที่เป็ นบรรพบุรุษ ดังนัน
้ กล้วยลาตุนดัน (Latundan
banana) ที่จัดอยู่ในกลุ่ม AAB แสดงให้เห็นว่ามันเป็ น triploid (มีโครโมโซม
3 ชุด) ที่กำเนิดมาจากทัง้ M. acuminata และ M. balbisiana สำหรับ
รายชื่อพันธุ์กล้วยภายใต้การจัดจำแนกด้วยระบบนีส
้ ามารถดูเพิ่มได้ที่พันธุ์
2

กล้วย ใน ค.ศ. 2012 ทีมนักวิทยาศาสตร์ประกาศว่าพวกเขาได้ประสบความ


สำเร็จในการร่างลำดับจีโนมของ Musa acuminata

การจำแนกกลุ่มของกล้วย

การจำแนกตามลักษณะทางพันธุกรรม

หลังปี ค.ศ. 1955 นักวิชาการได้จำแนกพันธุ์กล้วยตามพันธุกรรมโดย


ใช้จีโนมของกล้วยเป็ นตัวกำหนดในการแยกพันธุ์ กล้วยที่นิยมบริโภค
กันในปั จจุบันมีบรรพบุรุษเพียง 2 ชนิด คือ กล้วยป่ า และกล้วยตานี
กล้วยที่มีกำเนิดจากกล้วยป่ ามีจีโนมเป็ น AA กล้วยที่มีกำเนิดจาก
กล้วยตานีมีจีโนมเป็ น BB ส่วนกล้วยที่เกิดจากลูกผสมของกล้วยทัง้ 2
ชนิดจะมีจีโนมแตกต่างกันไป นอกจากนี ้ ซิมมอนด์และเชปเฟิ ดได้
เสนอให้ใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยารวมทัง้ หมด 15 ลักษณะ มาเป็ น
เกณฑ์ในการพิจารณา คือ สีของกาบใบ ร่องของกาบใบ ก้านช่อดอก
ก้านดอก ออวุล ไหล่ของกาบปลี การม้วนของกาบปลี รูปร่างของกาบ
ปลี ปลายของกาบปลี การซีดของกาบปลี รอยแผลของกาบปลี กลีบ
รวมเดี่ยว สีของดอกเพศผู้ สีของยอดเกสรเพศเมีย และสีของกาบปลี
2

การจำแนกตามวิธีการนำมาบริโภค

การจำแนกกล้วยตามวิธีการที่นำมาบริโภคสามารถแบ่งกล้วยออกเป็ น
2 กลุ่มคือ กล้วยกินสด เป็ นกล้วยที่เมื่อสุกสามารถนำมารับประทานได้
ทันที โดยไม่ต้องนำมาทำให้สุกด้วยความร้อน เพราะเมื่อสุก เนื้อจะนิ่ม
มีรสหวาน เช่น กล้วยไข่ กล้วยหอมทอง กล้วยหอมเขียว และกล้วยที่
ใช้ประกอบอาหาร เป็ นกล้วยที่เมื่อดิบมีแป้ งมาก เนื้อค่อนข้างแข็ง เมื่อ
สุกยังมีส่วนของแป้ งอยู่มากกว่ากล้วยกินสดมาก เนื้อจึงไม่ค่อยนิ่ม รส
ไม่หวาน ต้องนำมาต้ม เผา ปิ ้ ง เชื่อม จึงจะทำให้อร่อย รสชาติดีขน
ึ้
เช่น กล้วยกล้าย กล้วยหักมุก กล้วยเล็บช้างกุด

ในพื้นที่ เช่น ทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรป ผลไม้สกุล


Musa ที่วางจำหน่ายได้แบ่งเป็ น "กล้วย" และ "กล้าย" บนพื้นฐานของ
การนำไปใช้เป็ นอาหาร ดังนัน
้ ผูผ
้ ลิตและชีกีตา (Chiquita) ซึ่งเป็ นผู้
จัดจำหน่ายได้ผลิตวัสดุประชาสัมพันธ์สำหรับตลาดอเมริกาที่บอกว่า
"กล้ายไม่ใช่กล้วย" ความแตกต่างนัน
้ คือกล้ายมีแป้ งมากกว่าและหวาน
น้อยกว่า นิยมทานสุกกว่ากว่าทานดิบ มีเปลือกหนาสีเขียว เหลือง
หรือดำ ซึ่งสามารถใช้บอกสถานะของความสุกงอมได้ ลินเนียสได้สร้าง
ความแตกต่างระหว่างกล้วยและกล้ายดังกล่าวขึน
้ เมื่อแรกตัง้ ชื่อ "สปี ชี
ส์" ทัง้ สองของ Musa[24] สมาชิกของพันธุ์กล้วย "กลุ่มย่อยกล้าย" ที่
เป็ นอาหารที่สำคัญมากในแอฟริกาตะวันตกและละตินอเมริกามี
2

ลักษณะยาวแหลม ซึ่งมันได้รับการจำแนกว่าเป็ นกล้ายแท้โดยพลอตซ์


และคณะ (Ploetz et al.) ต่างจากกล้วยที่ใช้ประกอบอาหารพันธุ์อ่ น

กล้ายที่สูงแอฟริกาตะวันออก (East African Highland banana) ซึง่
เป็ นกล้วยที่ใช้ประกอบอาหารในแอฟริกาตะวันออกนัน
้ จัดอยู่ในกลุ่ม
อื่น ดังนัน
้ จึงไม่มีคณ
ุ สมบัติเป็ นกล้ายแท้ตามคำนิยามนี ้

แนวทางหนึ่งที่จะแบ่งกล้วยออกเป็ นกล้วยกินสดและ
กล้วยที่ใช้ประกอบอาหาร ซึ่งกล้วยเป็ นกลุ่มย่อยหนึ่งของกล้วยที่ใช้
ประกอบอาหาร คือ พันธุ์ปลูก triploid กำเนิดมาจาก M.
acuminata เพียงลำพังจะเป็ นกล้วยกินสด ในขณะที่ พันธุ์ปลูก
triploid ที่เป็ นลูกผสมระหว่าง M. acuminata และ M. balbinosa
(โดยเฉพาะกลุ่มย่อยกล้ายเป็ นกลุ่มย่อยของกลุ่ม AAB) เป็ น
"กล้าย" (ในที่นห
ี ้ มายถึงกล้วยที่ใช้ประกอบอาหาร) เกษตรกรรายย่อย
ในประเทศโคลอมเบียปลูกพันธุ์กล้วยหลากหลายมากกว่าสวนเชิง
พาณิชย์ขนาดใหญ่ จากการศึกษาพันธุ์ปลูกเหล่านีแ
้ สดงว่ากล้วย
สามารถจัดกลุ่มได้อย่างน้อยสามกลุ่มตามพื้นฐานของลักษณะ ได้แก่
กล้วยกินสด กล้วยที่ใช้ประกอบอาหารที่ไม่ใช่กล้าย และกล้าย แม้ว่า
จะมีการคาบเกี่ยวกันระหว่างกล้วยกินสดและกล้วยที่ใช้ประกอบ
อาหาร
2

ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศูนย์กลางความหลากหลายของ
กล้วย ทัง้ กล้วยป่ าและกล้วยพันธุ์ ความแตกต่างระหว่าง "กล้วย" และ
"กล้าย" กลับไม่มีความหมาย ตามข้อมูลของวาลมาเยอร์ (Valmayor)
และคณะ กล้วยหลายพันธุ์ใช้ทงั ้ รับประทานสดและประกอบอาหาร
กล้วยที่ใช้ประกอบอาหารที่มีแป้ งมีขนาดเล็กกว่ากล้วยรับประทานสด
ช่วงสี ขนาด และรูปทรง หลากหลายกว่ากล้วยที่ปลูกหรือขายใน
แอฟริกา ยุโรป หรืออเมริกา ภาษาเรียกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไม่
บ่งชีถ
้ ึงความแตกต่างระหว่าง "กล้วย" และ "กล้าย" เหมือนอย่างใน
ภาษาอังกฤษ (และภาษาสเปน) ดังนัน
้ ทัง้ พันธุ์กล้วยหอมเขียว
(Cavendish banana) ซึง่ เป็ นกล้วยรับประทานสดที่ร้จ
ู ักกันดี และ
พันธุ์กล้วยหิน (Saba banana) ที่นิยมใช้ประกอบอาหาร ถูกเรียกว่า
pisang (ปี ซาง) ในประเทศมาเลเซียและประเทศอินโดนีเซีย, กล้วย ใน
ประเทศไทย และ chuoi (ชวย) ในประเทศเวียดนาม กล้วยเฟอิ (Fe'i
banana) ที่ปลูกและรับประทานในหมู่เกาะของมหาสมุทรแปซิฟิก มี
ต้นกำเนิดที่แตกต่างโดยสิน
้ เชิงจากกล้วยโบราณและกล้าย กล้วยเฟอิส่
วนมากจะใช้ประกอบอาหาร แต่กล้วยคาแรต (Karat banana) ที่มี
ลักษณะสัน
้ ป้ อม มีเปลือกสีแดงสดต่างจากกล้วยรับประทานสดทั่วไป
ใช้กินสด

สรุปแล้ว ในเชิงพาณิชย์ในยุโรปและอเมริกา (แม้ไม่จัดเป็ นพื้นที่


เพาะปลูกขนาดเล็ก) ได้แยกความแตกต่างระหว่าง "กล้วย" ซึง่ รับ
2

ประทานสดและ "กล้าย" ที่ใช้ประกอบอาหาร ขณะที่ในพื้นที่อ่ น


ื ๆ ของ
โลก โดยเฉพาะอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และหมู่เกาะใน
มหาสมุทรแปซิฟิก มีกล้วยหลายชนิด และไม่มีการแยกความแตกต่าง
ระหว่างกล้วยทัง้ สองกลุ่ม และไม่มีการแยกคำในภาษาถิ่น กล้ายเป็ น
หนึ่งในกล้วยหลายชนิดที่ใช้ประกอบอาหาร ซึ่งไม่แตกต่างจากกล้วย
รับประทานสด

การใช้ประโยชน์ของกล้วย

กล้วยเป็ นพืชที่ใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย ใบกล้วยในภาษาไทย


อาจเรียกว่า "ตองกล้วย" (ตอง หมายถึง ใบไม้ที่เอาไปใช้ประโยชน์ได้ ซึ่งไม่

จำกัดเฉพาะใบกล้วย) ใช้ห่ออาหารและทำงานฝี มือหลายชนิด ขณะที่ใบ


2

กล้วยที่ไม่แก่หรืออ่อนเกินไป เรียกว่า "ใบเพสลาด" ลำต้นใช้ทำเชือกกล้วย


กระทง

ภาพที่ 1.4 กระทง ที่มา

(https://lifestyle.campus-star.com/app/uploads/2019/10/
loykrathong2562-5.jpg)

กล้วยกับวิถีชีวิตคนไทย

- ด้านความเชื่อ เรื่องกล้วยของคนไทยมีอยู่มากมาย เนื่องจากกล้วย
เป็ นพืชที่อยู่คู่คนไทยมาอย่างเนิ่นนานแล้ว ในหญิงมีครรภ์มักไม่รับประทาน
กล้วยแฝดเพราะมีความเชื่อว่าจะได้ลูกแฝด แต่ถ้าบ้านไหนอยากได้ลูกแฝดก็
รับประทานกล้วยแฝด สำหรับหญิงแม่ลูกอ่อนถ้ารับประทานแกงหัวปลี จะมี
น้ำนมมาก ถ้าคิดตามหลักวิทยาศาสตร์แล้ว หัวปลีเป็ นพืชที่มีธาตุเหล็กสูง
บำรุงเลือดดี จึงทำให้มีน้ำนมมากนัน
้ เอง ต้นกล้วยที่ขาวเนียนสะอาด ไม่มี
กาบใบแห้ง มักเชื่อว่าเป็ นที่สิงสถิตของนางพรายตานี เป็ นผีผู้หญิง ที่มีหน้า
ตาสวยงาม ผิวขาว จะปรากฏตัวตอนกลางคืน โดยยืนอยู่ใต้ต้นกล้วยนัน
้ ๆ
ส่วนการประหารชีวิตนัน
้ ก่อนลงมือประหารจะมีการนำใบกล้วยมาปูรอง
ก่อน เพื่อกันเลือดไหลลงไปบนดิน
2

- ด้านยาอายุวัฒนะ หากนำกล้วยแช่น้ำผึง้ ปิ ดไหแล้วใช้ปูนแดงทาก่อน
ฝาปิ ด จากนัน
้ เอาไว้ใต้ฐานพระในวันเข้าพรรษา ปล่อยไว้นานสามเดือน ก็
สามารถนำมารับประทานได้ ทัง้ นีก
้ ็เป็ นแนวคิดด้านการถนอมอาหารอีกวิธี
หนึ่งด้วย

- ด้านอาหาร อาหารอย่างแรกที่ให้เด็กกิน นอกจากนมแม่แล้วก็คือ
กล้วยบดผสมกับข้าว กล้วยเป็ นผลไม้พ้น
ื บ้านที่คุ้นเคยกับคนไทยเรามาตัง้ แต่
เด็กผลไม้ไทยๆ ที่ตอนนีม
้ ีออกมาให้เลือกชิมมากมายแล้วก็อย่าลืมผลไม้ธร
รมดาๆอย่างกล้วยซึ่งจัดว่าไม่ธรรมดาเลยทีเดียว เมื่อเปรียบเทียบกับผลไม้
ต่างประเทศอย่างแอปเปิ ลแล้ว กล้วยมีโปรตีนมากกว่าแอปเปิ ล 4 เท่า มี
คาร์โบไฮเดรตมากกว่า 2 เท่า มีฟอสฟอรัสมากกว่า 3 เท่า มีวิตามินเอและ
ธาตุเหล็กมากกว่า 5 เท่า และมีวิตามินรวมทัง้ แร่ธาตุอ่ น
ื ๆ มากกว่า 2 เท่า
และอุดมไปด้วยโพแทสเซียม ซึ่งเป็ นแร่ธาตุที่จำเป็ นต่อการทำงานของกล้าม
เนื้อและประสาท ช่วยควบคุมความดันโลหิต อีกทัง้ กล้วยสามารถนำมา
ประกอบอาหารได้เกือบทุกส่วนทัง้ ลูก ดอก หยวกกินได้หมดและคนไทยเรา
ได้ขน
ึ ้ ชื่อว่า สามารถพลิกแพลงการประกอบอาหารได้หลากหลายชนิด  ไม่
ว่าจะเป็ นอาหารคาวหรืออาหารหวาน จึงมีแนวคิดนำเอาส่วนต่างๆ ของ
กล้วยมาประกอบอาหารนานาชนิด

- ด้านงานพิธี ส่วนประกอบต่างๆ ของต้นกล้วยนำมาใช้ประดิษฐ์เป็ น
เครื่องบูชา  ใช้ประกอบพิธีต่างๆ ของคนไทย  บายศรีต้น บายศรีตงั ้ หรือ
บายศรีชน
ั ้ ใช้ต้นกล้วยเป็ นแกนมี 3-5-7 และ 9 ชัน
้ บายศรีต้นในแต่ละภาค
มีการประดิษฐ์ในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป บายศรีต้นถือเป็ นบายศรี
2

ขนาดใหญ่จัดทำอยากต้องใช้ความพยามและความอดทดในการทำบายศรี
ต้นจะประดิษฐ์บายศรีในหลายรูปแบบ เช่น พับเป็ นกลีบบัวสัตตบงกช กลีบ

ภาพที่ 1.5 พานบายศรี ที่มา

(https://dw.lnwfile.com/ltphrn.jpg)

ผกา กลีบหน้านาค กลีบหน้าช้าง กรวย ฯลฯ จัดวางลงใน ฐานรอง มีขนาด


ลดหลั่นกันไป บายศรีต้นจะมีรูปแบบเป็ นทรงต้นสน ทรงฉัตร และทรงตรง

- งานแต่งงาน ต้นกล้วย  ต้นอ้อย ที่ใช้ในขบวนขันหมากนัน


้   การขุด
ต้องให้ติดรากหรือ มีตา และเลือกเอา ต้นหรือหน่อที่สมบูรณ์ โดยขุดมาเป็ น
คู่ นำมาประดับตกแต่งด้วยกระดาษสีให้ดูสวยงาม ซึ่งเจ้าบ่าวเจ้าสาว จะ
ต้องทำการปลูกร่วมกัน คล้ายกับเป็ นการเสี่ยงทายอย่างหนึ่ง ซึง่ หากต้น
กล้วย  เจริญเติบโตออกดอกออกผลสมบูรณ์ และต้นอ้อยเติบโต หอมหวาน
เชื่อกันว่าความรักของหนุ่มสาวคู่นจ
ี ้ ะเป็ นไปอย่างราบรื่น มีลูกเต็มบ้านมี
2

หลานเต็มเมือง ความรักจะสดชื่อ หอมหวานอยู่มิร้ค


ู ลาย ฐานะความเป็ นอยู่
ทางเศรษฐกิจ ก็สมบูรณ์พูนสุข

ภาพที่ 1.6 ขบวนขันหมาก ที่มา

(http://www.weddingtoknow.com/info/images/
20140604162535_info.jpg)

- งานแทงหยวก คือ การนำเอากาบกล้วยมาทำให้เป็ นลวดลายต่างๆ


โดยวิธีแทงด้วยมีดเเทงหยวกใช้สำหรับการประดับตกแต่งที่เป็ นงานชั่วคราว
ตัวอย่างเช่น การประดับเบญจารดน้ำ ประดับร้านม้าเผาศพ ประดับจิตรการ
ธารการแกะสลัก หยวกกล้วยนัน
้ จะทำใน พิธีโกนจุกงานศพ การสลักหยวก
หรือการแทงหยวก เป็ นงานฝี มือช่างประเภทหนึ่งที่อยู่ในช่าง สิบหมู่
ประเภทช่างสลักของอ่อน ย้อนหลังไปประมาณ 20-30 ปี ขึน
้ ไป มีประเพณี
ที่เกี่ยวกับการแทงหยวกกล้วยอยู่ 2 อย่าง คือ การโกนจุกและการเผาศพ
งานโกนจุกหรือประเพณีการโกนจุก จะมีการจำลองเขาพระสุเมรุ ตามความ
เชื่อ แล้วตกแต่งภูเขาด้วยรูปสัตว์ต่างๆ ส่วนภูเขาพระสุเมรุจะตัง้ อยู่ตรงกลาง
ร้านม้า ซึง่ ทำโครงสร้างด้วยไม้แล้วหุ้มด้วยหยวกกล้วยแกะสลักเป็ นลวดลาย
ต่างๆ ประเพณีการเผาศพก็เช่นกันจะทำ ร้านม้า ซึง่ ทำโครงสร้างด้วยไม้แล้ว
2

ประดับด้วยหยวกกล้วยแกะสลักอย่างงดงาม การสลักหยวกกล้วยนัน
้ ผู้ที่เป็ น
ช่างจะต้องได้รับการฝึ กหัดจนเกิดความชำนาญพอสมควร เพราะการสลัก
หยวกกล้วยนัน
้ ช่างจะไม่วาดลวดลายลงไปก่อนจับมีดได้ก็ ลงมือสลักกันเลย
ทีเดียว จึงเรียกตามการทำงานนีว้ ่า การแทงหยวก ประกอบกับมีดที่ใช้มี
ปลายเเหลม

ภาพที่ 1.7 งานแทงหยวก ที่มา


( https://we.tsu.ac.th/?p=2911&fbclid=IwAR1Wx_UKdhBqn3HT-m8dx4TD-
lnYb6EIV64ED9ZQqRpJ1y1M9oc3SR4CNbc)
2

บทที่ 2
ชนิดของกล้วยยอดนิมและรายชื่อกล้วยหายาก

กล้วยน้ำว้า

ภาพที่ 2.1 กล้วยน้ำว้า ที่มา


(https://www.oonorganic.com/Article/Detail/370)
2

“กล้วยน้ำว้า” มีช่ อ
ื สามัญหรือชื่อเรียกท้องถิ่นว่า กล้วยใต้ กล้วยตานีอ่อง
กล้วยมะลิอ่อง หรือกล้วยอ่อง (Pisang Awak) และมีช่ อ
ื เรียกทาง
วิทยาศาสตร์ว่า Musa (ABB) ‘Nam Wa’

มีเหลี่ยมเล็กน้อย เปลือกผลหนา เมื่อผลสุกมีสเี หลือง เนื้อสีขาวนวล รส


หวาน ไส้กลางสีเหลือง ชมพู หรือขาว มีหลากหลายสายพันธุ์ อาทิ กล้วย
น้ำว้าค่อม กล้วยน้ำว้าดำ กล้วยน้ำว้ามะลิอ่อง และกล้วยน้ำว้าจันทร์ ให้คณ

ประโยชน์มากมาย มีธาตุเหล็กสูงที่สุด ช่วยป้ องกันโรคโลหิตจางได้ยอดเยี่ยม
เป็ นยาอายุวัฒนะ สามารถทานเพื่อลดน้ำหนัก นอกจากนีย
้ ังมีสารฮิสโตแฟน
ที่เป็ นสารตัง้ ต้นฮอร์โมนเอนดอร์ฟิน หลัง่ สารแห่งความสุข ช่วยให้หลับสบาย
คลายความเครียด ทัง้ ยังมีแคลเซียมสูง ช่วยป้ องกันฟั นผุ

ประโยชน์ของกล้วยน้ำว้า
 รักษาโรคกระเพาะอาหาร กล้วยน้ำว้าดิบสามารถช่วยรักษาโรค
ื ว่า แทนนิน มีฤทธิ ์
กระเพาะอาหาร เพราะในกล้วยดิบมีสารที่ช่ อ
ในการยับยัง้ การเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย และยังมีสารอีก
ตัวที่สำคัญคือ เซโรโทนิน ที่จะช่วยกระตุ้นให้กระเพาะอาหาร
ผลิตเยื่อเมือกมากขึน
้ จึงช่วยเคลือบแผลที่กระเพาะ ลดการ
ระคายเคือง และลดความแสบร้อนลงได้
 ดับกลิ่นปาก กล้วยสุกสามารถดับกลิ่นปากได้ดี เพียงรับประทาน
ก่อนสุกในตอนเช้าแล้วจึงแปรงฟั น ทานติดต่อกันเป็ นเวลา 1
สัปดาห์ รับรองว่าช่วยระงับกลิ่นปากให้หายไปได้
2

 ผลไม้สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน กล้วยน้ำว้าสุกมีดัชนีน้ำตาลต่ำ มี
ค่า GI เพียง 37 การรับประทานกล้วยน้ำว้าสุกจึงช่วยให้ร่างกาย
ดูดซึมน้ำตาลไปใช้อย่างช้าๆ กล้วยน้ำว้าจึงเป็ นผลไม้ที่เหมาะ
สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
 มีแคลเซียมสูง กล้วยน้ำว้าอุดมไปด้วยแคลเซียม เมื่อนำกล้วยไป
ผ่านความร้อน เช่น กล้วยต้ม กล้วยปิ ้ ง กล้วยบวชชี ร่างกายจะ
ดูดซึมแคลเซียมได้ดียิ่งขึน
้ 5-6 เท่า
 ระบบขับถ่ายคล่องขึน
้ กล้วยน้ำว้าสุกช่วยแก้อาการท้องผูก
เพราะอุดมไปด้วยไฟเบอร์ที่ละลายน้ำได้จึงช่วยให้ระบบขับถ่ายดี
ขึน
้ อุจจาระนิ่ม จึงช่วยป้ องกันโรคริดสีดวงทวาร
 ป้ องกันโรคโลหิตจาง กล้วยน้ำว้าเป็ นผลไม้ที่มีธาตุเหล็กสูงซึ่งจะ
ไปช่วยในการสร้างเม็ดเลือดแดง จึงช่วยป้ องกันโรคโลหิตจาง
 รักษาโรคซึมเศร้า กล้วยสุกมีสารทริปโตเฟนที่จะช่วยคลาย
เครียด รู้สึกผ่อนคลาย ลดความวิตกกังวล อารมณ์ดีขน
ึ ้ จึง
สามารถช่วยลดอาการซึมเศร้าได้ดี
 ช่วยให้นอนหลับสบาย หากใครที่นอนไม่หลับให้ลองรับประทาน
กล้วยน้ำว้าสุกก่อนนอนก็จะช่วยแก้อาการนอนไม่หลับ ทำให้
นอนหลับสบายตลอดคืน
 แก้ท้องเสีย กล้วยน้ำว้าดิบมีสารแทนนินซึ่งมีฤทธิย์ ับยัง้ เชื้อ
แบคทีเรีย เพียงนำผงกล้วยน้ำว้าดิบมาชงดื่มก็จะช่วยแก้อาการ
ท้องร่วง แก้ท้องเสียได้
2

 กระตุ้นระบบย่อยอาหาร กล้วยน้ำว้าสุกนัน
้ มีประโยชน์ช่วย
กระตุ้นระบบย่อยอาหารทำให้ย่อยง่ายมากขึน
้ เนื่องจากแป้ งทน
การย่อยจะเปลี่ยนเป็ นน้ำตาลเมื่อกล้วยสุก

กล้วยหอม
ภาพที่ 2.2 กล้วยหอม ที่มา
(https://sites.google.com/site/fruitsaifon1set1/klwy)
2

“กล้วยหอม” หรือ “กล้วยหอมทอง” เป็ นชื่อท้องถิ่นที่ถูกเรียกโดยทั่วไป


มีช่ อ
ื สามัญคือ Gros Michel และชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Musa (AAA)
‘Hom’

มีผลใหญ่ ปลายโค้งเรียวยาว เปลือกบาง เมื่อสุกจะมีสเี หลืองทอง เนื้อในสี


ส้มอ่อน รสหวาน มีกลิ่นหอม สายพันธุ์ที่เป็ นที่ร้จ
ู ัก ได้แก่ กล้วยหอมเขียว
กล้วยหอมทอง กล้วยหอมค่อม และกล้วยหอมแกรนด์เนน มีผลวิจัยพบว่า
กล้วยหอมทองมีโปรตีนสูง ช่วยให้ร่างกายเติบโตแข็งแรง มีแร่ธาตุเป็ น
จำนวนมาก สรรพคุณมากมาย รักษาอาการโลหิตจาง นอกจากนีย
้ ังช่วยลด
อาการของโรคหลอดเลือดในสมอง บำรุงประสาท ปรับอารมณ์ ลดความ
ตึงเครียด ช่วยให้ร่างกายสดชื่น สามารถป้ องกันโรคซึมเศร้าและบรรเทา
อาการปวดต่างๆ

ภาพที่ 2.3 ประโยชน์ของกล้วยหอม ที่มา


2

(http://www.khonkaenram.com/th/services/health-
information/health-articles/health/banana)

ประโยชน์ของกล้วยหอม
กล้วยหอมอุดมไปด้วยแร่ธาตุและสารอาหารต่างๆ ที่ร่างกาย
ควรได้รับ และให้พลังงานมากถึง 100 กิโลแคลอรีต่อหน่วย เพราะใน
กล้วยหอมมีน้ำตาลอยู่ 3 ชนิด ได้แก่ ซูโครส ฟรุกโตส และกลูโคส
รวมทัง้ เส้นใยอาหาร ดังนัน
้ ร่างกายเราจะได้รับพลังงาน และนำไป
ใช้ได้ทันที แค่กล้วยหอม 2 ลูกก็ให้พลังงานได้ถึง 90 นาที และยังมี
สรรพคุณอื่นๆ อีกดังนี ้
คลายเครียด กล้วยหอมมีสาร Tryptophan เป็ นกรดอะมิโน
ที่ร่างกายแปลงเป็ น Serotonin ได้ ซึ่งเป็ นสารกระตุ้นทำให้ร่างกาย
รู้สึกผ่อนคลาย อารมณ์สดใสและมีความสุข
 ลดอารมณ์หงุดหงิด อาการปวดหัว ปวดท้องของคุณผู้หญิงใน
ช่วงก่อนหรือระหว่างมีประจำเดือน
 เพิ่มพลังสมอง สารอาหารที่อยู่ในกล้วยหอมสามารถกระตุ้น
ความตื่นตัวให้กับสมองได้ การทานกล้วยหอมเป็ นอาหารเช้าช่วย
ให้สมองทำงานได้อย่างเต็มที่ และทานอีกในช่วงกลางวันจะ
ทำให้ร้ส
ู ึกสดชื่นและตื่นตัวได้
 ลดการเกิดแผลในกระเพาะและลำไส้ กล้วยหอมมีใยอาหารอยู่
มากจึงช่วยให้ลำไส้เล็กย่อยอาหารได้ดีขน
ึ ้ และช่วยเคลือบ
2

กระเพาะอาหารไม่ให้เกิดแผลในกระเพาะ ลดอาการจุกเสียด
แน่นท้อง และช่วยลดท้องผูกอีกด้วย
 ลดโรคโลหิตจาง กล้วยหอมอุดมไปด้วยธาตุเหล็ก ซึ่งมีส่วนใน
การกระตุ้นให้ร่างกายสร้างฮีโมโกลบินให้กับเม็ดเลือดแดง จึง
ช่วยป้ องกันการเกิดโรคโลหิตจางได้
 ลดความดันโลหิต ในกล้วยหอมมีโพแทสเซียม ผลวิจัยยืนยันว่า
โพแทสเซียมในผลไม้ช่วยลดความดันโลหิตได้ จึงมีส่วนช่วยลด
ความเสี่ยงต่อการเป็ นโรคหลอดเลือดสมองจากความดันโลหิตสูง
ได้
 ลดการเกิดตะคริว คนที่กล้ามเนื้อเป็ นตะคริวส่วนหนึ่งมาจากการ
ขาดหรือมีโพแทสเซียมในร่างกายต่ำ การทานกล้วยหอมเป็ น
ประจำจะช่วยลดอาการดังกล่าวได้
 บำรุงระบบประสาท วิตามินบีในกล้วยหอมจะช่วยบำรุงระบบ
ประสาทให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความสมดุลมาก
ขึน

กล้วยไข่
2

ภาพที่ 2.4 กล้วยไข่ ที่มา


(https://hd.co.th/benefits-of-pisang-mas-and-caution)

“กล้วยไข่” มีช่ อ
ื ท้องถิ่นว่า กล้วยกระ และชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Musa
(AA) ‘Khai’ มีลักษณะคือ ผลค่อนข้างเล็ก ก้านผลสัน
้ มีเปลือกบาง เมื่อสุก
เปลือกและเนื้อมีสเี หลืองสด มีจุดกระสีดำที่เปลือก มีรสชาติหวาน กล้วยไข่
มี 2 สายพันธุ์ที่เป็ นที่ร้จ
ู ัก คือ กล้วยไข่กำแพงเพชร และกล้วยไข่ทองเงย มี
เบต้าแคโรทีนสูง ช่วยต้านมะเร็งได้อย่างวิเศษ เมื่อสุกช่วยบำรุงกำลัง เป็ นยา
ระบาย ผลดิบใช้ชงน้ำร้อนหรือบดเป็ นผงรับประทาน ช่วยรักษาแผลใน
กระเพาะอาหารและอาการท้องเสียเรื้อรัง มีรสฝาด

ประโยชน์ของกล้วยไข่

 รักษาอาการท้องผูก กล้วยไข่มีเส้นใย และกากอาหารปริมาณ


มาก ซึ่งมีสรรพคุณเป็ นยาระบาย มีส่วนช่วยให้ขับถ่ายดี และ
รักษาอาการท้องผูกได้อีกด้วย
2

 แก้อาการเสียดท้อง สารในกล้วยไข่มีส่วนช่วยลดกรดที่ทำให้เกิด
อาการเสียดท้อง
 รักษาแผลในลำไส้ กล้วยไข่มีส่วนช่วยรักษาแผลในลำไส้ได้ โดย
จะช่วยเคลือบลำไส้ ลดการระคายเคือง
 ป้ องกันโรคซึมเศร้า โปรตีนทริปโตเฟนที่อยู่ในกล้วยไข่มีส่วนช่วย
ป้ องกันภาวะโรคซึมเศร้าได้ โดยเป็ นสารที่ร่างกายจะเปลี่ยน
เป็ นเซโรโทนิน ทำให้ร้ส
ู ึกผ่อนคลาย
 ป้ องกันโรคโลหิตจาง ในกล้วยไข่มีธาตุเหล็กสูง ช่วยกระตุ้นการ
ผลิตฮีโมโกลบิน ป้ องกันการเกิดโรคโลหิตจางได้ดี
 ป้ องกันความดันโลหิตสูง ในกล้วยไข่มีสารโพแทสเซียมสูง และมี
เกลือต่ำ ช่วยลดความเสี่ยงการเกิดความดันโลหิตสูงได้ดี
 ช่วยฟื้ นฟูร่างกาย ในกล้วยไข่มีวิตามินหลากชนิดที่ช่วยฟื้ นฟู
ร่างกายได้อย่างดีเยี่ยม
 ช่วยปรับอุณหภูมิร่างกาย การรับประทานกล้วยไข่มีส่วนช่วย
ปรับอุณหภูมิในร่างกายได้ดี และดีต่อหญิงตัง้ ครรภ์อีกด้วย
 แก้อาการเมาค้าง แนะนำให้เอากล้วยไข่ไปปั่ นผสมกับน้ำผึง้ และ
นมสด โดยจะช่วยปรับสมดุลของร่างกาย และช่วยแก้อาการเมา
ค้างได้อีกด้วย
 ลดความเสี่ยงเส้นโลหิตแตก งานวิจัยในวารสาร The New
England Journal of Medicine ได้กล่าวไว้ว่า การรับประทาน
2

กล้วยไข่เป็ นประจำทุกวัน มีส่วนช่วยลดความเสี่ยงเส้นโลหิตแตก


ได้ถึง 40%
 ช่วยบำรุงสมอง มีการวิจัยทดลองให้นักเรียนจำนวน 200 คน
ทานกล้วยไข่ม้อ
ื เช้า ช่วยพัก และมื้อเที่ยงเป็ นประจำทุกวัน ผล
ปรากฏว่า มีปริมาณโพแทสเซียมที่ช่วยบำรุงสมองได้ดี และ
ทำให้เกิดการตื่นตัวอีกด้วย
 ป้ องกันโรคมะเร็ง สารที่อยู่ในกล้วยไข่มีส่วนช่วยป้ องกันการเกิด
โรคมะเร็ง
 รักษาผื่นคัน เมื่อมีอาการผื่นคัน หรือถูกแมลงกัดต่อย ให้เอา
เปลือกกล้วยไข่มาทา จะช่วยรักษาอาการดังกล่าวได้

กล้วยเล็บมือนาง

ภาพที่ 2.5 กล้วยเล็บมือนาง ที่มา


2

(https://www.kasettambon.com/
%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%
B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%9A
%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD
%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%87-banana/)

“กล้วยเล็บมือนาง” มีช่ อ
ื เรียกโดยทั่วไปคือ กล้วยข้าว กล้วยเล็บมือ กล้วย
ทองดอกหมาก และกล้วยหมาก ชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Musa (AA) ‘Lep
Mue Nang’ เป็ นกล้วยประจำท้องถิ่นของภาคใต้ ปั จจุบันนำมาปลูกกันทั่ว
ทุกภาค โดยเฉพาะภาคกลางกล้วยเล็บมือนางมีผลเล็ก ปลายเรียวยาวและ
โค้ง ก้านผลสัน
้ เปลือกหนา เมื่อสุกสีเหลืองทองและมีก้านเกสรเพศเมียติดที่
ปลายผล เนื้อด้านในมีสีเหลืองหรือสีครีม เนื้อนุ่ม รับประทานง่ายเพราะผลมี
ขนาดเรียวเล็ก กลิ่นรสหวานหอม ผลดิบมีรสมัน ไม่ฝาด นิยมนำมาปรุง
อาหารปั กษ์ใต้ ไม่นิยมนำมาแปรรูปเหมือนกล้วยชนิดอื่นเพราะขนาดเล็ก
นอกจากนีย
้ ังมีฟอสฟอรัสมากที่สุด ช่วยบำรุงให้กระดูกและฟั นแข็งแรง

ประโยชน์ของกล้วยเล็บมือนาง
2

 มีฟอสฟอรัส มีวิตามินเอ มีวิตามินซี มีวิตามินบี1 มีวิตามินบี2 มี


วิตามินบี3 มีวิตามินบี5 มีวิตามินบี6 มีวิตามินบี9 มีแคลเซียม มี
เหล็ก มีแมกนีเซียม มีคาร์โบไฮเดรต มีสังกะสี มีไขมัน มีโปรตีน
มีโพแทสเซียม มีสังกะสี มีเส้นใย มีพลังงาน มีไฟเบอร์ มีเบต้าแค
โรทีน มีน้ำตาลซูโครส ฟรุทโทส กลูโคส
 ช่วยชะลอความแก่ ช่วยบำรุงผิวพรรณ ช่วยรักษาโรคเลือดจาง
ช่วยบำรุงสมอง ช่วยให้ร้ส
ู ึกดีผ่อนคลาย ช่วยลดอาการซึมเศร้า
ช่วยป้ องกันโรคความดันโลหิตสูง ช่วยระบายท้อง แก้ท้องผูก
ช่วยรักษาการจุกเสียดท้อง ช่วยรักษาแผลในกระเพาะ ช่วยลด
น้ำตาลในเลือด ให้พลังงานแก่ร่างกาย

กล้วยนาก

ภาพที่ 2.6 กล้วยนาก ที่มา


2

(https://www.baanmaha.com/community/showthread.php?
49818-quot-
%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%
B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%81-quot)

“กล้วยนาก” เป็ นกล้วยโบราณหายาก มีความแตกต่างจากกล้วยชนิดอื่น


ด้วยผลที่มีสีแดงเหมือนกับสีของนาก ทำให้มีเอกลักษณ์โดดเด่น มีช่ อ
ื ท้องถิ่น
ว่า กล้วยกุ้ง กล้วยกุ้งเขียว กล้วยแดง กล้วยครั่ง และกล้วยน้ำครั่ง เป็ นกล้วย
ที่พบทางภาคใต้ มีช่ อ
ื ทางวิทยาศาสตร์ว่า Musa (AAA) ‘Nak’

เมื่อผลสุกจะเปลี่ยนเป็ นสีแดงเข้ม ก้านผลสัน


้ เนื้อสีเหลืองอมส้ม มีรสหวาน
อมเปรีย
้ วและกลิ่นหอมเย็น เนื้อนิ่มละเอียด และไม่มีเมล็ด บางตำรากล่าว
ว่า กล้วยนากมีสารแอนติออกซิแดนต์สูง นิยมนำมารับประทานสดเมื่อผลสุก
ส่วนผลดิบใช้ทอดหรือฉาบน้ำตาลเพื่อบริโภคหรือขาย นอกจากนีย
้ ังนำมาใช้
ในการประกอบเครื่องบูชาเทวดาและในงานพิธีมงคลต่างๆ

ประโยชน์ของกล้วยนาก

- กล้วยนาก ใช้รับประทานสด มีประโยชน์ในการช่วยให้หลับ


สบาย ช่วยให้ระบบขับถ่ายทำงานได้ดีขน
ี ้ ช่วยลดความันโลหิต
สูง ลดอาการท้องผูก ป้ องกันมะเร็งลำไส้ใหญ่

ประโยชน์ทางสมุนไพร

o ใบอ่อนของกล้วยอังไฟพอนิ่ม ใช้พอกแก้เคล็ดขัดยอก
2

o ก้านใบตองตำให้แหลกช่วยลดอาการบวมของฝี
o หัวปลี ใช้บำรุงน้ำนม ช่วยลดน้ำตาลในเลือด
o ผลกล้วยมีสารเซอโรโทนินซึ่งมีฤทธิเ์ ป็ นยาระบาย ผลดิบมี
o สารกระตุ้นเซลล์เยื่อบุกระเพาะอาหารให้หลั่งสารออกมา
เคลือบกระเพาะ ในผลกล้วยสุกอุดมด้วยคาร์โบไฮเดรตถึง 22
%
์ ่อต้าน
o รวมถึงมีเกลือแร่ เพกติน วิตามินเอ บี และซี มีฤทธิต
เชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา

กล้วยน้ำไท

ภาพที่ 2.6 กล้วยน้ำไท


ที่มา(https://bananacenterkp.weebly.com/3585362136573623361
836093657363536523607.html)

“กล้วยน้ำไท” หรือกล้วยหอมเล็ก เป็ นกล้วยท้องถิ่นของกรุงเทพฯ ใน


ปั จจุบันพบได้ยาก มีช่ อ
ื เรียกทางวิทยาศาสตร์ว่า Musa (AAB) ‘Nam Thai’
2

มีลักษณะของผลคล้ายกล้วยหอมจันทร์ แต่โค้งงอกว่า เป็ นเหลี่ยม เปลือก


หนา ปลายผลมีจุกและมักมีก้านเกสรตัวเมียติด เมื่อสุกมีสเี หลืองเข้มและมี
จุดดำเล็กๆคล้ายกล้วยไข่ เนื้อสีเหลืองอมส้ม กลิ่นรสหวานหอม ไม่มีเมล็ด
นิยมกินผลสด ถ้านำไปเชื่อมหรือผ่านความร้อนจะมีรสฝาด มีสรรพคุณเป็ น
ยาดี สามารถนำมาดองกับน้ำผึง้ ใช้เป็ นยาอายุวัฒนะ แต่เดิมเป็ นกล้วยที่ใช้
โดยทั่วไปในพิธีกรรมต่างๆ แต่ปัจจุบันหายาก จึงเปลี่ยนมาใช้กล้วยน้ำว้า
แทน

ประโยชน์ของกล้วยน้ำไทย
- กล้วยน้ำไท เป็ นกล้วยที่คนโบราณถือว่าเป็ นผลไม้ศักดิส์ ิทธ์หรือ
“กล้วยพิธี” ที่ใช้ในการประกอบพิธีกรรมและงานมงคลต่างๆ
เช่น การบวงสรวงไหว้ครู ทำขวัญ เป็ นต้น
กล้วยน้ำไทที่ใช้ทำยาเป็ นกล้วยสุก มีสรรพคุณเป็ นยาอายุวัฒนะ
- วิธีเก็บกล้วยน้ำไทสุกไว้กินนานๆ คือ เอาผลกล้วยแช่น้ำผึง้ ดอง
ในโหลแก้วที่ปิดสนิททิง้ ไว้ 7 วัน จึงนำมารับประทานบำรุง
ร่างกายให้แข็งแรงอายุยืนยาว
กล้วยน้ำไทอุดมด้วยธาตุอาหารและพลังงาน
- กล่าวคือ กล้วยน้ำไทสุกหนัก 100 กรัม มีพลังงาน 124 กิโล
แคลอรี คาร์โบไฮเดรต 29% โปรตีน 1.5% ไขมัน 0.2% และน้ำ
68.6% สารอนินทรีย์ 0.7%
2

กล้วยตานี

ภาพที่ 2.6 กล้วยตานี ที่มา


(https://th.wikipedia.org/wiki/
%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%
B8%A2%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B5
)

กล้วยตานีเป็ นกล้วยชนิดหนึง่ ซึ่งมีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็ น


ต้นตระกูลของกล้วยที่รับประทานได้ในปั จจุบัน ร่วมกับกล้วยป่ า (M.
acuminata) มีลำต้นสูงประมาณ 3.5 - 4 เมตร ผลเครือหนึ่งมีประมาณ 8
หวี หวีหนึ่งมี 10 - 14 ผล ผลป้ อมขนาดใหญ่มีเหลี่ยมชัดเจน ปลายทู่ ก้าน
ผลยาว ผลอ่อนมีทงั ้ สีเขียวอ่อนและเขียวเข้ม ผลสุกมีสีเหลือง เนื้อมีรสหวาน
เมล็ดมีจำนวนมาก สีดำ ผนังหนา แข็ง

เมนูที่ทำจากกล้วยตานี: 

- กล้วยนัน
้ ถือว่าเป็ นพืชที่ใช้ประโยชน์ได้ทงั ้ ต้นจริงๆ โดยส่วนปลีและหยวก
กล้วยนัน
้ สามารถนำไปปรุงอาหารได้ เช่น นำไปใส่แกงหรือหมกใส่ไก่ได้
2

หรือจะ กินสดโดยใส่กับผัดไทยก็สามารถทำได้ ผลอ่อนที่เมล็ดยังไม่แข็งมาก


สามารถนำมาตำทำเป็ นตำกล้วยได้

สรรพคุณทางยาและประโยชน์ของกล้วยตานี

กล้วยนัน
้ ถือว่ามีสรรพคุณต่างๆมากมาย ดังต่อไปนี ้

o ถ้าหากนำใบที่แห้งแล้วนำไปต้มกับใบมะขาม สามารถนำน้ำมาอาบได้
เพื่อแก้ผดผื่นคันตามตัวได้
o ช่วยแก้ท้องเสียได้ โดยการนำผลดิบที่ยังอ่อนอยู่ นำมาฝานแล้วตาก
แดดไว้หลังจากนัน
้ นำมาบดแล้วรับประมานจะช่วยแก้ท้องเสียได้
o ช่วยแก้ร้อนใน ดับกระหายได้ โดยการนำรากมาต้มน้ำรับประทาน
o ลำต้น หรือกาบตรงลำต้น สามารถนำมาทำเป็ นเชือกใช้ทอผ้าได้
o สามารถนำมาทำอาหารสัตว์หรืออาหารของคนได้
o ช่วยกันผมร่วงและเร่งให้ผมเจริญเติบโตเร็วขึน
้ โดยนำลำต้นมาคัน
้ น้ำ
แล้วนำมาทากับผมตรงที่เราต้องการ
o ใบของกล้วยตานีนน
ั ้ จะนิยมนำมาทำงานประดิษฐ์ต่างๆเพราะใบกล้วย
ตานีนน
ั ้ มีใบที่ใหญ่และเหนียวไม่แตกง่าย
o ช่วยบรรเทาอาการเคล็ดขัดยอกได้ โดยการนำใบกล้วยที่อ่อน นำมาอัง
ไฟแล้วนำมาทาบริเวณที่เคล็ดขัดยอกจะช่วยบรรเทาได้
o หัวปลีนน
ั ้ สามารถใช้บำรุงน้ำนมมารดาได้ โดยวิธีการคือนำหัวปลีกไป
ต้มแล้วคัน
้ สด รับประทานจะช่วยบำรุงน้ำนมแม่ได้
2

o หัวปลีก็ยังสามารถรักษาโลหิตจางได้เพราะหัวปลีมีธาตุเหล็กอยู่มาก
วิธีการทำโดยการนำหัวปลีไปตากแห้งแล้วรับประทาน สามารถใช้
รักษาโลหิตจางได้

รายชื่อพันธ์กล้วยไทยหายาก
ชื่อ รสชาติ
1.กล้วยตีบ(กรบูร) รสหอมหวาน
2.กล้วยกรัน “
3.กล้วยกรามช้าง(กรามคชสาร,กรามแรด) “
4.กล้าย(โกก,หมอนทอง) “
5.กล้วยกาไน “
6.กล้วยกาบก “
7.กล้วยกินกาบ “
8.กล้วยกุ้งเขียว(กลายพันธุ์จากกล้วยนาก) “
9.กล้วยกุ้งทองผาภูมิ “
10.กล้วยขนุน “
11.กล้วยขม(ขมหนัก,ขมเบา) “
12.กล้วยขีแ
้ มวหาดใหญ่ “
13.กล้วยไข(ไข่กำแพงเพชร,กระ) “
14.(บ้านไร่) “
2

15.กล้วยไข่ขาว “
16.กล้วยไข่แดง “
17.กล้วยไข่พระตะบอง “
18.กล้วยไข่ทองเงย(ทองเงย) “
19.กล้วยไข่ทองร่วง(ค่อมเบา) “
20.กล้วยไข่โบราณ “
21.กล้วยไข่ศรีสะเกศ “
22.กล้วยไข่ดำ “
23.กล้วยครั่ง(น้ำครั่ง,นากพม่า,นาก “
ทองผาภูมิ,นากยักษ์,หลอกเด็ก[ใต้]) “
24.กล้วยค่อม “
25.กล้วยค่อมเขียว “
26.กล้วยคำ “
27.กล้วยคอหัก “
28.กล้วยงาช้าง(ยักษ์) “
29.กล้วยง้าว “
30.กล้วยเงิน “
31.กล้วยเงาะ(หอมมือนาง) “
32.กล้วยจันนวล “
33.กล้วยจี “
34.กล้วยช้าง “
35.กล้วยเชียงฮาย “
36.กล้วยแซลอ “
2

37.กล้วยแดง(นากค่อม) “
38.กล้วยแดงค่อม(แดงเตีย
้ ) “
39.กล้วยตะกุ่ย “
40.กล้วยตะโหลน(ตะลิ) “
41.กล้วยตีบ(ตีบคำ,อีตีบ) “
42.กล้วยเตีย
้ “
43.กล้วยตำนวล(แตงนวล) “
44.กล้วยต่ำ(ป้ำ) “
45.กล้วยทองก้านดำ “
46.กล้วยทองขีแ
้ มว “
47.กล้วยทองคด “
48.กล้วยทองดอกหมาก(หมาก) “
49.กล้วยทิพรส “
50.กล้วยทองมัน “
51.กล้วยทองเลื่อน “
52.กล้วยทองเสา “
53.กล้วยเทพรส รสชาติหวามเย็นหอมเล็ก
54.กล้วยทุเรียน น้อย
55.กล้วยนกสวรรค์(ไข่ฝรั่ง,นางนวล) “
56.กล้วยนมแขก “
57.กล้วยนมแพะ “
58.กล้วยนมนาง “
59.กล้วยนมสาว “
2

60.กล้วยนมหมี รสหวานหอม
61.กล้วยนาก(กุง้ ,กุ้งแดง) รสชาติไม่ดี นิยมทำเป็ น
62.กล้วยนางนวล กล้วยฉาบ
63.กล้วยนางพญา(พระยาเสวย,พญา,นาง “
ญา{ใต้}) “
64.กล้วยนางเงย “
65.กล้วยนิว้ มือนาง(หวาน) “
66.กล้วยน้ำ(กระเจาะเนิก) “
67.กล้วยน้ำกาบดำ(น้ำพัด) “
68.น้ำเชียงราย “
69.กล้วยน้ำนม “
70.กล้วยน้ำฝาด “
71.กล้วยน้าไทย(น้ำไท,หอมเล็ก) “
72.กล้วยน้ำนมราชสีห์ “
73.กล้วยน้ำละโว้ รสหวานออกเปรีย
้ ว
74.กล้วยน้ำว้า(ใต้{เหนือ}มะลิอ่อง,น้ำ “
ละว้า) “
75.กล้วยน้ำว้ากาบขาว “
76.กล้วยน้ำว้าขาว “
77.กล้วยน้ำว้าเขียว “
78.กล้วยน้ำว้าค่อม(น้ำว้าเตีย
้ ,น้ำว้าปี นัง) “
79.กล้วยน้ำว้าด่าง “
80.กล้วยน้ำว้าดง “
2

81.กล้วยน้ำว้าแดง(น้ำว้าไส้แดง,น้ำว้าใน “
อ่อน) “
82.กล้วยน้ำว้าดำ(น้ำว้าไฟ) “
83.กล้วยน้ำว้าตะนาวศรี “
84.กล้วยน้ำว้านวลจันทร์(น้ำว้านวล) “
85.กล้วยน้ำว้ามะลิอ่อง “
86.กล้วยน้ำว้ามะลิอ่องขาว “
87.กล้วยน้ำว้ามะลิอ่องเขียว “
88.กล้วยน้ำว้ามหาราช “
89.กล้วยน้ำว้ายักษ์ “
90.กล้วยน้ำว้าไส้ดำ “
91.กล้วยน้ำว้าสวน(ทองมาเอง,ทองลอย “
มา) “
92.กล้วยน้ำว้าไส้แดง(น้ำว้าอ่อน,น้ำว้าไส้ “
แดง) “
93.กล้วยน้ำว้าหนัง “
94.กล้วยน้ำว้าเหลือง “
95.กล้วยน้ำหมาก “
96.กล้วยนิว้ จระเข้(นิว้ นาง) “
97.กล้วยนิว้ นางรำ “
98.กล้วยประจำพานร “
99.เปราะ “
100.กล้วยพม่าแหกคุก “
2

101.กล้วยภีมเสน(พิมเสน) “
102.กล้วยเภา(ใต้) “
103.กล้วยมัน “
104.กล้วยมือจระเข้ “
105.กล้วยแม่หม้ายต๊อก “
106.กล้วยไร่ “
107.กล้วยไร่กระเหรี่ยง รสหวานหอม
108.กล้วยลังกา “
109.กล้วยเล็บช้างกุด(โก๊ะ,เล็บช้าง,อี “
เต่า,โก้) “
110.กล้วยเล็บมือนาง(ข้าว,เล็บมือ) “
111.กล้วยไล(ใต้) รสหวานหอม
112.กล้วยสา “
113.กล้วยสากกะเบือ “
114.กล้วยสามเดือน “
115.กล้วยสาวกระทืบหอ(เนื้อทอง) “
116.กล้วยสีแสด ใช้ต้มรับประทาน อร่อย
117.กล้วยสีสะโต มาก
118.กล้วยแส้ม้า “
119.กล้วยสองกำปั่ น “
120.กล้วยหิน “
121.กล้วยหมูสี “
122.กล้วยหริน “
2

123.กล้วยหลวง “
124.กล้วยหวานกระเหรี่ยง “
125.กล้วยหวานทับแม้ว “
126.กล้วยหอมกระเหรี่ยง “
127.กล้วยหอมไข่(หอมแขก) “
128.กล้วยหอมเขียว(คร้าว,เขียวคอหัก) “
129.กล้วยหอมเขียวค่อม “
130.กล้วยหอมแขก(จากนวล,น้ำนม) “
131.กล้วยหอมจำปา(ทองเถื่อน “
นครศรีธรรมราช) “
132.กล้วยหอมจันทร์(หอมจัน,หอม “
จันทร์) “
133.กล้วยหอมทอง(หอม) “
134.กล้วยหอมทองกาบดำ “
135.กล้วยหอมทองกาบเขียว “
136.กล้วยหอมทองค่อม “
137.กล้วยหอมทองสัน
้ (หอมผลสัน
้ ,หอม “
อีสาน) “
138.กล้วยหอมทิพย์นครสวรรค์ “
139.กล้วยหอมทองไต้หวัน รสชาติเปรีย
้ ว
140.กล้วยหอม “
เปรีย
้ ว(เปรีย
้ ว,มะขาม,ใช้[กระเหรี่ยง]) “
141.กล้วยหอมมือนาง “
2

142.กล้วยหอมว้า “
143.กล้วยหอมหนองบัวลำพู “
144.กล้วยหักมุก “
145.กล้วยหักมุกเขียว

146.กล้วยหักมุกทอง

147.กล้วยหักมุกนวล

148.กล้วยหักมุกส้ม(ส้ม)

149.กล้วยหักมุกเหลือง(ส้ม)

150.กล้วยหัวแข็ง
รสชาติหวานอร่อย
151 กล้วยหัวหิน

กล้วยพันธุ์ต่างประเทศ

152.กล้วยกรู

153.กล้วยซาบ้า

154.กล้วยซูซู
รสหอมหวาน
155.กล้วยด่างฟอริด้า

156.กล้วยแดงเล็ก

157.กล้วยเทพนม

158.กล้วยปิ ซังปาปาน

159.กล้วยปิ ซังราชา

160.กล้วยปิ ซังอัมเปรียง

161.กล้วยมาฮอย(หอมเครือแฝด)

162.กล้วยราชาปูริ

163.กล้วยแลนดี ้
2

164.กล้วยแปซิฟิกแพนเทรน “
165.กล้วยหอมแกรนด์เนล “
166.กล้วยหอมโทม๊อก
167.กล้วยหอม FAIE-03
168.กล้วยหอมวิลเลี่ยม
169.กล้วยไอศครีม
170.กล้วยโอกินาวา
171.กล้วยฮัวเมา
172.กล้วยฮอนดูรัส

บทที่ 3
คุณประโยชน์ของกล้วย

ภาพที่ 3.1 กล้วย ที่มา


2

(https://mgronline.com/china/detail/9610000121693)

กล้วย (Banana) ที่นิยมรับประทานกันในบ้านเรานัน


้ มีอยู่หลากหลาย
สายพันธุ์ เช่น กล้วยหอม กล้วยน้ำว้า กล้วยไข่ กล้วยหักมุก เป็ นต้น แต่
สำหรับต่างชาติแล้วกล้วยที่นิยมมากที่สุดคงหนีไม่พ้นกล้วยหอม เนื่องจาก
กลิ่นหอมที่เป็ นเอกลักษณ์ ถ้าพูดถึงเรื่องประโยชน์แล้วมีงานวิจัยชิน
้ หนึ่งระบุ
ชัดเจนว่าการรับประทานกล้วยแค่ 2 ลูกจะช่วยเพิ่มพลังงานในร่างกายได้
เทียบเท่ากับการออกกำลังกายถึง 90 นาทีเลยทีเดียว ! เพราะกล้วยอุดมไป
ด้วยน้ำตาลจากธรรมชาติรวมถึง 3 ชนิดเลย นั่นก็คือ ซูโครส กลูโคส และฟ
รุกโทส ซึ่งช่วยเพิ่มพลังงานให้แก่ร่างกายนั่นเองนอกจากนีแ
้ ล้วในกล้วยยัง
อุดมไปด้วยเส้นใยและกากอาหาร และยังมีวิตามินและแร่ธาตุนานาชนิดที่มี
ประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น ธาตุเหล็ก ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุโพแทสเซียม ธาตุ
แมกนีเซียม คาร์โบไฮเดรต โปรตีน วิตามินเอ วิตามินบี 6 วิตามินบี 12 และ
วิตามินซี เป็ นต้น

ผลไม้อย่างแอปเปิ ลที่ขน
ึ ้ ชื่อเรื่องความมีประโยชน์ก็ยังแพ้กล้วย เพราะ
ว่าในกล้วยนัน
้ มีวิตามินและแร่ธาตุต่าง ๆ มากกว่าแอปเปิ ลถึง 2 เท่า โดยมี
คาร์โบไฮเดรตมากกว่า 2 เท่า มีฟอสฟอรัสมากกว่า 3 เท่า มีโปรตีนมากกว่า
4 เท่า วิตามินเอและธาตุเหล็กมากกว่า 5 เท่าด้วยกัน โดยการกินกล้วยจะ
ให้ผลดีที่สุดคือกินตอนเช้า เพราะจะช่วยให้ระบบต่าง ๆ ในร่างกายทำงาน
ได้ดี และการกินกล้วยทุกวัน วันละ 2 ผลถือเป็ นสิง่ ที่ดีและวิเศษมาก ๆ จะ
กล้วยหอม กล้วยไข่ กล้วยน้ำว้าก็ได้ทงั ้ นัน

2

ประโยชน์ของการกินกล้วย

 ช่วยลดกลิ่นปากได้ดีในระดับหนึ่ง แต่ทงั ้ นีค


้ วรรับประทานหลังตื่นนอน
ตอนเช้าทันทีแล้วค่อยแปรงฟั น และถ้าเป็ นกล้วยน้ำว้าจะยิ่งช่วยลด
กลิ่นปากได้ดีขน
ึ้
 กล้วยช่วยควบคุมอุณหภูมิในร่างกายให้เป็ นปกติ
 กล้วยอุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุต่าง ๆ ที่สำคัญและจำเป็ นต่อ
ร่างกาย เช่น ธาตุเหล็ก ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน วิตามินเอ วิตามินบี 6 วิตามินบี 12 และ
วิตามินซี
 ช่วยเพิ่มพลังให้แก่สมองของคุณ เพราะมีสารที่ช่วยทำให้มีเกิดสมาธิ
และมีการตื่นตัวตลอดเวลา
 กล้วยก็มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระเหมือนกันนะ ที่ช่วยในการชะลอ
ความแก่ตัวของร่างกายนั่นเอง
 กล้วยมีส่วนช่วยในการลดความอ้วนได้ เพราะช่วยปรับระดับน้ำตาลใน
เลือด ช่วยให้ลดอาการอยากกินของจุกจิกลงได้พอสมควร
 สำหรับผู้ที่มีอาการนอนไม่หลับ กล้วยคือคำตอบสำหรับคุณ
 อาการหงุดหงิดยามเช้า กล้วยก็ช่วยคุณได้เหมือนกัน
 ช่วยลดอาการหงุดหงิดของผูห
้ ญิงในช่วงประจำเดือนมา
2

 ช่วยลดอาการเมาค้างได้ดีระดับหนึ่ง เพราะจะช่วยชดเชยน้ำตาลที่
ร่างกายขาดไปในขณะดื่มแอลกอฮอล์
 เป็ นตัวช่วยสำหรับผู้ที่ต้องการเลิกสูบบุหรี่ เพราะในกล้วยมีวิตามินเอ
ซี บี 6 บี 12 โพรแทสเซียม และแมกนีเซียมที่ช่วยให้ร่างกายฟื้ นตัวได้
เร็วขึน
้ จากการเลิกนิโคติน
 ช่วยรักษาอาการท้องผูก เพราะกล้วยมีเส้นใยและกากอาหารซึ่งจะ
ช่วยให้ขับถ่ายได้อย่างปกติ
 ช่วยบรรเทาอาการของริดสีดวงทวารหรือในขณะขับถ่ายจะมีเลือด
ออกมา
 ช่วยลดอาการเสียดท้อง ลดกรดในกระเพาะ การกินกล้วยจะทำให้คุณ
รู้สึกผ่อนคลายจากอาการนีไ้ ด้
 ช่วยรักษาโรคโลหิตจางได้ เพราะในกล้วยมีธาตุเหล็กสูง ซึง่ จะช่วยใน
การผลิตฮีโมโกลบินในเลือด เพื่อรักษาภาวะโลหิตจางหรือผู้ที่อยู่ใน
สภาวะขาดกำลัง
 ช่วยรักษาโรคความดันโลหิตสูงหรือเส้นเลือดฝอยแตกได้
 ช่วยลดโอกาสเสี่ยงของการเกิดเส้นโลหิตแตกได้
 สำหรับผู้ที่เป็ นโรคกระเพาะหรือกระเพาะอักเสบ การรับประทาน
กล้วยบ่อย ๆ ถือเป็ นสิ่งที่ดีมาก เพราะกล้วยมีสภาพเป็ นกลาง มีความ
นิ่มและเส้นใยสูง
 ช่วยรักษาแผลในลำไส้เรื้อรัง เพราะกล้วยมีสภาพเป็ นกลาง ทำให้ไม่
เกิดการระคายเคืองในผนังลำไส้และกระเพาะอาหารด้วย
2

 ช่วยรักษาโรคซึมเศร้า ภาวะความเครียด เพราะกล้วยมีโปรตีนชนิด


หนึ่งที่เรียกว่า Tryptophan ซึง่ ช่วยในการผลิตสาร Serotonin หรือ
ฮอร์โมนแห่งความสุข จึงมีส่วนช่วยในการผ่อนคลายอารมณ์ได้ดียิ่งขึน

 ช่วยลดอัตราการเกิดตะคริวบริเวณมือ เท้า และน่องได้
 ช่วยบรรเทาอาการแพ้ท้องของมารดาลงได้
 กล้วยมีสรรพคุณช่วยบรรเทาอาการนิ่วในไตได้ในระดับหนึ่ง

ประโยชน์ของกล้วย

o กล้วยก็สามารถนำมาทำเป็ นมาส์กหน้าได้เหมือนกันนะ โดยจะช่วย


เพิ่มความชุ่มชื่นให้แก่ผิว ช่วยลดความหยาบกร้านของผิว วิธีง่าย ๆ
เพียงแค่ใช้กล้วยสุกหนึง่ ผลมาบดให้ละเอียด แล้วเติมน้ำผึง้ 2 ช้อนโต๊ะ
จากนัน
้ คลุกให้เข้ากัน แล้วนำมาพอกหน้าทิง้ ไว้ประมาณ 15 นาทีแล้ว
ล้างออก
o เปลือกกล้วยสามารถแก้ผ่ น
ื คันที่เกิดจากยุงกัดได้ ด้วยการลองใช้ด้าน
ในของเปลือกกล้วยทาบริเวณที่ถูกยุงกัด อาการคันจะลดลงไปได้ระดับ
หนึ่ง
o เปลือกด้านในของกล้วยช่วยในการรักษาโรคหูดบนผิวหนังได้ โดยใช้
เปลือกกล้วยวางบนลงบริเวณหูดแล้วใช้เทปกาวแปะไว้
2

o เปลือกกล้วยด้านในช่วยฆ่าเชื้อที่เกิดจากบาดแผลได้เหมือนกัน แต่
อย่างไรก็ตามเมื่อแปะที่บาดแผลแล้วก็ควรจะเปลี่ยนเปลือกใหม่ทุก ๆ
2 ชั่วโมงด้วย
o ยางกล้วยสามารถนำมาใช้ในการห้ามเลือดได้
o ก้านใบตอง ช่วยลดอาการบวมของฝี แต่ก่อนใช้ต้องตำให้แหลกเสีย
ก่อน
o ใบอ่อนของกล้วย หากนำไปอังไฟให้นิ่ม ก็ใช้ประคบแก้อาหารเคล็ด
ขัดยอกได้
o หัวปลีนำมารับประทานเพื่อช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด รวมทัง้ บำรุง
และขับน้ำนมสำหรับมารดาหลังคลอดบุตร
o ผลดิบนำมาบดให้ละเอียดทัง้ ลูกผสมกับน้ำสะอาด รับประทานเพื่อแก้
อาการท้องเสีย
o ใบตอง อีกส่วนที่นำมาใช้ประโยชน์กันอย่างมาก เช่น ทำกระทง ห่อ
ขนม ห่ออาหาร ทำบายศรี บวงสรวงต่าง ๆ

คุณค่าทางโภชนาการของกล้วย ต่อ 100 กรัม

 ประโยชน์ของกล้วยพลังงาน 89 กิโลแคลอรี
 คาร์โบไฮเดรต 22.84 กรัม
 น้ำตาล 12.23 กรัม
 เส้นใย 2.6 กรัม
 ไขมัน 0.33 กรัม
2

 โปรตีน 1.09 กรัม


 วิตามินบี 1 0.031 มิลลิกรัม 3%
 วิตามินบี 2 0.073 มิลลิกรัม 6%
 วิตามินบี 3 0.665 มิลลิกรัม 4%
 วิตามินบี 5 0.334 มิลลิกรัม 7%
 วิตามินบี 6 0.4 มิลลิกรัม 31%
 วิตามินบี 9 20 ไมโครกรัม 5%
 โคลีน 9.8 มิลลิกรัม 2%
 วิตามินซี 8.7 มิลลิกรัม 10%
 กล้วยธาตุเหล็ก 0.26 มิลลิกรัม 2%
 ธาตุแมกนีเซียม 27 มิลลิกรัม 8%
 ธาตุแมงกานีส 0.27 มิลลิกรัม 13%
 ธาตุฟอสฟอรัส 22 มิลลิกรัม 3%
 โพแทสเซียม 358 มิลลิกรัม 8%
 ธาตุโซเดียม 1 มิลลิกรัม 0%
 ธาตุสังกะสี 0.15 มิลลิกรัม 2%
 ธาตุฟลูออไรด์ 2.2 ไมโครกรัม
 % ร้อยละของปริมาณแนะนำที่ร่างกายต้องการในแต่ละวันสำหรับ
ผู้ใหญ่
2

ภาพที่ 3.2 กล้วย ที่มา

(https://www.sanook.com/health/27325/)

ข้อควรระวังในการกินกล้วย

กล้วย เป็ นผลไม้ที่ให้พลังงาน เพราะมีน้ำตาลที่ร่างกายสามารถดึงพลังงาน


ไปใช้ได้ในทันที เพราะกับการกินเพื่อให้พลังงานในการออกกำลังกาย ดังนัน

หากคิดจะกินกล้วยเพื่อการลดน้ำหนัก ควรควบคูไ่ ปด้วยกันกับการออก
กำลังกายด้วย หากกินมากไป อาจทำให้ร่างกายได้รับพลังงานมากเกินไป
และอาจอ้วนได้นอกจากนี ้ ควรหลีกเลี่ยงการกินกล้วยดิบ เพราะกล้วยดิบจะ
มีแป้ งมาก ย่อยยาก ทำให้ท้องอืด และท้องผูก เพราะเส้นใยอาหาร (เพคติน)
ในกล้วยที่อาจไปดูดซึมน้ำในลำไส้ เมื่อลำไส้ไม่มีน้ำไปหล่อเลีย
้ งกากอาหาร
อุจจาระจึงแข็งตัวจนเกิดอาการท้องผูกกล้วย ไม่ใช่อาหารเพื่อรักษาโรค ควร
กินอย่างพอเหมาะในปริมาณที่เหมาะสม และออกกำลังกายเป็ นประจำ ผู้
ป่ วยเบาหวานและโรคประจำตัวอื่นๆ ควรปรึกษาแพทย์ถึงปริมาณที่เหมาะ
สมในการกิน
2

แหล่งอ้างอิง

-
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9
%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2

-
https://www.baanlaesuan.com/110228/plant-scoop/type_of_ba
nana

-
https://medthai.com/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E
0%B8%A7%E0%B8%A2/

-
https://www.technologychaoban.com/bullet-news-today/article
_147785
2

https://sites.google.com/site/reuxngklwyklwy2/homehttps://
vegetweb.com/
%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A
2%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B5-
%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B8%8A%E0%B8%9A
%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%9
9%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%A1/

You might also like