You are on page 1of 2

ข้อ 2

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค covid - 19 ที่ผ่านมา ได้ส่งผลก


ระทบต่อสภาพเศรษฐกิจของประเทศในทุกด้าน ทัง้ ด้านการเกษตรกรรม
อุตสาหกรรม การท่องเที่ยวและการบริการ รวมถึงสภาพสังคมและความ
เป็ นอยู่ของประชาชน ซึง่ การพัฒนาภาคการเกษตรถือเป็ นเศรษฐกิจพื้น
ฐานที่สำคัญของประเทศ ถึงแม้ว่าในปั จจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรค covid - 19 ในประเทศมีทิศทางที่ดีขน
ึ ้ อย่างต่อเนื่องและเริ่ม
กลับเข้าสู่สภาวะปกติมากขึน
้ แต่ด้วยการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิ
อากาศที่มีแนวโน้มรุนแรงขึน
้ เรื่อยๆ ทำให้พ้น
ื ที่การเกษตรได้รับผลกระ
ทบจากอุทกภัย และภัยแล้ง เพื่อเป็ นการบรรเทาความเดือดร้อนของ
ประชาชนที่ได้รับผลกระทบทัง้ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
covid – 19 และการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ทำให้ภาพรวม
เศรษฐกิจในภาคการเกษตรของประเทศมีทิศทางที่ดีขน
ึ ้ ในอนาคต จึงขอ
เสนอนโยบายการเกษตรกรรมแบบยั่งยืน (sustainable agiculture)
ควบคู่กับด้านการจัดสรรน้ำ ซึง่ มีแนวทางในการบริหารจัดการดังนี ้

(เนื้อหาหลักใช้เป็ นการเกษตรแบบยั่งยืนที่แปลเป็ นภาษาอังกฤษมาแล้ว


แล้วขอเพิ่มเติมด้านการจัดสรรน้ำ ซึง่ ข้อมูลด้านการจัดสรรน้ำ เป็ นตาม
ด้านล่างค่ะ)

1. ด้านการจัดสรรน้ำ วางแผนการบริหารจัดการน้ำแบบยั่งยืน โดย


จัดสรรน้ำให้สอดคล้องกับปริมาณน้ำ เพื่อสนับสนุนการใช้น้ำทุกกิจกรรม
ในพื้นที่ต่างๆ อย่างทั่วถึงและเป็ นธรรม เห็นควรให้ จัดสรรน้ำตามระบบ
รอบเวรหรือกำหนดวิธีการเพาะปลูกที่ประหยัดให้เหมาะสมกับพื้นที่ เพื่อ
ให้มีน้ำเพียงพอ สำหรับการอุปโภค-บริโภค การรักษาระบบนิเวศ การ
อุตสาหกรรม และการเพาะปลูกพืชต้นฤดูฝนปี ถัดไป โดยวางแผนการ
จัดสรรน้ำเพื่อใช้ในกิจกรรมต่างๆ ตามลำดับความสำคัญ ดังนี ้

1.1 เพื่อการอุปโภค – บริโภค และการประปา


1.2 เพื่อการรักษาระบบนิเวศทางน้ำ เช่น การผลักดันน้ำเค็ม การ
ขับไล่น้ำเสีย
1.3 เพื่อสำรองน้ำไว้สำหรับการใช้น้ำในช่วงต้นฤดูฝน สำหรับ
อุปโภค-บริโภคและรักษา ระบบนิเวศ เดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม
2566
1.4 เพื่อการเกษตร
1.5 เพื่อการอุตสาหกรรม

2. ด้านการเกษตร
2.1 วางแผนการจัดสรรน้ำเพื่อการเพาะปลูกพืชให้สอดคล้องกับ
ปริมาณน้ำต้นทุนที่มีอยู่
2.2 กำกับติดตามสถานการณ์การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2565/66
ของเกษตรกร ให้เป็ นไปตามแผนควบคุมการเพาะปลูกพืชฤดูแล้งที่
กำหนดไว้

You might also like