You are on page 1of 8

แผนปฏิบัติการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี
(Suphanburi Municipality Climate Action Plan)

Towards a Sustainable Municipalities: ดร.เอกพันธุ์ อินทร์ใจเอื้อ นายก


GCoM Asia's Climate Action Plan Launch Event เทศมนตรีเมืองสุพรรณบุรี
September 15th, 2023 Dr. Ekaphan Injaiuea
Mayor of Suphanburi
วิสัยทัศน์ (Vision)

เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี
เป็ นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน
Suphanburi Municipality…
a sustainable city to live in
2
1 ภาคการเผาไหม้อยู่กับที่ (Stationary Energy Sector)

377,084 tCO eq คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 91.31 ของปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด


2

การปล่อยก๊าซเรือนกระจก 2 ภาคการขนส่ง (Transportation Sector)


ใน ปี พ.ศ. 2562 รายภาค
(GHG Emissions in 2019
24,783 tCO eq คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 6.00 ของปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด
2

by sector)
3 ภาคการจัดการของเสีย (Waste Management Sector)

11,251 tCO eq คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 2.72 ของปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด


2

ปริมาณก๊าซเรือนกระจกปี ฐาน 4 ภาคเกษตร ป่ าไม้ และการใช้ประโยชน์ที่ดิน (AFOLU


412,990 tCO2eq Sector)
-128 tCO2eq คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ -0.03 ของปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด

เป้ าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก (GHG Reduction Targets)


111,647 tCO2eq คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 22 ของปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่คาดไว้ ณ ปี 2573
แผนงานด้านการปฏิบัติต่อสภาพภูมิอากาศ
(Climate Action Plan)

แผนปฏิบัติการปรับตัวต่อการ
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจก
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
(Mitigation Actions)
(Adaptation Actions)
เป้ าหมายที่ 1 : ภายในปี พ.ศ. 2570 จำนวนครัวเรือนที่ได้รับ
เป้ าหมายที่ 1: ลดการใช้พลังงานในทุกภาคส่วนของเมือง ความเดือดร้อนจากน้ำท่วมจะต้องลดลงอย่างน้อยร้อยละ 50
เทียบจากปี พ.ศ.2565
เป้ าหมายที่ 2: การจัดหาแหล่งพลังงานทางเลือกในพื้นที่

เป้ าหมายที่ 3: การส่งเสริมระบบขนส่งคาร์บอนต่ำ เป้ าหมายที่ 2 : ภายในปี พ.ศ. 2570 จะไม่มีประชาชนกลุ่มเปราะบาง


ในพื้นที่เจ็บป่ วยและเสียชีวิตจากโรคลมแดด หรือ Heat Stroke
เป้ าหมายที่ 4: การส่งเสริมระบบบริหารจัดการขยะต้นทาง

เป้ าหมายที่ 5: การเพิ่มแหล่งกักเก็บคาร์บอนในเมือง


ภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงภาพภูมิอากาศของเทศบาลเมืองสุพรรณบุรี

ระดับการเกิดภัยพิบัติ ระดับการเกิดภัยพิบัติ
ในปัจจุบัน ในอนาคต ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อ
ภัยพิบัติ
ความเป็ น ผลกระทบ ความ ความถี่ ระยะเวลา ภาคส่วนที่ได้รับผลกระทบ กลุ่มเปราะบางที่ได้รับ ขีดความสามารถใน
สำคัญของเมือง
ไปได้ใน ในปัจจุบัน รุนแรง ที่คาดว่า ที่คาดว่าจะเกิด มากที่สุด ผลกระทบมากที่สุด การรับมือภัยพิบัตินี้
สุพรรณบุรี
การเกิดภัย ใน จะเกิด ของเมืองมากที่สุด
อนาคต
ข้อจำกัดด้านงบ
น้ำท่วมจาก สั้น ผู้ที่อาศัยในสภาพ
ปานกลาง อาคาร บ้านเรือน ประมาณท้องถิ่นใน
น้ำเอ่อล้นตลิ่ง สูง เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น ภายใน แวดล้อมที่ไม่ได้
ถึงสูง สิ่งปลูกสร้าง การป้ องกัน
River Flooding 2 - 3 ปี /ครั้ง มาตรฐาน
น้ำท่วม
ปัจจัยเชิงกายภาพที่ตั้ง
สภาพอากาศ สั้น สุขภาพอนามัยและ อยู่ริมแม่น้ำและสภาพ
ผู้สูงอายุและ
ร้อนจัด สูง ไม่ทราบ เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น ภายใน ภาคพลังงาน แวดล้อมที่มีการ
ผู้ป่ วย
Extremely Heat 30 ปี พัฒนาเมืองและการ
ลดลงของพื้นที่สีเขียว
การป้ องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยในเขตเทศบาลเมืองสุพรรณบุรี
มาตรการลดก๊าซเรือนกระจก

1. การเปลี่ยนชุดไฟทางสาธารณะเป็ นหลอด LED


2. การลดการใช้พลังงานในภาครัฐและภาคธุรกิจการค้า
3. การลดการใช้พลังงานในภาคที่อยู่อาศัย
4. การผลิตพลังงานไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ในอาคาร ปฏิบัติการด้านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง
ภาครัฐและอาคารธุรกิจการค้า สภาพภูมิอากาศ

แผนการ
5. การผลิตพลังงานไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ในอาคาร
1. ปรับปรุงและพัฒนาระบบการป้ องกัน
ที่อยู่อาศัย
และแก้ไขปัญหาอุทกภัยในเขตเทศบาล
6. การส่งเสริมการใช้รถยนต์ไฟฟ้ า ดำเนิน เมืองสุพรรณบุรี
7. กิจกรรมการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยเพื่อผลิตเชื้อเพลิง
RDF งาน 2. สถานศึกษาคาร์บอนต่ำและรู้สู้ภัยพิบัติ

8. การรณรงค์การคัดแยกขยะโดยหลัก 3 R เพื่อส่งเสริม 3. ลดเมืองร้อน ด้วยการอนุรักษ์และเพิ่ม


ศูนย์รีไซเคิล ต้นไม้ยืนต้นในเขตเทศบาลเมืองสุพรรณบุรี
9. การรณรงค์การคัดแยกขยะอินทรีย์ เพื่อส่งศูนย์กำจัดขยะ
4. พัฒนาแบบแปลนบ้านบ้านสี
10. การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตเทศบาล เขียว...รับมือภัยโลกร้อนเพื่อประชาชน
โครงการการส่งเสริมการใช้รถยนต์ไฟฟ้ า รถขยะพลังงานไฟฟ้ า
ภายใต้ Climate Action Plan : CAP Electric Garbage Truck
มาตรการการลดก๊าซเรือนกระจก
เป้ าหมายที่ 3: การส่งเสริมระบบขนส่งคาร์บอนต่ำ
โครงการหลัก 2: การส่งเสริมการใช้รถยนต์ไฟฟ้ า
2.1 การรณรงค์เพิ่มพื้นที่จอดรถ พลังงานไฟฟ้ าในสำนักงานเทศบาล
อาคารภาคเอกชน อาคารควบคุมมีที่จอดรถยนต์ไฟฟ้ า
2.2 รถยนต์ส่วนกลางเป็นแบบ EV ทั้งหมด
ตัวอย่างรถขยะ EV
 ลักษณะการให้เช่ารถขยะ EV รายเดือนในอัตราเดือนละ
100,000 บาท ระยะเวลาการเช่า 5 ปี
 ธุรกิจแฟรนไชส์รถขยะไฟฟ้ า EV ลงทุน 5 ล้านบาท
ที่มา : บริษัท คลังน้ำมัน ออสซี่ออยล์ จำกัด ผู้เชี่ยวชาญทางด้านธุรกิจ
พลังงานเพื่อการเกษตร

Start Table of contents Back Next

You might also like