You are on page 1of 42

แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ

ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

โดย
สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน
กระทรวงพลังงาน

ตุลาคม 2562
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

สารบัญ

หน้า
สารบัญตาราง ข
สารบัญภาพ ค
บทที่ 1 บทนา 1
บทที่ 2 สถานการณ์การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยในภาคส่วนพลังงาน 2
บทที่ 3 แผนที่นาทางการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 – 2573 4
และแผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจก
บทที่ 4 นโยบายและแผนพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการลดก๊าซเรือนกระจก 9
บทที่ 5 แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน 13
บทที่ 6 แนวทางการขับเคลื่อนและติดตามประเมินผล 32
อักษรย่อหน่วยงาน 35
เอกสารอ้างอิง 37


แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

สารบัญตาราง

ตารางที่ เรื่อง หน้าที่


1 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากก๊าซเรือนกระจกชนิดต่างๆ 3
แบ่งตามกิจกรรมการใช้พลังงานของภาคส่วนพลังงานในปี พ.ศ. 2556
2 แผนที่นาทางการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 – 2573 5
3 ค่าเป้าหมายตามแผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2558-2579 10
4 ค่าเป้าหมายตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนในปี พ.ศ. 2579 11
5 ประมาณการสัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงของแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของ 12
ประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2580
6 แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน (ยุทธศาสตร์ที่ 1) 16
7 แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน (ยุทธศาสตร์ที่ 2) 21
8 แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน (ยุทธศาสตร์ที่ 3) 22
9 สรุปค่าเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกตามแผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจก 23
ของประเทศ สาขาพลังงาน
10 ค่าเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกตามแผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจก 23
ของประเทศ สาขาพลังงาน มาตรการลดก๊าซเรือนกระจก
11 แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน 26
มาตรการสนับสนุนการลดก๊าซเรือนกระจก


แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

สารบัญภาพ

ภาพที่ เรื่อง หน้าที่


1 ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคส่วนพลังงานเมื่อเทียบกับ 2
ปริมาณทั้งหมดของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2556
2 การคาดการณ์ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย กรณี BAU 3


แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

บทที่ 1
บทนำ

ประเทศไทยได้ยื่นข้อเสนอการมีส่วนร่วมของประเทศในการลดก๊าซเรือนกระจก และการดาเนินงาน
ด้านการเปลี่ ย นแปลงสภาพภูมิ อากาศภายหลั งปี ค.ศ. 2020 (พ.ศ. 2563) หรือ Intended Nationally
Determined Contribution: INDC ต่อส านักเลขาธิการอนุสั ญญาสหประชาชาติว่าด้ว ยการเปลี่ ยนแปลง
สภาพภู มิ อ ากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) เมื่ อ วั น ที่
1 ตุ ลาคม พ.ศ. 2558 โดยก าหนดเป้ าหมายการลดก๊าซเรื อนกระจกครอบคลุ มทุกสาขาเศรษฐกิจที่ ร้อยละ
20-25 จากกรณี ป กติ ในปี ค.ศ. 2030 (พ.ศ. 2573) ต่ อ มาการประชุ ม สมั ช ชาประเทศภาคี อ นุ สั ญ ญา
สหประชาชาติว่ าด้ ว ยการเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิอ ากาศ (Conference of the Parties: COP) ครั้ง ที่ 21
เมื่อปี พ.ศ. 2558 ที่ประชุม COP 21 มีมติรับรองข้อตกลงปารีส (Paris Agreement) โดยเรียกร้องให้ประเทศ
ภาคีสมาชิกลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ได้ตามเป้าหมาย INDC ที่กาหนด ทั้งนี้ข้อตกลงปารีสได้มีผลบังคับใช้
เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 โดยการมีส่วนร่วมของประเทศในการลดก๊าซเรือนกระจก และการดาเนินงาน
ด้านการเปลี่ ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภายหลังปี ค.ศ. 2020 เปลี่ ยนเป็นใช้คาว่า Nationally Determined
Contribution: NDC แทน Intended Nationally Determined Contribution: INDC
การประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2559 มีมติมอบหมายให้ สานักงานนโยบาย
และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ร่วมกับหน่วยงานต่ างๆ ดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
การลดก๊าซเรือนกระจกที่ตั้งไว้ตาม NDC โดย สผ. ได้จัดทาแผนที่นาทางการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ
ปี พ.ศ. 2564 – 2573 (Thailand’s Nationally Determined Contribution Roadmap on Mitigation
2021-2030: NDC Roadmap) เพื่อเป็นกรอบในการดาเนิน การลดก๊าซเรือนกระจกให้บรรลุเป้าหมายที่
กาหนด และคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบต่อ NDC Roadmap ดังกล่าว เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
โดยศักยภาพการลดก๊าซเรือนกระจกในส่วนของภาคพลังงานและขนส่ง ณ ปี พ.ศ. 2573 เท่ากับ 113.0 ล้านตัน
คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (Mt-CO2eq)
การประชุ ม คณะกรรมการนโยบายการเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศแห่ ง ชาติ ครั้ ง ที่ 2/2560
เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 มีมติมอบหมายให้ สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวง
พลังงาน เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักจัดทาแผนปฏิบัติการลดก๊าซเรื อนกระจกในรายสาขาพลังงาน เพื่อให้
บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ตาม NDC Roadmap ให้แล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2561 และนาเสนอต่อคณะกรรมการ
นโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติให้ความเห็นชอบ ก่อนนาเสนอต่อคณะรัฐมนตรีให้ความ
เห็นชอบในการนาแผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกดังกล่าวใช้เป็นกรอบในการดาเนินงานของหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องต่อไป

1
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

บทที่ 2
สถำนกำรณ์กำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกของประเทศไทยในภำคส่วนพลังงำน

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้จัดทารายงานความก้าวหน้าราย
สองปี ฉบับที่ 2 (Second Biennial Update Report of Thailand: SBUR) โดยแสดงแนวโน้มการปล่อย
ก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 – 2556 (ค.ศ. 2000 – 2013) ซึ่งมีอัตราการปล่อย
ก๊ า ซเรื อ นกระจกเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะภาคส่ ว นพลั ง งานจั ด เป็ น ภาคส่ ว นที่ มี ก ารปล่ อ ย
ก๊าซเรือนกระจกสูงสุดมาโดยตลอดดังแสดงในภาพที่ 1 ซึ่งมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพิ่มขึ้นร้อยละ 47
ในปี พ.ศ. 2556 เมื่อเทีย บจากปี พ.ศ. 2543 และพบว่า ภาคส่ว นพลังงานมีก ารปล่อยก๊าซเรือ นกระจก
236,936.48 กิกะกรัมคาร์บ อนไดออกไซด์เทียบเท่า (GgCO2eq) หรือคิดเป็นร้อยละ 74.35 ของปริมาณ
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2556

ภาพที่ 1: ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคส่วนพลังงานเมื่อเทียบกับปริมาณทั้งหมดของประเทศไทย
ในปี พ.ศ. 2556

จากข้อมูล การปล่ อยก๊าซเรื อนกระจกของภาคส่ ว นพลั งงานในปี พ.ศ. 2556 พบว่า เมื่อแบ่งตาม
กิจกรรมการใช้พลังงาน การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงสุด 3 อันดับแรกมาจากการผลิตไฟฟ้าและความร้อน
(ร้อยละ 41.59) การใช้พลังงานในภาคขนส่ง (ร้อยละ 25.82) และกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมและ
การก่อสร้าง (ร้อยละ 19.64) ดังแสดงในตารางที่ 1

2
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

ตารางที่ 1: การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากก๊าซเรือนกระจกชนิดต่างๆ แบ่งตามกิจกรรมการใช้พลังงานของ


ภาคส่วนพลังงานในปี พ.ศ. 2556
แหล่งกาเนิด CO2 CH4 N2O NOx CO NMVOCs SO2 รวม
ก๊าซเรือนกระจก GgCO2eq Gg GgCO2eq Gg GgCO2eq Gg Gg Gg Gg GgCO2eq
การเผาไหม้เชื้อเพลิง
การผลิตไฟฟ้าและความร้อน 98,044.48 5.83 122.43 1.20 370.86 288.55 164.16 14.05 56.94 98,537.77
กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม 45,690.41 13.48 283.05 1.82 563.92 167.06 1,317.57 23.28 433.41 46,537.39
และการก่อสร้าง
การใช้พลังงานในภาคขนส่ง 60,684.23 16.74 351.50 0.45 139.69 611.01 2,304.76 423.98 6.81 61,175.42
สาขาอื่นๆ 18,890.15 67.59 1,419.46 0.81 252.29 222.85 1,744.99 122.14 56.08 20,561.91
รวม 223,309.28 103.64 2,176.44 4.28 1,326.77 1,289.47 5,531.48 583.44 553.24 226,812.49
การรั่วไหลจากเชื้อเพลิง
เชื้อเพลิงแข็ง NO 482.09 10,123.99 NO NO NO NO NO NO 10,123.99
น้ามันและก๊าซธรรมชาติ NO 31.82 668.22 NO NO NO NO NO NO 668.22
รวม NO 450.27 9,455.77 NO NO NO NO NO NO 9,455.77
รวมทั้งหมด 223,309.28 585.73 12,300.43 4.28 1,326.77 1,289.47 5,531.48 583.44 553.24 236,936.48
หมายเหตุ: NO = Not Occurring (ไม่มีการคานวณ)

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้คาดการณ์ปริมาณการปล่อย
ก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยปี พ.ศ. 2558 - 2573 ในกรณีที่ไม่มีการดาเนินการมาตรการลดก๊าซเรือนกระจกใดๆ
ดังแสดงในภาพที่ 2 เพื่อใช้ในการอ้างอิงการวิเคราะห์ การลดปริมาณการปล่ อยก๊าซเรือนกระจกจากการ
ดาเนินงานตามมาตรการต่างๆ โดยอาศัยข้อมูลการคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจและสังคมของสานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ใช้ชื่อว่า ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ในสภาวะปกติ หรือกรณีปกติ (Business As Usual: BAU)

ภาพที่ 2: การคาดการณ์ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย กรณี BAU


3
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

บทที่ 3
แผนที่นำทำงกำรลดก๊ำซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 – 2573
และแผนปฏิบัติกำรลดก๊ำซเรือนกระจก

แผนที่นำทำงกำรลดก๊ำซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 – 2573 (NDC Roadmap)

ประเทศไทยได้ยื่นข้อเสนอการมีส่วนร่วมของประเทศในการลดก๊าซเรือนกระจก และการดาเนินงาน
ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภายหลังปี ค.ศ. 2020 (พ.ศ. 2563) หรือที่เรียกว่า Intended Nationally
Determined Contribution: INDC ต่อ ส านักเลขาธิก ารอนุสั ญญาสหประชาชาติว่า ด้ว ยการเปลี่ ย นแปลง
สภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) เมื่อวันที่
1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 โดยกาหนดเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกครอบคลุมทุกสาขาเศรษฐกิจที่ร้อยละ 20 – 25
จากกรณีปกติ ในปี ค.ศ. 2030 (พ.ศ. 2573)
การประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
(Conference of the Parties: COP) ครั้งที่ 21 เมื่อปี พ.ศ. 2558 ที่ประชุม COP 21 มีมติรับรองข้อตกลง
ปารี ส (Paris Agreement) โดยเรี ย กร้ อ งให้ ป ระเทศภาคี ส มาชิ ก ลดการปล่ อ ยก๊ า ซเรือ นกระจกให้ ไ ด้ต าม
เป้าหมาย INDC ที่กาหนด ทั้งนี้ข้อตกลงปารีสได้มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ซึ่งภายหลัง
จากข้อตกลงปารีสได้มีผลบังคับใช้ การมีส่วนร่วมของประเทศในการลดก๊าซเรือนกระจก และการดาเนินงาน
ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศภายหลังปี ค.ศ. 2020 เปลี่ยนเป็นใช้คาว่า Nationally Determined
Contribution: NDC แทน Intended Nationally Determined Contribution: INDC
การประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2559 มีมติมอบหมายให้ สานักงานนโยบาย
และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับ
หน่วยงานต่างๆ ดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกที่ตั้งไว้ตาม NDC โดย สผ. ได้จัด
ประชุมคณะทางานจัดทาแผนการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศเพื่อกาหนดศักยภาพและมาตรการในการลด
ก๊าซเรือนกระจกของแต่ละสาขา โดยนาผลที่ได้จากการหารือร่วมกับหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการลดก๊าซเรือนกระจก
และผลจากการประชุม คณะทางานจัดทาแผนการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศมายก (ร่าง) แผนที่นาทาง
การลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศภายหลังปี พ.ศ. 2563 ในสาขาพลังงานและขนส่ง สาขาการจัดการของเสีย
และสาขากระบวนการทางอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์
เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2560 สผ. ร่วมกับ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)
(อบก.) โครงการพั ฒ นาแห่ ง สหประชาติ (United Nations Development Programme: UNDP) และ
สถาบัน เพื่อการพัฒนาที่เป็ น มิตรกับ สิ่ งแวดล้ อม (Global Green Growth Institute: GGGI) ได้จัดประชุม
ระดับประเทศเพื่อเผยแพร่และรับฟังความคิดเห็นต่อ (ร่าง) แผนที่นาทางการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ
ภายหลังปี พ.ศ. 2563 ต่อมาเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2560 คณะอนุกรรมการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ด้านการบูรณาการนโยบายและแผน มีมติให้ปรับชื่อร่างแผนเป็น “(ร่าง) แผนที่นาทางการลดก๊าซเรือนกระจก
ของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 – 2573 (Thailand’s Nationally Determined Contribution Roadmap on
Mitigation 2021-2030)” เพื่อให้เกิดความชัดเจนในเรื่องระยะเวลา โดยได้นาเสนอคณะกรรมการนโยบาย
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติและมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560
4
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดย สผ. ได้เสนอ (ร่าง) แผนที่นาทางการลดก๊าซ


เรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 – 2573 (Thailand’s Nationally Determined Contribution
Roadmap on Mitigation 2021-2030) เพื่อให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบ เมื่อวันที่ 27 เมษายน
2560 โดยคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 และเห็นชอบให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ดาเนิน การจั ดทาแผนปฏิบั ติการลดก๊าซเรื อนกระจกของหน่ว ยงานเพื่อบรรลุ เป้าหมายตามที่กาหนดไว้ใน
(ร่าง) แผนที่นาทางทางการลดก๊าซเรือนกระจกฯ
ศักยภาพในการลดก๊าซเรือนกระจกตามแผนที่นาทางการลดก๊าซเรือนกระจกฯ รวมทั้งสิ้น 115.6 ล้านตัน
คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (Mt-CO2eq) ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกที่ 111 Mt-CO2eq หรือ
ร้อยละ 20 จากกรณีปกติ โดยมาตรการตามแผนงานที่จะส่งผลต่อการลดก๊าซเรือนกระจกประกอบด้วย 15
มาตรการ คือ มาตรการในสาขาพลังงานและขนส่ง 9 มาตรการ มาตรการในสาขาการจัดการของเสีย 4 มาตรการ
และมาตรการในสาขากระบวนการทางอุต สาหกรรมและการใช้ ผ ลิ ตภั ณฑ์ 2 มาตรการ โดยมี ห น่ว ยงาน
รับผิดชอบหลัก หน่วยงานสนับสนุน และกลุ่มเป้าหมายในการดาเนินมาตรการ รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2: แผนที่นาทางการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 – 2573
ลำดับ สำขำ ศักยภำพ หน่วยงำน หน่วยงำน กลุ่มเป้ำหมำย แผน/กำรดำเนินงำน
(Mt-CO2eq) รับผิดชอบ สนับสนุน ของหน่วยงำน
หลัก ที่เกี่ยวข้อง
ศักยภำพรวม ณ ปี พ.ศ. 2573 เท่ำกับ 115.6 ล้ำนตันคำร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่ำ
สำขำพลังงำนและขนส่ง ศักยภำพรวม ณ ปี พ.ศ. 2573 เท่ำกับ 113.0 Mt-CO2eq
กำรผลิตไฟฟ้ำ 24
1 มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพ 6 กฟผ. สนพ. สกพ. ผู้ผลิตไฟฟ้า - PDP2015
การผลิตพลังงานไฟฟ้า สผ. อบก.
2 มาตรการผลิตไฟฟ้าจาก 18 พพ. กฟผ. สนพ. สกพ. ผู้ผลิตไฟฟ้า - AEDP2015
พลังงานทดแทน กฟภ. สศก. อปท. - PDP2015
กฟน. คพ. สผ.
อบก.
กำรใช้พลังงำนในครัวเรือน 4
3 มาตรการเพิ่ม 4 พพ. กฟผ. สมอ. สส. ครัวเรือน - EEP2015
ประสิทธิภาพการใช้ สผ. อบก.
พลังงานในครัวเรือน
4 มาตรการใช้พลังงาน พพ. กฟผ. สมอ. สส. ครัวเรือน - AEDP2015
ทดแทนในครัวเรือน สผ. อบก.
กำรใช้พลังงำนในอำคำร 1
เชิงพำณิชย์ (รวมอำคำรรัฐ)
5 มาตรการเพิ่ม 1 พพ. สมอ. สส. สถาน - EEP2015
ประสิทธิภาพ สผ. อบก. ประกอบการ
การใช้พลังงานในอาคาร /อาคารรัฐ

5
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

ลำดับ สำขำ ศักยภำพ หน่วยงำน หน่วยงำน กลุ่มเป้ำหมำย แผน/กำรดำเนินงำน


(Mt-CO2eq) รับผิดชอบ สนับสนุน ของหน่วยงำน
หลัก ที่เกี่ยวข้อง
กำรใช้พลังงำนในอุตสำหกรรม 43
6 มาตรการเพิ่ม 11 พพ. กรอ. กนอ. ผู้ประกอบการ - EEP2015
ประสิทธิภาพ สผ. อบก. เอกชน - โครงการ RAC
การใช้พลังงาน NAMA
ในอุตสาหกรรม
7 มาตรการใช้พลังงาน 32 พพ. กรอ. สศก. ผู้ประกอบการ - AEDP2015
ทดแทนในอุตสาหกรรม สผ. อบก. เอกชน
กำรคมนำคมขนส่ง 41
8 มาตรการเพิ่ม 31 สนพ. สผ. อบก. ผู้ผลิต/ - EEP2015
ประสิทธิภาพ สมอ. กทม. ผู้เดินทาง/ - แผนแม่บทในการ
การใช้พลังงานในการ สนข. รฟท. หน่วยงานใน ระบบขนส่ง พัฒนาระบบการ
คมนาคมขนส่ง สังกัด คค. ทางบก น้า ขนส่งที่ยั่งยืนฯ
และอากาศ /
ประชาชน
9 มาตรการใช้เชื้อเพลิง 10 พพ. สนข. สผ. ผู้ผลิต/ผู้ใช้ - AEDP2015
ชีวภาพสาหรับ อบก. รถยนต์
ยานพาหนะ
สำขำกำรจัดกำรของเสีย ศักยภำพรวม ณ ปีพ.ศ. 2573 เท่ำกับ 2.0 Mt-CO2eq
กำรจัดกำรขยะ 1.3
10 มาตรการลดปริมาณขยะ 1.3 อปท. สถ. คพ. สส. สผ. บ้านเรือน/ - แผนแม่บทการ
(เช่น การลดอัตรา กทม. อบก. ชุมชน บริหารจัดการขยะ
การเกิดขยะ การเพิ่มการ มูลฝอยของประเทศ
รีไซเคิลและการนาขยะ - แผนจัดการ
มาใช้ประโยชน์ เป็นต้น) คุณภาพสิ่งแวดล้อม
- แผนจัดการมลพิษ
กำรจัดกำรนำเสีย 0.7
11 มาตรการเพิ่มการผลิต 0.7 กนอ. กรอ. คพ. สผ. อุตสาหกรรม - AEDP2015
ก๊าซชีวภาพจากน้าเสีย พพ. อบก. - PDP2015
อุตสาหกรรมด้วยการนา
ก๊าซมีเทนกลับมาใช้
ประโยชน์
12 มาตรการจัดการน้าเสีย กรอ. สผ. อบก. อุตสาหกรรม - การดาเนินงาน
อุตสาหกรรมอื่นๆ ตามการส่งเสริม
เทคโนโลยีสะอาด
ของ กรอ.
6
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

ลำดับ สำขำ ศักยภำพ หน่วยงำน หน่วยงำน กลุ่มเป้ำหมำย แผน/กำรดำเนินงำน


(Mt-CO2eq) รับผิดชอบ สนับสนุน ของหน่วยงำน
หลัก ที่เกี่ยวข้อง
13 มาตรการจัดการน้าเสีย อจน. คพ. สถ. สผ. บ้านเรือน/ - แผนวิสาหกิจ
ชุมชน กทม. อบก. ชุมชน องค์การจัดการ
อปท. น้าเสีย พ.ศ.
2559 – 2564
- แผนแม่บท กทม.
ว่าด้วยการ
เปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ
พ.ศ. 2556 –
2566
- แผนจัดการมลพิษ
สำขำกระบวนกำรทำง ศักยภำพรวม ณ ปี พ.ศ. 2573 เท่ำกับ 0.6 Mt-CO2eq
อุตสำหกรรมและกำรใช้ผลิตภัณฑ์
กำรปรับเปลี่ยนกระบวนกำร 0.6
ผลิตทำงอุตสำหกรรม
14 มาตรการทดแทนปูนเม็ด 0.3 กรอ. สมอ. สผ. อุตสาหกรรม
อบก. สภา ซีเมนต์ และ
อุตสาหกรรม วัสดุก่อสร้าง
15 มาตรการทดแทน/ 0.3 กรอ. สผ. อบก. ผู้ผลิต/ - พิธีสารมอลทรีออล
ปรับเปลี่ยนสารทา พพ. ผู้ใช้สาร - โครงการ RAC
ความเย็น ทาความเย็น NAMA

7
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

แผนปฏิบัติกำรลดก๊ำซเรือนกระจก
เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 คณะกรรมการนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
แห่งชาติ มีมติมอบหมายหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการจัดทาแผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกเพื่อบรรลุ
เป้าหมายตามที่กาหนดไว้ในแผนที่นาทางการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 – 2573 ดังนี้
1. สาขาพลังงาน มอบหมายสานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน
2. สาขาขนส่ง มอบหมายสานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กระทรวงคมนาคม
3. สาขากระบวนการทางอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์ รวมถึงน้าเสียอุตสาหกรรม มอบหมาย
กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
4. สาขาการจัดการของเสียชุมชน มอบหมายกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
โดยให้ ห น่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบหลั ก ร่ ว มกั บ ภาคส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งจั ด ท าแผนปฏิ บั ติ ก ารลดก๊ า ซ
เรื อ นกระจกให้ แล้ ว เสร็ จ ภายในปี พ.ศ. 2561 และนาเสนอต่อ คณะกรรมการนโยบายการเปลี่ ย นแปลง
สภาพภูมิอากาศแห่งชาติ ก่อนนาเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ความเห็นชอบ
ในส่วนของสาขาพลังงาน สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ร่วมกับ สผ. และ อบก.
ได้จัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการการจัดทาแผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกภาคพลังงานและขนส่งขึ้น ระหว่าง
วันที่ 19 – 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 เพื่อระดมความคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อการจัดทาแผนปฏิบัติการ
ลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน โดยมีผู้เข้าร่วมจากหน่วยงานในสังกัดกระทรวงพลังงาน ได้แก่
สนพ. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) และ
หน่ว ยงานที่เกี่ย วข้อง ได้แก่ สผ. อบก. สานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลัง งาน (สกพ.) สานักงาน
นโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (มช.)
และผู้ผลิตไฟฟ้าภาคเอกชน ซึ่ง สนพ. ได้สรุปผลจากการสัมมนาฯ ดังกล่าวจัดทาเป็น “(ร่าง) กรอบแผนปฏิบัติ
การลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน”
เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2560 คณะทางานประสานงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของ
กระทรวงพลังงาน ในการประชุมคณะทางานฯ ครั้งที่ 2/2560 (ครั้งที่ 2) มีมติเห็นชอบ (ร่าง) กรอบแผนปฏิบัติ
การลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน ภายหลังจากนั้น สนพ. ได้ประสานหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง
เพื่อจัดทารายละเอียดของ (ร่าง) แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน โดยประสาน
ขอข้อมูลแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน ทั้งใน
ส่ ว นที่ ด าเนิ น การอยู่ ใ นปั จ จุ บั น และที่ ป รากฎอยู่ ใ นแผนอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน พ.ศ. 2558 – 2579 (Energy
Efficiency Plan: EEP2015) และแผนพัฒนาพลั งงานทดแทนและพลั งงานทางเลือก พ.ศ. 2558 – 2579
(Alternative Energy Development Plan: AEDP2015) รวมทั้งได้ประชุมกลุ่มย่อยกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
และทบทวนศั ก ยภาพการลดก๊ า ซเรื อ นกระจกตามแผนที่ น าทางการลดก๊ า ซเรื อ นกระจกของประเทศ
ปี พ.ศ. 2564 – 2573 (NDC Roadmap) โดย สนพ. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันจัดทา “(ร่าง)
แผนปฏิ บั ติ ก ารลดก๊ า ซเรื อ นกระจกของประเทศ สาขาพลั ง งาน” ซึ่ ง คณะท างานประสานงานด้ า นการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของกระทรวงพลังงาน ในการประชุมคณะทางานฯ ครั้งที่ 1/2561 (ครั้งที่ 3) เมื่อ
วันที่ 7 สิงหาคม 2561 มีมติเห็นชอบ (ร่าง) แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน
และได้จัดสัมมนารับฟังความคิดเห็นร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแล้วเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2561
8
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

บทที่ 4
นโยบำยและแผนพลังงำนที่เกี่ยวข้องกับกำรลดก๊ำซเรือนกระจก

กระทรวงพลัง งานได้ว างกรอบแผนบูร ณาการพลัง งานแห่ง ชาติที่ใ ห้ค วามส าคัญ ใน 3 ด้า น
ประกอบด้วย (1) ด้านความมั่นคงทางพลังงาน (Security) ในการตอบสนองต่อปริมาณความต้องการพลังงาน
ที่สอดคล้องกับอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ อัตราการเพิ่มของประชากร และอัตราการขยายตัวของเขตเมือง
รวมถึงการกระจายสัดส่วนของเชื้อเพลิงให้มีความเหมาะสม (2) ด้านเศรษฐกิจ (Economy) ที่ต้องคานึงถึง
ต้น ทุนพลั งงานที่มีความเหมาะสมและไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒ นาทางเศรษฐกิจและสั งคมของประเทศ
ในระยะยาว การปฏิรูปโครงสร้างราคาเชื้อเพลิงประเภทต่างๆ ให้สอดคล้องกับต้นทุน และให้มีภาระภาษี
ที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานของประเทศไม่ให้เกิดการใช้พลังงานอย่ างฟุ่มเฟือยรวมถึง
ส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ (3) ด้านสิ่งแวดล้อม (Ecology) เพิ่มสัดส่วนการผลิตพลังงาน
ทดแทนภายในประเทศ และการผลิ ต พลั ง งานด้ ว ยเทคโนโลยี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง เพื่ อ ลดผลกระทบ
ต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน
ในแผนบูรณาการพลังงานแห่งชาติ กระทรวงพลังงานได้ทบทวนการจัดทาแผนพลังงาน 5 แผนหลัก
ในช่วงปี พ.ศ. 2558 – 2579 ที่สอดคล้องกับรอบของการจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้แก่
(1) แผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (2) แผนอนุรักษ์พลังงาน (3) แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและ
พลั ง งานทางเลื อ ก (4) แผนบริ ห ารจั ด การก๊ า ซธรรมชาติ และ (5) แผนบริ ห ารจั ด การน้ ามั น เชื้ อ เพลิ ง
โดยแผนหลักที่เกี่ยวข้องกับการลดก๊าซเรือนกระจกมีดังนี้
(1) แผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2558 – 2579
(2) แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558 – 2579
(3) แผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2558 – 2579

แผนอนุรักษ์พลังงำน พ.ศ. 2558 – 2579

แผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2558 – 2579 (Energy Efficiency Plan: EEP2015) มีเป้าหมายลด


ความเข้มการใช้พลังงาน (Energy Intensity: EI) ลงร้อยละ 30 ในปี พ.ศ. 2579 (ค.ศ. 2036) เมื่อเทียบกับปี
พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) ซึ่งจะดาเนินการใน 4 กลุ่มเศรษฐกิจ คือ (1) ภาคอุตสาหกรรม (2) ภาคอาคารธุรกิจ
อาคารของรัฐ (3) ภาคบ้ านอยู่อาศัย และ (4) ภาคขนส่ ง โดยรายละเอียดของมาตรการอนุรักษ์พลั งงาน
แสดงดังตารางที่ 3

9
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

ตารางที่ 3: ค่าเป้าหมายตามแผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2558-2579


กลุ่มเศรษฐกิจ
มาตรการ อาคารธุรกิจ
อุตสาหกรรม ที่อยู่อาศัย ภาคขนส่ง รวม (ktoe)
อาคารรัฐ
1. ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย ณ ปี พ.ศ. 2579 187,142
(กรณีปกติ)
2. ผลการอนุรักษ์พลังงานที่ผ่านมา ทาให้ EI ปี พ.ศ. 4,442
2556 ลดลง คิดเป็นพลังงานที่ประหยัดได้
3. เป้ า หมายการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานตามแผนอนุ รั ก ษ์ 14,515 4,819 2,153 30,213 51,700
พลังงาน ในช่วงปี พ.ศ.2558-2579
(1) มาตรการบังคับใช้มาตรฐานการอนุรักษ์พลังงาน 4,388 768 - - 5,156
ในโรงงาน/อาคารควบคุม
(2) มาตรการบังคับมาตรฐานอาคารก่อสร้างใหม่เพื่อ - 1,166 - - 1,166
การอนุรักษ์พลังงาน
(3) มาตรการกาหนดมาตรฐานและติดฉลากอุปกรณ์ 748 1,648 1,753 - 4,149
เครื่ อ งจั ก ร และวั ส ดุ เ พื่ อ การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน
(Labeling)
(4) มาตรการบังคับใช้เกณฑ์มาตรฐานอนุรักษ์พลังงาน 202 184 114 - 500
สาหรับผู้ผลิตและจาหน่ายพลังงาน (EERS)
(5) มาตรการช่ ว ยเหลื อ /อุ ด หนุ น การด าเนิ น งาน 8,895 629 - - 9,524
เกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน
(6) มาตรการส่ ง เสริ ม การใช้ แ สงสว่ า งเพื่ อ อนุ รั ก ษ์ 281 424 286 - 991
พลังงาน (LED)
(7) มาตรการอนุรักษ์พลังงานภาคขนส่ง - - - 30,213 30,213
(8) มาตรการวิ จั ย พั ฒ นาเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม - - - - -
อนุรักษ์พลังงาน
(9) มาตรการพัฒนาบุคลากรด้านอนุรักษ์พลังงาน - - - - -
(10) มาตรการประชาสัมพันธ์สร้างปลูกจิตสานึกการ - - - - -
อนุรักษ์พลังงาน
4. รวมลดความต้องการใช้พลังงานลงได้ (ktoe) [2+3] 56,142
5. ความต้องการใช้พลังงาน ณ ปี พ.ศ. 2579 (กรณี 131,000
EE2015) [ 1-4 ]
6. คิ ด เ ป็ น ล ด ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ ช้ พ ลั ง ง า น ล ง ไ ด้ 30
(ร้อยละ)
หมายเหตุ: ktoe คือพันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ
ที่มา: แผนอนุรักษ์พลังงาน (พ.ศ. 2558-2579)

10
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

แผนพัฒนำพลังงำนทดแทนและพลังงำนทำงเลือก พ.ศ. 2558 – 2579

แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (Alternative Energy Development Plan:


AEDP2015) มีเป้าหมายเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทน โดยพิจารณาถึงศักยภาพแหล่งพลังงานทดแทน
ที่สามารถน ามาพัฒนาได้ ทั้งในรูป ของพลังงานไฟฟ้า ความร้อน และเชื้อเพลิงชีวภาพ คิดเป็นร้อยละ 30
ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายในปี พ.ศ. 2579 รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 4
ตารางที่ 4: ค่าเป้าหมายตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนในปี พ.ศ. 2579
ประเภทพลังงำน เป้ำหมำยปี พ.ศ. 2579
พันตันเทียบเท่ำนำมันดิบ 5,588.24
ไฟฟ้ำ
เมกะวัตต์ 19,684.40
1. ขยะชุมชน เมกะวัตต์ 500.00
2. ขยะอุตสาหกรรม เมกะวัตต์ 50.00
3. ชีวมวล เมกะวัตต์ 5,570.00
4. ก๊าซชีวภาพ (น้าเสีย/ของเสีย) เมกะวัตต์ 600.00
5. พลังน้าขนาดเล็ก เมกะวัตต์ 376.00
6. ก๊าซชีวภาพ (พืชพลังงาน) เมกะวัตต์ 680.00
7. พลังงานลม เมกะวัตต์ 3,002.00
8. พลังงานแสงอาทิตย์ เมกะวัตต์ 6,000.00
9. พลังน้าขนาดใหญ่ เมกะวัตต์ 2,906.40
ควำมร้อน พันตันเทียบเท่ำนำมันดิบ 25,088.00
1. พลังงานขยะ พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ 495.00
2. ชีวมวล พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ 22,100.00
3. ก๊าซชีวภาพ พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ 1,283.00
4. พลังงานแสงอาทิตย์ พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ 1,200.00
5. พลังงานความร้อนทางเลือกอื่น พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ 10.00
เชือเพลิงชีวภำพ พันตันเทียบเท่ำนำมันดิบ 8,712.43
1. ไบโอดีเซล ล้านลิตร/วัน 14.00
2. เอทานอล ล้านลิตร/วัน 11.30
3. น้ามันไพโรไลซิส ล้านลิตร/วัน 0.53
4. ก๊าซไบโอมีเทนอัด ตัน/วัน 4,800.00
5. เชื้อเพลิงทางเลือกอื่น พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ 10.00
กำรใช้พลังงำนทดแทน (พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ) 39,388.67
กำรใช้พลังงำนขันสุดท้ำย (พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ) 131,000.00
สัดส่วนพลังงำนทดแทนต่อกำรใช้พลังงำนขันสุดท้ำย (ร้อยละ) 30
ที่มา: แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558-2579

11
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

แผนพัฒนำกำลังผลิตไฟฟ้ำของประเทศไทย พ.ศ. 2561 – 2580

แผนพัฒ นากาลั ง ผลิ ตไฟฟ้า ของประเทศ พ.ศ. 2561 – 2580 (Power Development Plan:
PDP2018) มีแนวทางในการจัดทาแผน 4 ข้อหลัก คือ (1) ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน (2)
จัดสรรโรงไฟฟ้าหลักเพื่อความมั่นคงรายภูมิภาคตามความจาเป็นและเพียงพอต่อการรักษาความมั่นคงของ
ระบบไฟฟ้า (3) พลังงานหมุนเวียนมีนโยบายรับซื้อเป็นรายปีตามนโยบายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน
และรับซื้อด้วยราคาไม่เกินกว่า Grid Parity เพื่อรักษาระดับราคาไฟฟ้าขายปลี กไม่ให้สูงขึ้น (4) นโยบาย
อนุรักษ์พลังงานสามารถพิสูจน์ความเชื่อมั่นด้วยคุณภาพและสามารถแข่งขันด้วยราคาไม่เกินกว่า Grid Parity
จากแนวทางดังกล่าวทาให้แผน PDP2018 มีสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนเพื่อผลิตไฟฟ้ามากขึ้น อีกทั้งเพิ่ม
มาตรการอนุรักษ์พลังงาน รายละเอียดแสดงดังตาราง 5

ตารางที่ 5: ประมาณการสัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงของแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของแผน PDP2018


ณ ปี พ.ศ. 2560 ณ ปี พ.ศ. 2570 ณ ปี พ.ศ. 2580
ประเภทเชือเพลิง
ประมำณร้อยละ ประมำณร้อยละ ประมำณร้อยละ
ซื้อไฟฟ้าพลังน้าจากต่างประเทศ 7 9 9
ถ่านหินเทคโนโลยีสะอาด (รวมลิกไนต์) 23 16 12
พลังงานหมุนเวียน 10 13 20
ก๊าซธรรมชาติ 60 62 53
เชื้อเพลิงอื่นๆ 0.2 0.08 0.03
มาตรการอนุรักษ์พลังงาน - - 6
ที่มา: แผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2561 – 2580

12
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

บทที่ 5
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน

วิสัยทัศน์ ขับ เคลื่ อนการด าเนิ น งานเพื่อ ลดก๊ าซเรือ นกระจกของประเทศ สาขาพลั ง งาน ให้ บรรลุ
เป้าหมายตามแผนที่นาทางการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ (NDC Roadmap)

พันธกิจ 1. ผลักดันการดาเนินงานตามแผนงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดการลดก๊าซเรือน


กระจกของประเทศ สาขาพลังงาน
2. พัฒนากลไกการดาเนินงาน และสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับ
มาตรการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน ในระยะยาว

เป้าหมาย ลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน ได้ไม่น้อยกว่า 82 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์


เทียบเท่า ภายในปี พ.ศ. 2573 (ค.ศ. 2030) เมื่อเทียบกับกรณีปกติ

ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน


ยุทธศาสตร์ที่ 2 เตรียมความพร้อมสาหรับการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขา
พลังงาน ในระยะยาว
ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างเครือข่ายความร่วมมือ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน

ยุทธศาสตร์ที่ 1 ขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน


กลยุทธ์ 1.1 ผนวกนโยบายและแผนงานร่วมกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการ
ลดก๊าซเรือนกระจกการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน
แผนงาน 1.1.1 การบังคับใช้มาตรฐานการอนุรักษ์พลังงานในโรงงาน/
อาคารควบคุม
1.1.2 การบังคับมาตรฐานอาคารก่อสร้างใหม่เพื่อการอนุรักษ์
พลังงาน
1.1.3 การกาหนดมาตรฐานและติดฉลากอุปกรณ์เครื่องจักร
และวัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (Labeling)
1.1.4 การบังคับใช้เกณฑ์มาตรฐานอนุรักษ์พลังงานสาหรับ
ผู้ผลิตและจาหน่ายพลังงาน (EERS)
1.1.5 การช่ ว ยเหลื อ /อุด หนุ น การด าเนิ นงานเกี่ ย วกั บ การ
อนุรักษ์พลังงาน
1.1.6 การส่งเสริมการใช้แสงสว่างเพื่ออนุรักษ์พลังงาน
1.1.7 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพลังงานไฟฟ้า
กลยุทธ์ 1.2 ผนวกนโยบายและแผนงานร่วมกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการ
ลดก๊าซเรือนกระจกจากการพัฒนาพลังงานทดแทน
13
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

แผนงาน 1.2.1 การพัฒนาพลังงานลม


1.2.2 การพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย์
1.2.3 การพัฒนาพลังงานนา
1.2.4 การพัฒนาพลังงานจากชีวมวล
1.2.5 การพัฒนาพลังงานจากก๊าซชีวภาพ
1.2.6 การพัฒนาพลังงานจากขยะ
1.2.7 การพัฒนาเชือเพลิงเอทานอล
1.2.8 การพัฒนาเชือเพลิงไบโอดีเซล
1.2.9 การพัฒนาพลังงานทดแทนจากนามันไพโรไลซิส
1.2.10 การพัฒนาพลังงานสะอาดใหม่
กลยุทธ์ 1.3 ติดตามและรายงานผลการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน
แผนงาน 1.3.1 จัดตังโครงสร้างเชิงสถาบันในการรายงานผลการลด
ก๊าซเรือนกระจก
1.3.2 พัฒนาระบบการตรวจวัด รายงาน และทวนสอบ
1.3.3 ผลักดันให้เกิดผลในทางปฏิบัติแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กลยุทธ์ 1.4 ขจั ดข้อจ ากัดที่ส่ งผลต่อการดาเนินงานด้านการลดก๊าซเรือนกระจกของ
ประเทศ สาขาพลังงาน
แผนงาน 1.4.1 บริหารความเสี่ยงการดาเนินงานตามแผนงานด้านการ
อนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนต่อเป้าหมายการ
ลดก๊าซเรือนกระจก
1.4.2 ขจัดข้อจากัดด้านนโยบายและกฎระเบียบที่ส่งผลต่อ
การดาเนินงานด้านการลดก๊าซเรือนกระจก

ยุทธศาสตร์ที่ 2 เตรียมความพร้อมสาหรับการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงานในระยะยาว


กลยุทธ์ 2.1 ประเมินและคาดการณ์ศักยภาพการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขา
พลังงาน
แผนงาน 2.1.1 ประเมิ น และคาดการณ์ ศั ก ยภาพการลดก๊ า ซเรื อ น
กระจกจากการอนุรักษ์พลังงาน
2.1.2 ประเมิ น และคาดการณ์ ศั ก ยภาพการลดก๊ า ซเรื อ น
กระจกจากการใช้พลังงานทดแทน
2.1.3 คาดการณ์ภาพอนาคตการลดก๊าซเรือนกระจกในกรณี
ต่างๆ
กลยุทธ์ 2.2 ลดช่องว่างในการขับเคลื่อนการดาเนินการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ
สาขาพลังงาน

14
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

แผนงาน 2.2.1 วิ เ คราะห์ ช่ อ งว่ า ง (Gap) ในการขั บ เคลื่ อ นการ


ดาเนินการลดก๊าซเรือนกระจก
2.2.2 ศึ ก ษาวิ จั ย และพั ฒ นาเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมที่
เหมาะสมในการขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือนกระจก
2.2.3 ถ่ายทอดผลการศึกษาวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ไปสู่หน่วยงานเป้าหมาย
กลยุทธ์ 2.3 ผลักดันมาตรการที่เหมาะสมในการขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือนกระจกของ
ประเทศ สาขาพลังงาน ในอนาคต
แผนงาน 2.3.1 วิเคราะห์ต้นทุนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
2.3.2 จั ด ล าดั บ ความส าคั ญ ของมาตรการ/เทคโนโลยี
ที่เหมาะสมในการขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือนกระจก
2.3.3 นากลไกที่เหมาะสมมาใช้ในการสนับสนุนมาตรการลด
ก๊าซเรือนกระจก

ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างเครือข่ายความร่วมมือ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน


กลยุทธ์ 3.1 สร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
แผนงาน 3.1.1 สร้างเครือข่ายและความร่วมมือต่อการดาเนินงานด้าน
การลดก๊าซเรือนกระจก
3.1.2 พัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากรในการดาเนินงานด้าน
การลดก๊าซเรือนกระจก
3.1.3 ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการลดก๊าซเรือนกระจก
กลยุทธ์ 3.2 ประชาสัมพันธ์สร้างจิตสานึกด้านการลดก๊าซเรือนกระจก
แผนงาน 3.2.1 พัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างจิตสานึกด้านการลด
ก๊าซเรือนกระจก
3.2.2 เพิ่มช่องทางการเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์เพื่อสร้าง
การรับรู้และความตระหนักต่อการลดก๊าซเรือนกระจก

รายละเอียดแผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน หน่วยงานรับผิดชอบหลัก


และหน่วยงานสนับสนุน แสดงดังตารางที่ 6 – 8 และค่าเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกตามแผนปฏิบัติการ
ลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน แสดงดังตารางที่ 9 – 11

15
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

ยุทธศาสตร์ที่ 1 ขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน


ตารางที่ 6: แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน (ยุทธศาสตร์ที่ 1)
แผนปฏิบัติการ หน่วยงาน หน่วยงาน
รับผิดชอบหลัก สนับสนุน
กลยุทธ์ 1.1 ผนวกนโยบายและแผนงานร่วมกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือน
กระจกจากการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน
แผนงานที่ 1.1.1 การบังคับใช้มาตรฐานการอนุรักษ์พลังงานในโรงงาน/อาคารควบคุม
งานกากับดูแลและส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานตามกฎหมายสาหรับ พพ. กรอ./กนอ./สผ./
โรงงานควบคุม อบก.
งานกากับดูแลและส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานตามกฎหมายสาหรับ พพ. ยผ./สผ./อบก.
อาคารควบคุมเอกชน
งานกากับดูแลและส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานตามกฎหมายสาหรับ พพ. ยผ./สผ./อบก.
อาคารควบคุมภาครัฐ
โครงการส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้พลังงานในระบบผลิตและใช้ พพ. กรอ./กนอ./สผ./
ไอนาสาหรับโรงงานควบคุม อบก.
โครงการส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้พลังงานในระบบอัดอากาศ พพ. กรอ./กนอ./สผ./
สาหรับโรงงานควบคุม อบก.
โครงการส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้พลังงานในระบบทานาเย็น พพ. ยผ./สผ./อบก.
(chiller) สาหรับอาคารควบคุม
แผนงานที่ 1.1.2 การบังคับมาตรฐานอาคารก่อสร้างใหม่เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
โครงการบริหารศูนย์ประสานงานการออกแบบอาคารเพื่อการ พพ. ยผ./สผ./อบก.
อนุรักษ์พลังงาน
แผนงานที่ 1.1.3 การกาหนดมาตรฐานและติดฉลากอุปกรณ์เครื่องจักรและวัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (Labeling)
มาตรการเกณฑ์มาตรฐานและติดฉลากอุปกรณ์เบอร์ 5 กฟผ. สมอ./สผ./อบก.
โครงการส่งเสริมเครื่องจักรอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูงและวัสดุเพื่อ พพ. สมอ./สผ./อบก.
การอนุรักษ์พลังงานโดยการติดฉลาก
แผนงานที่ 1.1.4 การบังคับใช้เกณฑ์มาตรฐานอนุรักษ์พลังงานสาหรับผู้ผลิตและจาหน่ายพลังงาน (EERS)
การบังคับใช้เกณฑ์มาตรฐานอนุรักษ์พลังงานสาหรับผู้ผลิตและ กฟผ./ กฟน./ สนพ./พพ./
จาหน่ายพลังงาน (EERS) กฟภ. สกพ./สผ./อบก.
แผนงานที่ 1.1.5 การช่วยเหลือ/อุดหนุนการดาเนินงานเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน
โครงการศึกษาและนาร่องการสนับสนุน SOP ให้กับ SMEs และ/ พพ. สนพ./สผ./อบก.
หรือ บ้านอยู่อาศัย
โครงการสนับสนุน SOP ให้กับ SMEs และ/หรือ บ้านอยู่อาศัย พพ. สนพ./สผ./อบก.
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพการอนุรักษ์พลังงานอย่างเข้มข้น พพ. สนพ./สผ./อบก.
สาหรับโรงงานและอาคาร SMEs
โครงการสาธิตการใช้อุปกรณ์ประหยัดพลังงานในอาคารภาครัฐ พพ. สนพ./สผ./อบก.
นอกข่ายควบคุม
16
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

แผนปฏิบัติการ หน่วยงาน หน่วยงาน


รับผิดชอบหลัก สนับสนุน
โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพการอนุรักษ์พลังงานด้วยเงิน พพ. สนพ./สผ./อบก.
หมุนเวียนดอกเบียต่า (Soft loan)
โครงการส่งเสริมธุรกิจและกระตุ้นตลาดการอนุรักษ์พลังงาน พพ. สนพ./สผ./อบก.
โดยกลไกบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO)
โครงการส่งเสริมการลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงาน พพ. สนพ./สผ./อบก.
ทดแทนด้วยเงินทุนหมุนเวียน (ESCO Revolving Fund)
โครงการสาธิตเทคโนโลยีเชิงลึกเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ระยะที่ 3 พพ. สนพ./สผ./อบก.
โครงการสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พพ. สนพ./สผ./อบก.
โครงการการสนับสนุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักร อุปกรณ์ในภาครัฐ พพ. สนพ./สผ./อบก.
(Block Grant)
โครงการพัฒนาศักยภาพการมีส่วนร่วมแบบบูรณาการเพื่อการ พพ. สนพ./สผ./อบก.
อนุรักษ์พลังงานอย่างยั่งยืนสาหรับโรงพยาบาลชุมชน
โครงการอุดหนุนผลประหยัดโดยวิธีประกวดราคา (DSM Bidding) พพ. สนพ./สผ./อบก.
โครงการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม พพ. สนพ./สผ./อบก.
ขนาดกลางและขนาดเล็ก
โครงการสนับสนุนการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคาร พพ. สนพ./สผ./อบก.
ธุรกิจ (นอกเครือข่ายควบคุม)
แผนงานที่ 1.1.6 การส่งเสริมการใช้แสงสว่างเพื่ออนุรักษ์พลังงาน
โครงการสนับสนุนการปรับเปลี่ยนหลอด LED ในหน่วยงานภาครัฐ พพ. สนพ./สผ./อบก.
(Block Grant) (อาคารควบคุมและอาคารต่ากว่าอาคารควบคุม)
แผนงานที่ 1.1.7 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพลังงานไฟฟ้า
มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพลังงานไฟฟ้า กฟผ. สนพ./สกพ./
สผ./อบก.
กลยุทธ์ 1.2 ผนวกนโยบายและแผนงานร่วมกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการลดก๊าซ
เรือนกระจกจากการพัฒนาพลังงานทดแทน
แผนงานที่ 1.2.1 การพัฒนาพลังงานลม
การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ประเภทพลังงานธรรมชาติ พพ. สนพ./สกพ./
(พลังลม) กฟผ./กฟน./
กฟภ./สผ./อบก.
แผนงานที่ 1.2.2 การพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย์
การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ประเภทพลังงานธรรมชาติ พพ. สนพ./สกพ./
(แสงอาทิตย์) กฟผ./กฟน./
กฟภ./สผ./อบก.
การผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทน ประเภทพลังงานธรรมชาติ พพ. หน่วยงานที่
(แสงอาทิตย์) เกี่ยวข้อง

17
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

แผนปฏิบัติการ หน่วยงาน หน่วยงาน


รับผิดชอบหลัก สนับสนุน
แผนงานที่ 1.2.3 การพัฒนาพลังงานนา
การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ประเภทพลังงานธรรมชาติ พพ. สนพ./สกพ./
(พลังงานนาขนาดเล็ก) กฟผ./กฟน./
กฟภ./สผ./อบก.
การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ประเภทพลังงานธรรมชาติ กฟผ. พพ./สนพ./
(พลังงานนาขนาดใหญ่) สกพ./สผ./อบก.
แผนงานที่ 1.2.4 การพัฒนาพลังงานจากชีวมวล
การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ประเภทพลังงานชีวภาพ พพ. สนพ./กฟผ./
(ชีวมวล) กฟน./กฟภ./
กษ./สผ./อบก.
การผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทน ประเภทพลังงานชีวภาพ พพ. สนพ./กฟผ./กฟน./
(ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ ขยะ) กฟภ./อปท./กทม./
กษ./สผ./อบก.
แผนงานที่ 1.2.5 การพัฒนาพลังงานจากก๊าซชีวภาพ
การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ประเภทพลังงานชีวภาพ พพ. สนพ./กฟผ./กฟน./
(ก๊าซชีวภาพ (นาเสีย/ของเสีย)) กฟภ./อปท./กทม./
สผ./อบก.
การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ประเภทพลังงานชีวภาพ (ก๊าซ พพ. สนพ./กฟผ./
ชีวภาพ (พืชพลังงาน)) กฟน./กฟภ./
กษ./สผ./อบก.
แผนงานที่ 1.2.6 การพัฒนาพลังงานจากขยะ
การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ประเภทพลังงานชีวภาพ พพ. สนพ./กฟผ./
(ขยะชุมชน) กฟน./กฟภ./
อปท./กทม./
สผ./อบก.
การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ประเภทพลังงานชีวภาพ พพ. สนพ./กฟผ./กฟน./
(ขยะอุตสาหกรรม) กฟภ./กรอ./กนอ./
สผ./อบก.
แผนงานที่ 1.2.7 การพัฒนาเชือเพลิงเอทานอล
การใช้เอทานอลในภาคการขนส่ง พพ. สนพ./ธพ./
สนข./สผ./อบก.

แผนงานที่ 1.2.8 การพัฒนาเชือเพลิงไบโอดีเซล


การใช้ไบโอดีเซลในภาคการขนส่ง พพ. สนพ./ธพ./
สนข./สผ./อบก.

18
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

แผนปฏิบัติการ หน่วยงาน หน่วยงาน


รับผิดชอบหลัก สนับสนุน
แผนงานที่ 1.2.9 การพัฒนาพลังงานทดแทนจากนามันไพโรไลซิส
การใช้นามันไพโรไลซิสในภาคการขนส่ง พพ. สนพ./ธพ./
สนข./สผ./อบก.
แผนงานที่ 1.2.10 การพัฒนาพลังงานสะอาดใหม่
การใช้ก๊าซไบโอมีเทนอัดในภาคการขนส่ง พพ. สนพ./ธพ./
สนข./สผ./อบก.
การใช้เชือเพลิงทางเลือกอื่น (เช่น พลังงานความร้อนใต้พิภพ และ พพ. สนพ./ธพ./
นามันจากยางรถยนต์ที่ใช้แล้ว) ในภาคการขนส่ง สนข./สผ./อบก.
การผลิตความร้อนจากพลังงานทดแทน ประเภทพลังงานความร้อน พพ. สนพ./ธพ./
ทางเลือกอื่น (พลังงานความร้อนทางเลือกอื่น เช่น Bio-oil และ สนข./สผ./อบก.
Hydrogen เป็นต้น)
กลยุทธ์ 1.3 ติดตามและรายงานผลการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน
แผนงานที่ 1.3.1 จัดตังโครงสร้างเชิงสถาบันในการรายงานผลการลดก๊าซเรือนกระจก
ทบทวนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการรายงานผลการลดก๊าซเรือน สนพ. พพ./สป.พน./
กระจก ธพ./ชธ./กฟผ./
สกพ./สผ./อบก.
จัดตังโครงสร้างเชิงสถาบันในการรายงานผลการลดก๊าซเรือนกระจก สนพ. พพ./สป.พน./
ธพ./ชธ./กฟผ./
สกพ./สผ./อบก.
แผนงานที่ 1.3.2 พัฒนาระบบการตรวจวัด รายงาน และทวนสอบ
พัฒนาระบบการตรวจวัด รายงาน และทวนสอบ (MRV) และจัดตัง อบก. สผ./สป.พน./
โครงสร้างเชิงสถาบันในระบบ MRV พพ./สนพ./
สกพ./กฟผ./
ชธ./ธพ.
พัฒนาคู่มือแนวทางการติดตามประเมินผลการลดก๊าซเรือนกระจก อบก. สผ./กฟผ./
สนพ./พพ.
แผนงานที่ 1.3.3 ผลักดันให้เกิดผลในทางปฏิบัติแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลักดันการดาเนินงานตามระบบการตรวจวัด รายงาน และทวน สผ. อบก./สนพ./พพ.
สอบอย่างต่อเนื่อง
กลยุทธ์ 1.4 ขจัดข้อจากัดที่ส่งผลต่อการดาเนินงานด้านการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน
แผนงานที่ 1.4.1 บริหารความเสี่ยงการดาเนินงานตามแผนงานด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงาน
ทดแทนต่อเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก
จัดทาแผนบริหารความเสี่ยงต่อเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก พน. หน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง
จัดการความเสี่ยงเพื่อขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือนกระจกให้เป็นไป พน. หน่วยงานที่
ตามเป้าหมาย เกี่ยวข้อง
19
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

แผนปฏิบัติการ หน่วยงาน หน่วยงาน


รับผิดชอบหลัก สนับสนุน
แผนงานที่ 1.4.2 ขจัดข้อจากัดด้านนโยบายและกฎระเบียบที่ส่งผลต่อการดาเนินงานด้านการลดก๊าซ
เรือนกระจก
ศึกษาวิเคราะห์นโยบายและ/หรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ที่ส่งผลต่อ พน. หน่วยงานที่
การขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือนกระจก เกี่ยวข้อง

วิเคราะห์ข้อจากัดด้านนโยบายและ/หรือกฎระเบียบที่ส่งผลต่อการ พน. หน่วยงานที่


ขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือนกระจก เกี่ยวข้อง
ปรับปรุงนโยบายและ/หรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนการ พน. หน่วยงานที่
ลดก๊าซเรือนกระจก เกี่ยวข้อง

20
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

ยุทธศาสตร์ที่ 2 เตรียมความพร้อมสาหรับการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน ในระยะยาว


ตารางที่ 7: แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน (ยุทธศาสตร์ที่ 2)
แผนปฏิบัติการ หน่วยงาน หน่วยงาน
รับผิดชอบหลัก สนับสนุน
กลยุทธ์ 2.1 ประเมินและคาดการณ์ศักยภาพการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน
แผนงานที่ 2.1.1 ประเมินและคาดการณ์ศักยภาพการลดก๊าซเรือนกระจกจากการอนุรักษ์พลังงาน
พัฒนาวิธีคาดการณ์การลดก๊าซเรือนกระจกจากการอนุรักษ์พลังงาน อบก. พพ./สนพ./สผ.
ประเมินและคาดการณ์ศักยภาพการลดก๊าซเรือนกระจกจากการ อบก. พพ./สนพ./สผ.
อนุรักษ์พลังงาน (เมื่อมีการปรับปรุงแผนที่เกี่ยวข้อง)
แผนงานที่ 2.1.2 คาดการณ์ภาพอนาคตการลดก๊าซเรือนกระจก อบก. พพ./สนพ./สผ.
ในกรณีต่างๆ
กลยุทธ์ 2.2 ลดช่องว่างในการขับเคลื่อนการดาเนินการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน
แผนงานที่ 2.2.1 วิเคราะห์ช่องว่าง (Gap) ในการขับเคลื่อน อบก. พพ./สนพ./สผ.
การดาเนินการลดก๊าซเรือนกระจก
แผนงานที่ 2.2.2 ศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม สวทน. อบก./พพ./สผ./
ที่เหมาะสมในการขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือนกระจก สนพ.
แผนงานที่ 2.2.3 ถ่ายทอดผลการศึกษาวิจัยเทคโนโลยีและ สวทน. อบก./พพ./สผ./
นวัตกรรมไปสู่หน่วยงานเป้าหมาย สนพ.
กลยุทธ์ 2.3 ผลักดันมาตรการที่เหมาะสมในการขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขา
พลังงาน ในอนาคต
แผนงานที่ 2.3.1 วิเคราะห์ต้นทุนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก อบก. พพ./สนพ./สผ.
พัฒนารูปแบบการประเมินต้นทุนการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของแต่ อบก. พพ./ สนพ./สผ.
ละมาตรการ
สร้างความเข้าใจให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องสามารถเก็บข้อมูลและ อบก. เจ้าหน้าที่ของ
ต้นทุนการลดก๊าซเรือนกระจกของแต่ละมาตรการ พน. ที่
รับผิดชอบในแต่
ละมาตรการ
ประเมินต้นทุนการลดก๊าซเรือนกระจกของแต่ละมาตรการ สนพ. อบก.
แผนงานที่ 2.3.2 จัดลาดับความสาคัญของมาตรการ/เทคโนโลยีที่ อบก. สวทน./พพ./
เหมาะสมในการขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือนกระจก สนพ./สผ.
แผนงานที่ 2.3.3 นากลไกที่เหมาะสมมาใช้ในการสนับสนุน อบก. พพ./สนพ./สผ.
มาตรการลดก๊าซเรือนกระจก

21
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างเครือข่ายความร่วมมือ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน


ตารางที่ 8: แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน (ยุทธศาสตร์ที่ 3)
แผนปฏิบัติการ หน่วยงาน หน่วยงาน
รับผิดชอบหลัก สนับสนุน
กลยุทธ์ 3.1 สร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
แผนงานที่ 3.1.1 สร้างเครือข่ายและความร่วมมือต่อการ สผ. สส./อบก.
ดาเนินงานด้านการลดก๊าซเรือนกระจก
แผนงานที่ 3.1.2 พัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากรในการดาเนินงานด้านการลดก๊าซเรือนกระจก
สร้างความเข้าใจเรื่องก๊าซเรือนกระจก กับการดาเนินงานในภาค อบก./สผ.
พลังงาน (สถานการณ์/เป้าหมายประเทศ/ผลกระทบ)
กลุ่มเป้าหมาย: ผู้บริหารระดับสูง
อบรมเชิงปฏิบัติการการคานวณการลดก๊าซเรือนกระจก (การ อบก./สผ. สนพ.
คาดการณ์/การติดตามผลการลดก๊าซเรือนกระจก)
กลุ่มเป้าหมาย: เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบแต่ละมาตรการ
แผนงานที่ 3.1.3 ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการลดก๊าซเรือนกระจก อบก. สส./สผ.
กลยุทธ์ 3.2 ประชาสัมพันธ์สร้างจิตสานึกด้านการลดก๊าซเรือนกระจก
แผนงานที่ 3.2.1 พัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างจิตสานึกด้านการลดก๊าซเรือนกระจก
รณรงค์ประหยัดพลังงาน อบก. สส./สผ.
กลุ่มเป้าหมาย: เจ้าหน้าที่ พน. ประชาชนทั่วไป
แผนงานที่ 3.2.2 เพิ่มช่องทางการเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์ อบก. สส./สผ.
เพื่อสร้างการรับรู้และความตระหนักต่อการลดก๊าซเรือนกระจก

22
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

ตารางที่ 9 สรุปค่าเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกตามแผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน


ปริมาณการลดก๊าซเรือนกระจก
ค่าเป้าหมาย
2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573
เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก (MtCO2) 67.71 73.34 78.89 85.54 89.67 95.02 99.82 105.86 111.22 117.66

ตารางที่ 10 ค่าเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกตามแผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน มาตรการลดก๊าซเรือนกระจก


งบประมาณ
หน่วยงานรับผิดชอบ เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก (MtCO2)
มาตรการ/กิจกรรมหลัก (ล้านบาท)
หลัก สนับสนุน 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 64-68 69-73 แหล่งเงิน
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน
กลยุทธ์ 1.1 ผนวกนโยบายและแผนงานร่วมกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือนกระจกจากการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน
แผนงานที่ 1.1.1 การบังคับ กฟผ./สนพ./
ใช้มาตรฐานการอนุรักษ์ สกพ./กรอ./ กองทุนอนุรักษ์ฯ/
พพ. 3.32 3.85 4.38 4.93 5.10 5.26 5.41 5.56 5.71 5.86 1,014 1,210
23

พลังงานในโรงงาน/อาคาร กนอ./ยผ./ งบประมาณรัฐวิสาหกิจ


ควบคุม สผ./อบก.
แผนงานที่ 1.1.2 การบังคับ
มาตรฐานอาคารก่อสร้างใหม่ พพ. ยผ./สผ./อบก. 0.10 0.13 0.17 0.21 0.28 0.34 0.42 0.49 0.57 0.66 2,768 175 กองทุนอนุรักษ์ฯ
เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
แผนงานที่ 1.1.3 การ
กาหนดมาตรฐานและติด
กฟผ./สมอ./ กองทุนอนุรักษ์ฯ/
ฉลากอุปกรณ์เครื่องจักรและ พพ. 1.82 2.28 2.77 3.29 3.49 3.73 3.97 4.21 4.47 4.63 164 179
สผ./อบก. งบประมาณรัฐวิสาหกิจ
วัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
(Labeling)
แผนงานที่ 1.1.4 การบังคับ
กฟผ./ สนพ./พพ./
ใช้เกณฑ์มาตรฐานอนุรักษ์
กฟน./ สกพ./สผ./ 0.00 0.00 0.03 0.05 0.08 0.11 0.14 0.20 0.26 0.32 60 75 กองทุนอนุรักษ์ฯ
พลังงานสาหรับผู้ผลิตและ
กฟภ. อบก.
จาหน่ายพลังงาน (EERS)
23
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

งบประมาณ
หน่วยงานรับผิดชอบ เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก (MtCO2)
มาตรการ/กิจกรรมหลัก (ล้านบาท)
หลัก สนับสนุน 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 64-68 69-73 แหล่งเงิน
แผนงานที่ 1.1.5 การ
ช่วยเหลือ/อุดหนุนการ สนพ./สผ./
พพ. 3.60 4.19 4.78 5.54 6.13 6.89 7.18 8.04 8.59 9.05 11,721 10,725 กองทุนอนุรักษ์ฯ
ดาเนินงานเกี่ยวกับการ อบก.
อนุรักษ์พลังงาน
แผนงานที่ 1.1.6 การ
สนพ./สผ./
ส่งเสริมการใช้แสงสว่างเพื่อ พพ. 0.24 0.30 0.37 0.44 0.53 0.62 0.71 0.78 0.86 0.94 325 5,400 กองทุนอนุรักษ์ฯ
อบก.
อนุรักษ์พลังงาน
แผนงานที่ 1.1.7 การเพิ่ม
สนพ./สกพ./
ประสิทธิภาพการผลิต กฟผ. 4.35 4.46 4.68 5.53 4.58 4.74 4.72 5.16 5.06 6.00 งบประมาณรัฐวิสาหกิจ
สผ./อบก.
พลังงานไฟฟ้า
รวม 13.43 15.21 17.18 20.01 20.19 21.70 22.53 24.44 25.52 27.46 16,052 17,763
24

กลยุทธ์ 1.2 ผนวกนโยบายและแผนงานร่วมกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือนกระจกจากการพัฒนาพลังงานทดแทน


สนพ./สกพ./
แผนงานที่ 1.2.1 การพัฒนา
พพ. กฟผ./กฟน./ 0.36 0.41 0.46 0.53 0.59 0.67 0.76 0.86 0.98 1.11
พลังงานลม
กฟภ./สผ./อบก.
สนพ./สกพ./
แผนงานที่ 1.2.2 การพัฒนา
พพ. กฟผ./กฟน./ 2.15 2.35 2.58 2.80 3.04 3.40 3.79 4.17 4.55 4.93
พลังงานแสงอาทิตย์
กฟภ./สผ./อบก.
พพ. สนพ./สกพ./
แผนงานที่ 1.2.3 การพัฒนา
กฟผ./กฟน./ 3.03 3.05 3.07 3.09 3.10 3.11 3.12 3.13 3.15 3.19
พลังงานนา
กฟภ./สผ./อบก.
พพ. สนพ./กฟผ./
แผนงานที่ 1.2.4 การพัฒนา กฟน./กฟภ./
39.28 41.82 44.43 47.12 49.89 52.75 55.68 58.68 61.77 64.94
พลังงานจากชีวมวล อปท./กทม./
กษ./สผ./อบก.

24
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

งบประมาณ
หน่วยงานรับผิดชอบ เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก (MtCO2)
มาตรการ/กิจกรรมหลัก (ล้านบาท)
หลัก สนับสนุน 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 64-68 69-73 แหล่งเงิน
พพ. สนพ./กฟผ./
แผนงานที่ 1.2.5 การพัฒนา กฟน./กฟภ./
2.60 2.86 3.06 3.35 3.57 3.61 3.66 3.70 3.75 3.79
พลังงานจากก๊าซชีวภาพ อปท./กทม./
กษ./สผ./อบก.
พพ. สนพ./กฟผ./
กฟน./กฟภ./
แผนงานที่ 1.2.6 การพัฒนา
กรอ./กนอ./ 1.36 1.39 1.42 1.45 1.48 1.51 1.54 1.57 1.57 1.63
พลังงานจากขยะ
อปท./กทม./
สผ./อบก.
พพ. สนพ./ธพ./
แผนงานที่ 1.2.7 การพัฒนา
สนข./สผ./ 2.15 2.28 2.42 2.55 2.73 2.85 3.04 3.26 3.50 3.74
เชือเพลิงเอทานอล
25

อบก.
พพ. สนพ./ธพ./
แผนงานที่ 1.2.8 การพัฒนา
สนข./สผ./ 3.26 3.81 3.98 4.23 4.47 4.61 4.64 4.68 4.74 4.79
เชือเพลิงไบโอดีเซล
อบก.
แผนงานที่ 1.2.9 การพัฒนา พพ. สนพ./ธพ./
พลังงานทดแทนจากนามัน สนข./สผ./ 0.01 0.02 0.02 0.04 0.05 0.07 0.08 0.11 0.13 0.16
ไพโรไลซิส อบก.
พพ. สนพ./ธพ./
แผนงานที่ 1.2.10 การ
สนข./สผ./ 0.08 0.15 0.25 0.39 0.55 0.75 0.99 1.26 1.57 1.92
พัฒนาพลังงานสะอาดใหม่
อบก.
รวม 54.29 58.14 61.70 65.53 69.48 73.32 77.29 81.42 85.70 90.20
รวมทั้งสิ้น 67.71 73.34 78.89 85.54 89.67 95.02 99.82 105.86 111.22 117.66

25
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

ตารางที่ 11 แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน มาตรการสนับสนุนการลดก๊าซเรือนกระจก


หน่วยงานรับผิดชอบ กรอบระยะเวลา
มาตรการ/กิจกรรมหลัก ระยะเตรียมการ ระยะดาเนินการ
หลัก สนับสนุน
62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน
กลยุทธ์ 1.3 ติดตามและรายงานผลการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน
แผนงานที่ 1.3.1 จัดตังโครงสร้างเชิง
สถาบันในการรายงานผลการลดก๊าซ
เรือนกระจก
ทบทวนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการ พพ./สป.
รายงานผลการลดก๊าซเรือนกระจก พน./ธพ./
สนพ. ชธ./กฟผ./
สกพ./สผ./
อบก.
26

จัดตังโครงสร้างเชิงสถาบันในการ พพ./สป.
รายงานผลการลดก๊าซเรือนกระจก พน./ธพ./
สนพ. ชธ./กฟผ./
สกพ./สผ./
อบก.
แผนงานที่ 1.3.2 พัฒนาระบบการ
ตรวจวัด รายงาน และทวนสอบ
พัฒนาระบบการตรวจวัด รายงาน สผ./สป.
และทวนสอบ (MRV) และจัดตัง พน./พพ./
โครงสร้างเชิงสถาบันในระบบ MRV อบก. สนพ./
สกพ./กฟผ./
ชธ./ธพ.
พัฒนาคู่มือแนวทางการติดตาม สผ./กฟผ./
อบก.
ประเมินผลการลดก๊าซเรือนกระจก สนพ./พพ.
26
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

หน่วยงานรับผิดชอบ กรอบระยะเวลา
มาตรการ/กิจกรรมหลัก ระยะเตรียมการ ระยะดาเนินการ
หลัก สนับสนุน
62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73
แผนงานที่ 1.3.3 ผลักดันให้เกิดผล
ในทางปฏิบัติแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลักดันการดาเนินงานตามระบบการ อบก./สนพ./
สผ.
ตรวจวัด รายงาน และทวนสอบอย่างต่อเนื่อง พพ.
กลยุทธ์ 1.4 ขจัดข้อจากัดที่ส่งผลต่อการดาเนินงานด้านการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน
แผนงานที่ 1.4.1 บริหารความเสีย่ ง
การดาเนินงานตามแผนงานด้านการ
อนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน
ต่อเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก
จัดทาแผนบริหารความเสี่ยงต่อ หน่วยงานที่
พน.
เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก เกี่ยวข้อง
27

จัดการความเสี่ยงเพื่อขับเคลื่อนการลด หน่วยงานที่
พน.
ก๊าซเรือนกระจกให้เป็นไปตามเป้าหมาย เกี่ยวข้อง
แผนงานที่ 1.4.2 ขจัดข้อจากัดด้าน
นโยบายและกฎระเบียบที่ส่งผลต่อการ
ดาเนินงานด้านการลดก๊าซเรือนกระจก
ศึกษาวิเคราะห์นโยบายและ/หรือ
หน่วยงานที่
กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ที่ส่งผลต่อการ พน.
เกี่ยวข้อง
ขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือนกระจก
วิเคราะห์ข้อจากัดด้านนโยบายและ/
หน่วยงานที่
หรือกฎระเบียบทีส่ ่งผลต่อการ พน.
เกี่ยวข้อง
ขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือนกระจก
ปรับปรุงนโยบายและ/หรือ
หน่วยงานที่
กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุน พน.
เกี่ยวข้อง
การลดก๊าซเรือนกระจก

27
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

หน่วยงานรับผิดชอบ กรอบระยะเวลา
มาตรการ/กิจกรรมหลัก ระยะเตรียมการ ระยะดาเนินการ
หลัก สนับสนุน
62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73
ยุทธศาสตร์ที่ 2 เตรียมความพร้อมสาหรับการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน ในระยะยาว
กลยุทธ์ 2.1 ประเมินและคาดการณ์ศักยภาพการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน
แผนงานที่ 2.1.1 ประเมินและ
คาดการณ์ศักยภาพการลดก๊าซเรือน
กระจกจากการอนุรักษ์พลังงาน
พัฒนาวิธีคาดการณ์การลดก๊าซเรือน พพ./สนพ./
อบก.
กระจกจากการอนุรักษ์พลังงาน สผ.
ประเมินและคาดการณ์ศักยภาพการ
ลดก๊าซเรือนกระจกจากการอนุรักษ์ พพ./สนพ./
อบก.
พลังงาน (เมื่อมีการปรับปรุงแผนที่ สผ.
เกี่ยวข้อง)
28

แผนงานที่ 2.1.2 คาดการณ์ภาพ


พพ./สนพ./
อนาคตการลดก๊าซเรือนกระจก อบก.
สผ.
ในกรณีต่างๆ
กลยุทธ์ 2.2 ลดช่องว่างในการขับเคลื่อนการดาเนินการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน
แผนงานที่ 2.2.1 วิเคราะห์ช่องว่าง
พพ./สนพ./
(Gap) ในการขับเคลื่อน อบก.
สผ.
การดาเนินการลดก๊าซเรือนกระจก
แผนงานที่ 2.2.2 ศึกษาวิจัยและ
อบก./สผ./
พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม
สวทน. พพ./สนพ./
ที่เหมาะสมในการขับเคลื่อนการลด
อว.
ก๊าซเรือนกระจก
แผนงานที่ 2.2.3 ถ่ายทอดผลการ อบก./สผ./
ศึกษาวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม สวทน. พพ./สนพ./
ไปสู่หน่วยงานเป้าหมาย อว.

28
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

หน่วยงานรับผิดชอบ กรอบระยะเวลา
มาตรการ/กิจกรรมหลัก ระยะเตรียมการ ระยะดาเนินการ
หลัก สนับสนุน
62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73
กลยุทธ์ 2.3 ผลักดันมาตรการที่เหมาะสมในการขับเคลื่อนการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน ในอนาคต
แผนงานที่ 2.3.1 วิเคราะห์ต้นทุนการ พพ./สนพ./
อบก.
ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก สผ.
พัฒนารูปแบบการประเมินต้นทุนการ
พพ./ สนพ./
ปล่อยก๊าซเรือนกระจกของแต่ละ อบก.
สผ.
มาตรการ
สร้างความเข้าใจให้เจ้าหน้าที่ที่ เจ้าหน้าที่
เกี่ยวข้องสามารถเก็บข้อมูลและ ของ พน. ที่
ต้นทุนการลดก๊าซเรือนกระจกของแต่ อบก. รับผิดชอบใน
ละมาตรการ แต่ละ
มาตรการ
29

ประเมินต้นทุนการลดก๊าซเรือน
สนพ. อบก.
กระจกของแต่ละมาตรการ
แผนงานที่ 2.3.2 จัดลาดับ
ความสาคัญของมาตรการ/เทคโนโลยี สวทน./พพ./
อบก.
ที่เหมาะสมในการขับเคลื่อนการลด สนพ./สผ.
ก๊าซเรือนกระจก
แผนงานที่ 2.3.3 นากลไกที่เหมาะสม
พพ./สนพ./
มาใช้ในการสนับสนุนมาตรการลด อบก.
สผ.
ก๊าซเรือนกระจก

29
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

หน่วยงานรับผิดชอบ กรอบระยะเวลา
มาตรการ/กิจกรรมหลัก ระยะเตรียมการ ระยะดาเนินการ
หลัก สนับสนุน
62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73
ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างเครือข่ายความร่วมมือ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
กลยุทธ์ 3.1 สร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
แผนงานที่ 3.1.1 สร้างเครือข่ายและ
ความร่วมมือต่อการดาเนินงานด้าน สผ. สส./อบก.
การลดก๊าซเรือนกระจก
แผนงานที่ 3.1.2 พัฒนาขีด
สมรรถนะของบุคลากรในการ
ดาเนินงานด้านการลดก๊าซเรือน
กระจก
สร้างความเข้าใจเรื่องก๊าซเรือนกระจก
กับการดาเนินงานในภาคพลังงาน
30

(สถานการณ์/เป้าหมายประเทศ/
อบก./ สผ.
ผลกระทบ)
กลุ่มเป้าหมาย: ผู้บริหารระดับสูง
(ครึ่งวัน)
อบรมเชิงปฏิบัติการการคานวณการ
ลดก๊าซเรือนกระจก (การคาดการณ์/
การติดตามผลการลดก๊าซเรือน
กระจก) อบก./ สผ. สนพ.
กลุ่มเป้าหมาย: เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ
แต่ละมาตรการ (1-2 วัน)

แผนงานที่ 3.1.3 ถ่ายทอดองค์


ความรู้ด้านการลดก๊าซเรือนกระจก อบก. สส./สผ.

30
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

หน่วยงานรับผิดชอบ กรอบระยะเวลา
มาตรการ/กิจกรรมหลัก ระยะเตรียมการ ระยะดาเนินการ
หลัก สนับสนุน
62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73
กลยุทธ์ 3.2 ประชาสัมพันธ์สร้างจิตสานึกด้านการลดก๊าซเรือนกระจก
แผนงานที่ 3.2.1 พัฒนาสื่อ
ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างจิตสานึกด้าน
การลดก๊าซเรือนกระจก
รณรงค์ประหยัดพลังงาน
กลุ่มเป้าหมาย: เจ้าหน้าที่ พน. อบก. สส./สผ.
ประชาชนทั่วไป
แผนงานที่ 3.2.2 เพิ่มช่องทางการ
เผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์
อบก. สส./สผ.
เพื่อสร้างการรับรู้และความตระหนัก
ต่อการลดก๊าซเรือนกระจก
31

31
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

บทที่ 6
แนวทางการขับเคลื่อนและติดตามประเมินผล

การขับเคลื่อนโครงการมาตรการต่างๆ ภายใต้/แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขา


พลังงาน พ.ศ. 2564 – 2573 ให้สามารถดาเนินการได้สาเร็จภายใต้ทรัพยากรด้านเวลา บุคลากร งบประมาณ
ที่มีอยู่อย่างจากัด พร้อมกับการประสานความร่วมมือด้านการลดก๊าซเรือนกระจกจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
ทังภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน จาเป็นต้องมีการบริหารจัดการกากับติดตาม และการประเมินผลที่ดี
ซึ่งมีองค์ประกอบที่สาคัญ ดังนี

6.1 การสร้างความรับรู้เกี่ยวกับแผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ สาขาพลังงาน

จั ด ให้ มี ก ารเผยแพร่ แ ละสร้ า งความรั บ รู้ เ กี่ ย วกั บ แผนปฏิ บั ติ ก ารฯ เพื่ อ ให้ ทุ ก ฝ่ า ยตระหนั ก ถึ ง
ความสาคัญของวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/มาตรการ เพื่อขับเคลื่อนการ
ดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการฯ ที่กาหนดไว้ ด้วยความเข้าใจในทิศทางที่ถูกต้องตรงกัน มองเห็นภาพสุดท้าย
และประโยชน์ที่แต่ละฝ่ายจะได้รับเพื่อสร้างความร่วมมือในการดาเนินงานให้เป็นรูปธรรมต่อไป

6.2 การจัดลาดับความสาคัญในการดาเนินงานตามแผนงานโครงการ/มาตรการ

การขั บ เคลื่ อนและด าเนิ น แผนงานโครงการ/มาตรการ ให้ แล้ ว เสร็ จ จาเป็ นต้ อ งมีก ารจัด ล าดั บ
ความสาคัญ และพิจารณาถึงความต่อเนื่องของแต่ละแผนงานโครงการ/มาตรการ เนื่องจากบางโครงการ
อาจจะต้องดาเนินการก่อนจึงจะสามารถดาเนินโครงการอื่นได้ ดังนัน เพื่อที่จะสามารถดาเนินงานตามแผนได้
อย่างมีประสิทธิภาพบรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ จุดเริ่มต้นของแต่ละโครงการควรกระจายไปอย่างเหมาะสม
ในแต่ละไตรมาส ตลอดช่วงระยะปีงบประมาณ 2564 – 2573 เพื่อให้หน่วยงานที่รับผิดชอบหลักของแต่ละ
แผนงานโครงการ/มาตรการ มีโอกาสเตรียมการและศึกษาแนวทางการดาเนินแผนงาน โครงการ/มาตรการไว้
ล่วงหน้า และไม่เป็นภาระที่หนักเกินไปในขณะที่หน่วยงานที่รับผิดชอบหลักยังต้องรับผิดชอบงานตามภารกิจ
ของหน่วยงานอยู่ด้วย

6.3 การพัฒนาศักยภาพการดาเนินงานของบุคลากร

การพัฒนาและดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการฯ ให้เป็นไปได้อย่างราบรื่นไม่ติดขัด ควรมีการพัฒนา


ศักยภาพบุคลากรในองค์กรต่างๆ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความสามารถในการดาเนินงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย

- ศักยภาพด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับก๊าซเรือนกระจก
- ศักยภาพด้านสมรรถนะการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับก๊าซเรือนกระจก
- ศักยภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรให้เกิดการใช้ประโยชน์ร่วมกัน

32
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

6.4 การบริหารความเปลี่ยนแปลง (Change Management) และปรับปรุงกระบวนการทางาน

การดาเนิน งานตามแผนปฏิบั ติการฯ อาจจาเป็นต้องมีการปรับปรุงกระบวนการและวิธีทางานที่


แตกต่างไปจากเดิม โดยบุคลากรบางส่วนอาจต้องทางานเพิ่มขึน ในขณะที่บางส่วนอาจทางานน้อยลง
แต่ภาพรวมการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการฯ จะดีขึน มีประสิทธิภาพมากขึน ดังนัน ควรมีการบริหารความ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึนทังในแง่บวกและลบ บริหารความเสี่ยงที่การดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการฯ อาจไม่
ประสบความส าเร็ จ รวมทังอาจใช้โ อกาสนีในการปรับปรุงกระบวนการทางานขององค์กรต่างๆ ให้ มี
ประสิทธิภาพเพิ่มขึนด้วย

6.5 โครงสร้างการบริหาร

ภาพรวมการบริหาร กากับติดตาม ประเมินผล ดาเนินแผนงาน/โครงการ/มาตรการตามยุทธศาสตร์ที่


กาหนดไว้ในแผนปฏิบัติการฯ จะเป็นดังนี

1. ใช้กลไกคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทางานที่เกี่ยวข้อง ทาหน้าที่กากับติดตามและ


ประเมินผลการดาเนินงานในการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการฯ ให้ดาเนินงานตามบริบทงานที่เกี่ยวข้องของแต่ละ
แผนงาน/โครงการ/มาตรการ ตามยุทธศาสตร์
2. การออกกฎระเบียบ แนวปฏิบัติที่จาเป็นต่อการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการฯ ขององค์กรต่างๆ
3. หน่วยงานที่รับผิดชอบและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการฯ
แผนงาน/โครงการ/มาตรการ และปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดลง และรายงานผลต่อสานักงานนโยบายและ
แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อกาหนดการติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน

6.6 การกากับติดตามและประเมินผลในทางปฏิบัติ
แนวทางการกากับติดตามและประเมินผลตามแผนปฏิบัติการฯ เป็นการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการ
ดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการฯ ที่กาหนดไว้ เพื่อวัดความสาเร็จ ตามตัวบ่งชีและค่าเป้าหมายที่กาหนด และ
ประเมินปั ญหาอุปสรรคในการดาเนินงาน และหาแนวทางแก้ไข ปรับปรุง และพัฒนางานให้ดียิ่งขึน ทังนี
อาจจะต้องมีการปรั บปรุงวิธีการดาเนิ นงานหรือปรับปรุง เปลี่ยนแปลงเป้าหมายของแผนงาน/โครงการ /
มาตรการ ให้เหมาะสมกับทรัพยากรหรือสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปในระหว่างปีงบประมาณ โดยต้องมี
การประเมินผลทัง 4 มิติ คือการติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ การติดตามแผนกิจกรรมประจาปี การประเมิน
ผลสัมฤทธิ์ของแผนงาน/โครงการ/มาตรการ และการประเมินประโยชน์ของแผนงาน/โครงการ/มาตรการตาม
แผนปฏิบัติการฯ ซึ่งการติดตามและประเมินผลแผนปฏิบัติการฯ มีวัตถุประสงค์ ดังนี
1. เพื่อรวบรวมผลการปฏิบัติงานตามแผนที่กาหนดไว้ โดยประเมินผลจากเงื่อนไขเวลาที่ควรปฏิบัติ
และสัมฤทธิ์ผลตามเป้าหมายเชิงปริมาณและคุณภาพของแผนงาน/โครงการ/มาตรการต่างๆ
2. เพื่อต้องการทราบปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานตามแผนงาน/โครงการ/มาตรการต่างๆ
ซึ่งจะนาไปสู่การปรับแผนปฏิบัติการฯ ในช่วงเวลาที่เหมาะสม

33
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

3. เพื่อต้องการทราบผลสัมฤทธิ์โดยรวมของแผนปฏิบัติการฯ ที่จะนาไปใช้ประโยชน์ในการจัดทา
แผนปฏิบัติการฯ ในปีต่อไป
4. เพื่อต้องการทราบขอบเขตการใช้ประโยชน์จากแผนปฏิบัติการฯ ในด้านการบริหารและการ
พัฒนาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

ขันตอนการติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามแผนปฎิบัติการฯ ประกอบด้วย
1. การกาหนดตัวบ่ งชีวัดผลส าเร็จและค่าเป้าหมายที่กาหนดและจัดเตรียมแบบประเมินผลการ
ดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการฯ ได้แก่ ตัวชีวัดเชิงคุณภาพ: ผลสาเร็จจากการดาเนินกิจกรรมส่งเสริมและ
สนับสนุน และตัวชีวัดเชิงปริมาณ: ปริมาณการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
2. การประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินงานตามแผนปฎิบัติการฯ ประจาปี เป็นการปรับแผนปฏิบัติ
การประจาปีในระดับแผนงาน/โครงการ/มาตรการ เพื่อยกเลิกหรือปรับปรุงแผนงาน/โครงการ/มาตรการ ที่มี
ผลทาให้วัตถุประสงค์ เป้าหมาย หรืองบประมาณการดาเนินงานเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
3. การจัดทารายงานสรุปผลการติดตามและประเมินผลแผนปฏิบัติการฯ ประจาปี
4. การทบทวนและปรับปรุงแผนปฏิบัติการฯ ทุก 5 ปี โดยแผนปฏิบัติการฯ สามารถปรับปรุงได้ตาม
ความเปลี่ยนแปลงของทรัพยากร สภาพแวดล้อม และ/หรือสถานการณ์ต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป การทบทวน
และปรับปรุงแผนปฏิบัติการฯ ทุก 3 ปี ในระดับกลยุทธ์ และกิจกรรมของแผนงาน/โครงการ/มาตรการ อาจมี
การปรับปรุงเพิ่มเติมหรือยกเลิกกิจกรรมต่างๆ ได้ โดยหากไม่มีการเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ของโครงการ

34
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

อักษรย่อหน่วยงาน

กทม. กรุงเทพมหานคร
กนอ. การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
กฟน. การไฟฟ้านครหลวง
กฟผ. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
กฟภ. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
กรอ. กรมโรงงานอุตสาหกรรม
กษ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ขบ. กรมการขนส่งทางบก
คค. กระทรวงคมนาคม
คพ. กรมควบคุมมลพิษ
ชธ. กรมเชือเพลิงธรรมชาติ
ธพ. กรมธุรกิจพลังงาน
พพ. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
ยผ. กรมโยธาธิการและผังเมือง
รฟท. การรถไฟแห่งประเทศไทย
สกพ. สานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน
สถ. สานักงานส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
สนข. สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร
สนพ. สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน
สป.พน. สานักงานปลัดกระทรวงพลังงาน

35
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

สผ. สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สมอ. สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
สวทน. สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ
สศก. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
สศช. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
สส. กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
อจน. องค์การจัดการนาเสีย
อบก. องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)
อปท. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
อว. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม

36
แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 - 2573 สาขาพลังงาน

เอกสารอ้างอิง

Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning. (2016). Thailand’s
Second Biennial Update Report. Thailand.
แผนที่น าทางการลดก๊ าซเรื อ นกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 – 2573 (Thailand’s Nationally
Determined Contribution Roadmap on Mitigation 2021 – 2030). สานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
แผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2558 – 2579 (Energy Efficiency Plan; EEP 2015). กระทรวงพลังงาน.
แผนปฏิบัติการอนุรักษ์พลังงาน 5 ปี (พ.ศ. 2560 – 2564) ตามกรอบแผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2558-2579.
กระทรวงพลังงาน
แผนพัฒ นาพลั งงานทดแทนและพลั งงานทางเลื อก พ.ศ. 2558 – 2579 (Alternative Energy
Development Plan: AEDP2015). กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน.
กันยายน 2558.
แผนปฏิบั ติการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลั งงานทางเลื อก พ.ศ. 2558 – 2579 ตามกรอบแผนแม่บท
แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558 – 2579. กระทรวงพลังงาน.
แผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2561 – 2580 (PDP2018). สานักงานนโยบายและแผน
พลังงาน กระทรวงพลังงาน. เมษายน 2562.

37

You might also like