You are on page 1of 23

GAS PLAN FOR THAILAND

PTTEP KM WEEK 2018


ดร.สราวุธ แก้วตาทิพย์
รองอธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ
กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ, กระทรวงพลังงาน

13 กันยายน 2561
โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว
หัวข้อการบรรยาย
 จุดเริ่มต้นแผนบูรณาการพลังงานระยะยาว (TIEB)
 แผนบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติ (Gas plan)
 อนาคตธุรกิจก๊าซธรรมชาติในยุค Disruptive Technology
พัฒนาการแผนพลังงานของประเทศไทย

EEP: 2011-2030

AEDP: 2012-2021

REDP: 2008-2022

2007 08 09 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 2036

PDP 2007: 2007-2021

PDP 2007 rev 2: 2008-2021

PDP 2010: 2010-2030

PDP 2010 Rev 3: 2012-2030

NESDB#10 NESDB#11
2007-2011 2012-2016
3
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (TIEB)

แผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP 2015)

แผนอนุรักษ์พลังงาน (EEP) 2015

แผนพัฒนาพลังงานทดแทน (AEDP) 2015

แผนบริหารจัดการน้ามันเชื้อเพลิง (Oil Plan)

แผนบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติ (GAS Plan)

2015 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 2036

NESDB#12 NESDB#13 NESDB#14 NESDB#15


2017-2021 2022-2026 2027-2031 2032-2036

4
ผลสารวจสถานะพลังงานของไทยในปี 2012
ความมั่นคงทางพลังงาน
A ▪ ทรัพยากรที่ลดลง และการพึ่งพาการนาเข้า
น้ามันและ LNG ที่มากขึ้น
Best in class

Competitive
ความสามารถในการแข่งขัน ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ด้านต้นทุนพลังงาน B C ▪ ค่าGDP ที่เพิ่มขึ้นในอัตรา
Lagging
▪ การนาเข้าก๊าซที่สูงขึ้นและ ที่ต่ากว่าอัตราการปล่อย
การลดลงของทรัพยากรก๊าซ มลพิษ
ธรรมชาติในประเทศ

ความยั่งยืนของการสนับสนุนราคา การสนับสนุนทางสังคมและเศรษฐกิจ
พลังงาน1 D E สาหรับผู้ขาดแคลน
▪ การอุดหนุนพลังงานมีแนวโน้ม ▪ การอุดหนุนพลังงานทีไ่ ปไม่ถึงกลุม่ เป้าหมาย
ที่จะสูงขึ้นภายใต้นโยบายปัจจุบัน (ผู้มีรายได้ต่า)
2035
2012

1พยากรณ์บนพื้นฐานของการคงไว้ต่อการอุดหนุนพลังงานปัจจุบันต่อหนึ่งหน่วยพลังงานที่ถูกใช้
SOURCE: Team analysis, LEAP data, IEA energy balances, IEA emission factors 5
ก้าวสาคัญ (Bold Moves) ภายใต้แผนบูรณาการพลังงานระยะยาว
รายละเอียด ผลลัพธ์
แผนพัฒนากาลัง  เพิ่มสมดุลการใช้พลังงาน  เพิ่มสัดส่วนการใช้ถ่านหิน
การผลิตไฟฟ้า โดยเพิ่มการนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด จากเดิม 20% เป็น 25 %
มาใช้ในการผลิตไฟฟ้ามากขึ้น  ใช้ถ่านหินสะอาด 20%
(PDP) จากเดิมใช้ถ่านหินปกติทั้งหมด
 ยกเลิกการชดเชยราคาน้ามัน  เป้าหมายลด
แผนอนุรักษ์พลังงาน เพื่อให้สะท้อนราคาต้นทุนในตลาดโลก Energy intensity 30%
(EEP)  กระตุ้นการอนุรักษ์พลังงาน (ปัจจุบันเพิ่มขึ้น 0.5%
ผ่านมาตรการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานต่าง ๆ ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา)
 แนวทางปฏิบัติสาหรับพลังงานหมุนเวียนแต่ละประเภท
แผนพัฒนาพลังงานทดแทน  เพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทน
ตามหลัก Cost effectiveness: ในการผลิตไฟฟ้าเป็นร้อยละ 20
(AEDP):  ผลักดัน: ขยะ และชีวมวล
พลังงานหมุนเวียน  ดาเนินการต่อเนื่อง: พลังงานแสงอาทิตย์ (ปัจจุบันประมาณร้อยละ 8)
 ติดตาม: พลังงานลม
 เป้าหมายใช้เชื้อเพลิงชีวภาพ
แผนพัฒนาพลังงานทดแทน  เพิ่มปริมาณผลผลิตภาคการเกษตร ร้อยละ 20 ในภาคขนส่ง
(AEDP): เพื่อลดการนาเข้าน้ามัน, เพิ่มปริมาณ bio-fuels และ (ปัจจุบัน 4%)
Bio-fuels สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร  เพิ่ม GDP 50,000 ล้านบาท/ปี
 จากัดอัตราการลดลงของการ
 ยืดอายุแหล่งทรัพยากรในประเทศ
น้ามันและ ผลิตก๊าซธรรมชาติจากแหล่ง
โดยมีนโยบายกระตุ้นการสารวจและผลิตในประเทศ ในประเทศ เป็น 2-5% ต่อปี
ก๊าซธรรมชาติ และบริหารจัดการสัมปทานที่จะสิ้นสุด จากเดิม 11% ต่อปี)
 เพิ่มวงเงินในระบบเศรษฐกิจ
 มาตรการช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยโดยตรง ประมาณ 380,800 ล้านบาท
ภาคเศรษฐกิจ
เพื่อตอบสนองความต้องการเฉพาะกลุ่ม เพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์
สูงสุด 6
ก้าวสาคัญ (Bold Moves) จะเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันของไทย
Outcome of plans Impact on energy system
xx % difference of scenario vs. BAU 2036 delta moves 2036 BAU

ความมั่นคงทางพลังงาน
A

+23%
ความสามารถในการแข่งขัน
ด้านต้นทุนพลังงาน ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
B C

+8% ~0%

ความยั่งยืนของการ D
+95% 2.3 x การสนับสนุนทางสังคม
E
สนับสนุนราคาพลังงาน1 และเศรษฐกิจสาหรับ
ผู้ขาดแคลน2
1 Assumingfossil fuel subsidies are removed, but renewables are still subsidised; estimates based on Brazil case study
2 Assumingsimilar average success rate as other targeted subsidy schemes such as Bolsa Familia in Brazil
Source: PDP ,AEDP, EEDP, Gas master plan, and Oil master plan 7
Rapidly decreasing domestic supply and increasing demand
will push Thailand into a high-cost LNG import era
Demand and supply evolution - BAU
Today’s situation

 Thailand relies
heavily on gas
(e.g. 70% of power
generated using
gas)

 Domestic
production will
soon decline at a
rapid pace

 Thailand will
increasingly rely on
high-cost LNG
imports, causing
the energy costs to
shoot up

1 Assuming price difference of 5 $/mmbtu between LNG and GoT gas; 1 $ = 33 THB
Source: DMF, team analysis 8
แผนบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติ (Gas Plan 2015)
G1 ชะลอการเติบโตของความต้องการใช้ก๊าซ (สนพ.)
G1-1 ปรับราคา G1-2 (PDP) ลดการพึ่งพา การใช้ก๊าซ ณ ปลายแผน
Pool Pricing ก๊าซธรรมชาติตามแผน PDP
ลดลง
G1-3 (EE) เร่งมาตรการประหยัดพลังงานตามแผน EEP

G2 รักษาระดับการผลิตก๊าซธรรมชาติ (ชธ.) รักษาระดับการผลิตจาก


G2-1 บริหารจัดการสัมปทานจะสิ้นอายุ
ปี 2565-66 แหล่งในประเทศให้ผลิตได้
G2-2 เปิดให้ยื่นขอสิทธิสารวจและผลิต
ปิโตรเลียมรอบใหม่
G2-3 บริหารจัดการก๊าซในอ่าว นานขึ้น

G3 หาแหล่งและการบริหารจัดการ LNG อย่างมีประสิทธิภาพ (ชธ.)  ตั้งหน่วยงานกากับกิจการ LNG


 มีผู้นาเข้า LNG > 1 ราย
G3-1 การจัดหา LNG ให้ G3-2 ศึกษาแนวทาง
 พิจารณารูปแบบการจัดหาและ
เพียงพอและมีการแข่งขัน การกากับดูแลด้าน LNG ตลาด LNG ที่เหมาะสม

G4 มีโครงสร้างพื้นฐานและแนวทางด้านการแข่งขัน (สนพ.)  TPA เกิดขึ้นจริง


G4-1 ติดตามแผนโครงสร้าง G4-2 LNG G4-3 แนวทางสร้างการแข่งขัน  วางแผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
พื้นฐานก๊าซธรรมชาติ Terminal กิจการก๊าซธรรมชาติ ให้เพียงพอ
9
แผนจัดหาก๊าซธรรมชาติระยะยาว (Gas supply)
พ.ศ. 2559 - 2579
(กรณีปรับปรุงครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2559)

10
ความต้องการ LNG เทียบกับแผนการก่อสร้างสถานี LNG
Million tons per year
LNG demand will approximately be 35 MTPA in 2036

PETRONAS 1.2 MTPA

BP 1 MTPA

Shell 1 MTPA

Qatar 2 MTPA
2016

2017

2018

2019

2020

2021

2022

2023

2024

2025

2026

2027

2028

2029

2030

2031

2032

2033

2034

2035

2036
Demand (Case revised I in 2016) LNG Terminal Capacity

Current LNG Long Term Contract


• Qatar 2 MTPA
• Shell 1 MTPA
• BP 1 MTPA
• PETRONAS 1.2 MTPA
11
สัมปทานที่จะสิ้นอายุสัมปทานในปี 2565-2566
ทั้งสองแหล่งมีอัตราการผลิตก๊าซธรรมชาติรวม
≈ 75% ของการผลิตก๊าซฯในอ่าวไทย
≈ 44% ของการจัดหาก๊าซฯของประเทศ
แหล่งก๊าซธรรมชาติกลุ่มเอราวัณ
บริษัทเชฟรอนฯ และคณะ
(สัมปทานปิโตรเลียมเลขที่ 1/2515/5 & 2/2515/6)
แปลง 10 11 12 และ 13
ได้รับสัมปทาน มี.ค. 2515
สิ้นสุดระยะเวลาผลิต 30 ปี ในปี 2555
สิ้นสุดระยะเวลาผลิตที่ได้รับการต่อ 10 ปี ในปี 2565
ปริมาณการขาย 1,240 ล้าน ลบ.ฟุต/วัน

แหล่งก๊าซธรรมชาติกลุ่มบงกช
บริษัทปตท.สผ. และคณะ
(สัมปทานปิโตรเลียมเลขที่ 3/2515/7 & 5/2515/9)
แปลง 15 16 และ 17 (แหล่งก๊าซบงกช)
ได้รับสัมปทาน มี.ค. 2515
สิ้นสุดระยะเวลาผลิต 30 ปี ในปี 2555 และ 2556
สิ้นสุดระยะเวลาการผลิตที่ได้รับการต่อ 10 ปี ในปี 2565 และ 2566
ปริมาณการขาย 870 ลบ.ฟุต/วัน

12
การคาดการณ์ผลกระทบต่อการจัดหาก๊าซฯ ในกรณีที่ผู้รบั สัมปทานหยุดลงทุน
ผลกระทบปี 2561 - 2568 ก๊าซธรรมชาติหายไปจากระบบ 3.045 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต

นาเข้า • จะต้องนาเข้า LNG เพิ่มขึ้นจากปัจจุบันถึง 40 ล้านตัน เพื่อทดแทนก๊าซส่วนที่หายไป


LNG • เป็นมูลค่า 600,000 ล้านบาท ที่ ราคา LNG 8 USD/MMBTU

ผลกระทบค่า • นาเข้า LNG ที่ราคา 8 USD/MMBTU (496 USD/TON) ส่งผลกระทบต่อค่า Ft


Ft สูงสุดในปี 64 ที่ 14.21 สตางค์/หน่วย

ผลกระทบจาก • ผลกระทบจากการนาเข้า LPG และวัตถุดิบปิโตรเคมี เพื่อทดแทน 30% ของก๊าซที่หายไป


การนาเข้า LPG • ต้องนาเข้า LPG ประมาณ 111,200 ล้านบาท
• นาเข้าก๊าซอีเทน ประมาณ 71,500 ล้านบาท

ผลกระทบต่อ • ค่าภาคหลวงลดลง 3,900* ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 140,000 ล้านบาท)


• ภาษีเงินได้ปิโตรเลียมลดลง 2,845* ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 102,420 ล้านบาท)
รายได้รัฐ
• ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ 2,925* ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 105,300 ล้านบาท)
*หลังจากปี 2565 ใช้ระบบจัดเก็บรายได้ Thailand III (ตัวเลขแสดงเป็น Money Of the Day) 14
ระบบบริหารจัดการปิโตรเลียม
ระบบสัมปทานไทย ระบบแบ่งปันผลผลิต (PSC)
ข้อดี  การพัฒนาโครงการรวดเร็วกว่า  รัฐควบคุม กากับดูแลและมีส่วนร่วมตัดสินใจ
 ผลประโยชน์กาหนดไว้ชัดเจน ในการดาเนินการและการอนุมัติได้มากกว่า
ไม่ต้องเจรจาต่อรอง (เนื่องจากรัฐมีส่วนร่วมในการลงทุน)
 เอกชนมีแรงจูงใจที่จะลดต้นทุน  รัฐบริหารจัดการปิโตรเลียมได้มากกว่า
 ภาระค่าใช้จ่ายในการกากับดูแลของภาครัฐ (มีการเจรจาต่อรองมากกว่า)
น้อยกว่า

ข้อเสีย • อาจถูกมองว่า รัฐเสียอานาจควบคุม • ใช้เวลานานกว่า ในการดาเนินงาน


เพราะมีขั้นตอนต้องอนุมัติมาก
• ผลประโยชน์ต้องเจรจารายสัญญา
• การบริหารค่าใช้จ่ายอาจไม่มีประสิทธิภาพ
• มีโอกาสทุจริตได้มากกว่า หากดูแลไม่ทั่วถึง
และมีการแทรกแซงได้ง่ายกว่า
• ภาระค่าใช้จ่ายในการกากับดูแลมากกว่า

15
ระบบบริหารจัดการปิโตรเลียม
หัวข้อพิจารณา เหมือนกัน ต่างกัน รายละเอียด
ความเป็นเจ้าของ  รัฐเป็นเจ้าของปิโตรเลียม และอุปกรณ์สิ่งติดตั้ง

ความเสี่ยง  รัฐกาหนดให้บริษัทน้ามันรับความเสี่ยงได้

ผลประโยชน์รัฐ  รัฐกาหนดผลประโยชน์ได้ตามที่ต้องการ

การควบคุมของรัฐ ในระดับ นโยบาย (มาตรฐาน กฎระเบียบ) ไม่แตกต่างกัน


 ในระดับ ปฎิบัตกิ าร มีความแตกต่างกัน
- ระบบสัมปทาน
รัฐสามารถกากับดูแลและติดตามตรวจสอบได้
โดยรัฐไม่ต้องเข้าร่วมลงทุน
- ระบบแบ่งปันผลผลิต (PSC)
รัฐเข้าร่วมลงทุนและควบคุมโดยตรง ผ่านการอนุมัติ
แผนการลงทุนในแต่ละปี มีผลทาให้การดาเนินงาน
เกิดความล่าช้า และมีต้นทุนสูง อีกทั้งเป็นช่องทางให้
แทรกแซงได้ง่าย

16
ปัจจัยที่ส่งผลต่อธุรกิจก๊าซธรรมชาติ

Electric Vehicle (EV)

Disruptive technologies
Solar
Digitalization
Energy Storage
Decarbonization

Smart Meter
Distributed Generation

Smart Grid

17
The future is electrifying

Electricity generation by selected regions

Southeast Asia

Japan

Korea

500 1000 1 500 2 000 2 500


TWh

2016 Growth to 2040

Southeast Asian electricity generation is set to more than double by 2040, requiring additions greater
than Japan’s current power capacity

ทีม
่ า: International Energy Agency (IEA) 18
Wind and solar PV costs falling rapidly

Announced wind and solar PV average auction prices by commissioning date

USD/MWh
180
160
140 Onshore wind average
auction price
120
100
80
60
Solar PV average
40 auction price
20
0
2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020

Technology progress and competition have driven down prices to record-low levels in countries with
good renewable resources, transparent policies and well-designed auction schemes

ทีม
่ า: International Energy Agency (IEA) 19
อนาคตของธุรกิจก๊าซธรรมชาติในยุค Digital technologies

ทีม
่ า: Digitalization and Energy 2017, International Energy Agency (IEA) 20
สถานการณ์วัตถุดิบของแบตเตอรี่สาหรับ EV
Demand & Supply และแนวโน้มราคาวัตถุดิบ
ทิศทางราคาปี 2012-2017
Graphite

Supply > Demand


Lithium

Supply > Demand


Cobalt

Demand > Supply

ที่มา: DERA Industrieworkshop แร่ที่มีแนวโน้มความต้องการมากกว่าที่ผลิตได้ คือ โคบอลท์ และคาดว่าจะมีราคาสูงขึ้นในอนาคต 21


แบตเตอรี่แบบ Solid-state คือคาตอบ !!
แบตเตอรี่แบบ Solid-state ได้รับการคาดหมายว่าจะเป็น
เทคโนโลยีที่ขับเคลื่อนตลาดรถพลังงานไฟฟ้าแบตเตอรี่ในอนาคต

คุณสมบัติพิเศษของแบตเตอรี่แบบ Solid-state
ความจุของ ความปลอดภัย การออกแบบ ความเร็ว ความทนทาน อายุการใช้งาน ความสามารถ
กระแสไฟฟ้า ในการชาร์จ ในการเก็บประจุ
ความจุมากขึ้น ไม่รั่ว เปลี่ยนแปลง ระยะเวลาในการ ใช้งานที่อุณหภูมิ ชาร์จมากกว่า 5 เท่าของ
เนื่องจาก ไม่มีความเสี่ยง รูปร่างได้ ชาร์จลดลง -30 ถึง 100 3,000 รอบ แบตเตอรี่
มีช่องว่างที่ลดลง ต่อการลุกไหม้ และขนาดเล็กลง องศาเซลเซียส Lithium-ion

22
ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดการใช้รถพลังงานไฟฟ้าแบตเตอรี่
แผนการผลิตจาหน่ายรถพลังงานไฟฟ้าแบตเตอรี่ที่ใช้แบตเตอรี่แบบ Solid-state

Panasonic, Tesla’s Battery Partner, may have Honda looking at solid-state battery Toyota set to sell long-range, fast-charging
upcoming EV Battery Breakthroughs technology electric cars in 2022

Panasonic, Tesla’s battery supplier, is also taking a hard Honda spokesperson Teruhiko Tatebe has revealed to Toyota Motor Corp is working on an electric car powered by
look at solid-state technology. “We think the existing Reuters that the automaker is investigating the use of a new type of battery that significantly increases driving
technology can still extend the energy density of Li-ion solid-state batteries for future electric cars. range and reduces charging time, aiming to begin sales in
batteries by 20% to 30%,” President Kazuhiro Tsuga told 2022.
Nikkei. Solid-state batteries are seen as a breakthrough technology
for electric cars as they promise significantly improved Toyota’s new electric car, to be built on an all-new
battery density compared to current technology, which platform, will use all-solid-state batteries, allowing it to be
means range can be increased without having to suffer recharged in just a few minutes.
from a bigger battery and the associated weight costs.
Renault-Nissan aims to leapfrog competition By contrast, current electric vehicles (EVs), which use
on new battery technology lithium-ion batteries, need 20-30 minutes to recharge even
with fast chargers and typically have a range of just 300-
The Renault-Nissan-Mitsubishi Alliance is aiming to take the 400 kilometers (185-250 miles).
lead in new solid-state battery technology.

The Alliance, formed in 1999 between the French and


Japanese car giants, is targeting 2025 to use the next
generation of batteries within its automobile range. BMW teams up with Solid Power to develop
solid-state batteries for cars
Solid-state batteries are smaller, cheaper and can work at a
higher capacity than alternatives, such as lithium-ion, BMW is chasing that solid-state battery tech carrot, same Hyundai working on next-gen solid-state
currently widely used in the industry. as most everyone else in the industry. It’s announcing a batteries for electric vehicles
new partnership with battery technology company Solid
Power to develop and commercialize the latter’s solid-sate Hyundai may be working on solid-state batteries in their
battery technology for use in electric vehicles. facilities they own. Hyundai is developing solid-state
batteries through its Namyang R&D Center’s battery
Solid State already produces batteries made up of inorganic precedence development team and it has secured a certain
Fisker claims solid-state battery ‘breakthrough’ materials developed by the company specifically for the level of technology.
for electric cars with ‘500 miles range and 1 purpose, which can produce battery cells that have a
min charging higher energy density vs. their lithium-ion equivalents, Hyundai is apparently developing the technology without
The company is announcing a breakthrough in solid-state which means more power and range from the same size help from Korean battery manufacturers like LG Chem or
batteries to power their next-generation electric cars and battery. Samsung SDI. Hyundai might be able to mass produce
Now Fisker announced that they are patenting a new solid- solid-state batteries around 2025.
state electrode structure that would enable a viable battery
with some unbelievable specs.

23
Thank you
www.energy.go.th

You might also like