You are on page 1of 27

1

นโยบายและการส่งเสริมด้านพลังงานแสงอาทิตย์
บนหลังคาและลอยน้า
งานสัมมนาเชิงวิชาการ
เรื่อง “ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
บนหลังคา (Solar Rooftop) และลอยน้า (Floating) :
ข้อก้าหนด การออกแบบติดตัง ควบคุมและบ้ารุงรักษา”

วันจันทร์ที่ 18 กรกฎาคม 2565 เวลา 08.45-09.30 น.


ณ ห้องกมลทิพย์ โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพฯ
2

หัวข้อน้าเสนอ

สถานการณ์ปัจจุบันของการติดตังและใช้งาน

นโยบายและแผนพลังงานของประเทศไทย

โครงการ และแผนการรับซือไฟฟ้าในปัจจุบัน

7/14/2022
3

สถานการณ์ปัจจุบันของการติดตังและใช้งาน

7/14/2022
4

สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจาก
ตังแต่ปี 2017 - 2050

ที่มา : Global Renewable Outlook; Energy Transformation 2050. IRENA 2020

7/14/2022
5

ต้นทุนพลังงานแสงอาทิตย์ ลดลงมากอย่างต่อเนื่อง
ส่งผลต่อการใช้งานที่ เพิ่มขึนแบบก้าวกระโดด

ที่มา : BP Energy Outlook 2022 ที่มา : https://ourworldindata.org/grapher/installed-solar-pv-capacity

7/14/2022
6

แนวโน้มการติดตังพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาเพิ่มสูงขึนทุกปี

36 GW ในปี 2017 - - >


59 GW ในปี 2021
(เพิ่มขึน 64%)
คิดเป็น 30% ของ
การติดตั้งพลังงานแสงอาทิตย์ของโลก

https://reneweconomy.com.au/global-rooftop-solar-installations-to-double-by-2025-to-nearly-100gw-a-year/

7/14/2022
7

ตัวเลขการติดตังสะสมของ
พลังงานแสงอาทิตย์แบบลอยน้า ประมาณ 50%
เพิ่มขึนทุกปี ตังแต่ปี 2017-2020 ติดตังที่ประเทศจีน

ที่มา : Floating Photovoltaic System Cost Benchmark: Q1 2021 Installations on Artificial Water Bodies , National Renewable Energy Laboratory (NREL)

7/14/2022
8

ปริมาณก้าลังการผลิตติดตังปัจจุบันของประเทศไทย

(โครงการของภาครัฐ / การรับซือ FiT / Private PPA / IPS) (โครงการของภาครัฐ / EGAT / Private PPA )

1,029.89 MW 321.63 MW

7/14/2022
9

นโยบายและแผนพลังงานของประเทศไทย

7/14/2022
10

แผนพลังงานของประเทศไทย
11

AEDP2018
การใช้พลังงานทดแทน
เพิ่ม สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทน
ของการใช้พลังงานขันสุดท้ายในปี 2580
40,000
35,000
พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ (ktoe)

30,000 เชื้อเพลิงชีวภาพ 11%


25,000
20,000 ความร้อน 70%
15,000
10,000 ไฟฟ้า 19%
5,000
0
2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573 2574 2575 2576 2577 2578 2579 2580

ปี พ.ศ.

7/14/2022
12

AEDP2018
เป้าหมาย การผลิตการใช้พลังงานทดแทน 30% ต่อการใช้พลังงานรวมขันสุดท้าย

ไฟฟ้า ความร้อน เชือเพลิงชีวภาพ


พลังงานไฟฟ้า (MW) เป้าหมาย ปี 80 พลังงานความร้อน (ktoe) เป้าหมาย ปี 80 เป้าหมาย ปี 80
เชือเพลิงชีวภาพ
1. ขยะชุมชน 900.00 1. พลังงานขยะ 495.00 (ลล./วัน)
2. ขยะอุตสาหกรรม 75.00 2. ชีวมวล 23,000.00 1. เอทานอล 7.50
3. ชีวมวล 5,790.00 3. ก๊าซชีวภาพ 1,283.00 2. ไบโอดีเซล 8.00
4. ก๊าซชีวภาพ (น้าเสีย/ของเสีย) 565.00 4. พลังงานแสงอาทิตย์ 100.00 3. น้ามันไพโรไลซิส 0.53
5. พลังน้าขนาดเล็ก 308.00 5. ไบโอมีเทน* 2,023.00 รวม 16.03
6. ก๊าซชีวภาพ (พืชพลังงาน) 1,000.00 รวม 26,901.00
7. พลังงานลม 2,989.00 * เทียบเท่าไบโอมีเทน 4,800 ตันต่อวัน
8. พลังงานแสงอาทิตย์ 12,139.00
9. พลังงานแสงอาทิตย์ลอยน้า 2,725.00
10. พลังน้าขนาดใหญ่ 2,920.00
รวม 29,411.00

7/14/2022
13

ตามที่คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2563 มีมติเห็นชอบแผนพลังงาน 4 แผน ได้แก่


- แผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2561 – 2580 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 (PDP 2018 Rev.1)
- แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2561 – 2580 (AEDP 2018)
- แผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2561 – 2580 (EEP 2018)
- แผนบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติ พ.ศ. 2561-2580 (Gas Plan 2018) และ
ให้กระทรวงพลังงานพิจารณาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการปรับปรุงแก้ไข กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้สามารถบูรณาการแผนด้านพลังงานต่างๆ ให้เป็นเอกภาพและน้าเสนอคณะรัฐมนตรี พิจารณาให้
ความเห็นชอบเป็นแผนเดียว

เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2564 คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ได้เห็นชอบกรอบแผนพลังงานชาติ


และมอบหมายกระทรวงพลังงานจัดทาแผนปฏิบัติการด้านพลังงาน พ.ศ. 2566-2580
(แผนพลังงานชาติ) ตามกรอบการดาเนินการ โดยประกอบด้วยแผนย่อย
รายสาขา 5 แผน ได้แก่ แผนด้านไฟฟ้า แผนด้านพลังงานทดแทน
แผนด้านอนุรักษ์พลังงาน แผนด้านก๊าซธรรมชาติ และ
แผนด้านน้ามันเชื้อเพลิง

7/14/2022
14

เป้าหมายด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศ

การยกระดับความมุ่งมัน่ ของประเทศไทย

Carbon Neutrality ภายในปี 2050

Net Zero Emission ภายในปี 2065

การประชุม COP26 หรือ การประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญา ยกระดับเป้าหมาย NDC เป็น 40% ภายในปี 2030
สหประชาชาติ ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 26
ระหว่างวันที่ 31 ตุลาคม ถึงวันที่ 12 พฤศจิกายน 2564 และ Net Zero Emission ภายในปี 2050
ณ เมืองกลาสโกว์ สหราชอาณาจักร หากได้รับการสนับสนุนด้านการเงิน และเทคโนโลยี

7/14/2022
15

แผนพลังงานชาติ (National Energy Plan : NEP)

7/14/2022
16

แนวทางที่เกี่ยวข้องด้านไฟฟ้า - หลักการที่ส้าคัญ
1 เน้นความมั่นคงของระบบไฟฟ้าของประเทศ (Security)
เพื่อให้มีความมั่นคงครอบคลุมทั้งระบบผลิตไฟฟ้า ระบบส่งไฟฟ้าและความมั่นคงรายพื้นที่ คานึงถึงผู้ใช้ไฟฟ้านอกระบบ (IPS) รวมถึง Disruptive
Technology เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความยืดหยุ่นเพียงพอต่อการรองรับ Energy Transition

2 ต้นทุนค่าไฟฟ้าอยู่ในระดับที่เหมาะสม (Economy)
อัตราค่าไฟฟ้ามีเสถียรภาพ สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง ประชาชนไม่แบกรับภาระอย่างไม่เป็นธรรม และไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศในระยะยาว
รวมถึงเตรียมความพร้อมของระบบไฟฟ้าเพื่อให้เกิดการแข่งขันด้านการผลิตไฟฟ้า การบริหารจัดการเพื่อนาแหล่งพลังงานไฟฟ้าแบบกระจายศูนย์
(DER) มาใช้ประโยชน์ ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าในภาพรวมของประเทศ

3 ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (Ecology) โดยการจ้ากัดปริมาณการปลดปล่อย CO2


ให้สอดคล้อง ตามเป้าหมายแผน NEP
เป้าหมายการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระยะยาวของประเทศ ตามนโยบาย Carbon neutrality และ Net zero emission โดยการสนับสนุน
การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน และการเพิ่มประสิทธิภาพในระบบไฟฟ้า (Efficiency) ทั้งด้านการผลิตไฟฟ้าและด้านการใช้ไฟฟ้าโดยนาเทคโนโลยี
ระบบโครงข่ายไฟฟ้าสมาร์ทกริดมาใช้อย่างเต็มที่

7/14/2022
17

ผลที่คาดว่าจะได้จากการปรับแผนพลังงานสู่

7/14/2022
18

โครงการ และแผนการรับซือไฟฟ้าในปัจจุบัน

7/14/2022
19

เป้าหมายการด้าเนินงาน และเป้าหมายในการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนของ กฟผ.

ศักยภาพโรงไฟฟ้าโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ของ กฟผ.
• เพื่อบรรลุนโยบายความเป็นกลางทางคาร์บอนของประเทศไทย กฟผ. ได้ด้าเนินการ
ส้ารวจศักยภาพโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทุ่นลอยน้าไฮบริด เพิ่มเติมในพืนที่
เขื่อนทัง 10 เขื่อน ซึ่งสามารถเพิ่มก้าลังผลิตไฟฟ้าได้รวมทังสิน 10,416 MW
• โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทุ่นลอยน้าในพืนที่โรงไฟฟ้า 55 MW
• โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนพืนดินในพืนที่โรงไฟฟ้า และเขื่อน 2,373 MW

7/14/2022
20

เขื่อนสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี
ขนาดก้าลังผลิตติดตัง 45 MW

▪ แผงโซลาร์เซลล์ชนิด Double Glass ที่มีความแข็งแรงทนทานสูง และ ✓ประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้าดีกว่าการติดตังบนบกถึง 10% – 15%


ทนความชืนได้ดี จ้านวน 144,420 แผ่น แบ่งออกเป็น 7 ชุด ✓ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ประมาณ 47,000 ตันต่อปี (เท่ากับการปลูกป่า
▪ ติดตังอยู่บนพืนที่ผิวน้าประมาณ 450 ไร่ (ไม่ถึง 1% ของพืนที่อ่างเก็บน้า) ประมาณ 37,600 ไร่)
▪ เริ่มจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบ เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2564 ✓ลดการระเหยของน้าได้ประมาณ 460,000 ลูกบาศก์เมตรต่อปี
✓ลดการน้าเข้าก๊าซธรรมชาติจากต่างประเทศได้ถึง 730.62 พันล้านบีทียูต่อปี

7/14/2022
21

Solar rooftop ≤10 kWp โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์


ที่ติดตังบนหลังคา ส้าหรับภาคประชาชน
อินเวอร์เตอร์
มิเตอร์
ประเภทบ้านอยู่อาศัย
เป้าหมายการรับซือปีละ 10 เมกะวัตต์ (MWp)

ราคารับซือไฟฟ้าส่วนเกิน 2.20 บาทต่อหน่วย

ระยะเวลารับซือ 10 ปี

ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติมที่ : สานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน
(สานักงาน กกพ.) หรือ
http://www.erc.or.th/ERCWeb2/Front/News/NewsDetail.aspx?Typ
e=1&CatId=1&rid=85397&muid=36&prid=21

14
7/14/2022
22

โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
ที่ติดตังบนหลังคา ส้าหรับกลุ่มโรงเรียน สถานศึกษา
โรงพยาบาล และสูบน้าเพื่อการเกษตร

เป้าหมายการรับซือ 10 เมกะวัตต์ (MWp)

ราคารับซือไฟฟ้าส่วนเกิน 1 บาทต่อหน่วย

ระยะเวลารับซือ 10 ปี

ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติมที่ : สานักงานคณะกรรมการกากับกิจการพลังงาน
(สานักงาน กกพ.) หรือ
https://www.erc.or.th/ERCWeb2/Front/News/
NewsDetail.aspx?rid=87591&CatId=1&&muid=36
ระเบียบ กกพ.ฯ

7/14/2022
23

การรับซือไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนส่วนเพิ่ม
การรับซือไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนส่วนเพิ่ม ภายใต้แนวทางการบริหารจัดการก๊าซธรรมชาติ ปี 2565
ตามมติ กบง. เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2565

ผู้ผลิตไฟฟ้าประเภทชีวมวล หรืออื่น ๆ
มีโรงไฟฟ้าอยู่แล้ว ไม่มีการลงทุนใหม่
โรงไฟฟ้าที่ใช้เชือ้ เพลิง จากสัญญาเดิมและ
นอกเหนือจากสัญญาเดิม อัตรารับซือ 2.20 บาท/หน่วย

โรงไฟฟ้าที่ไม่ใช้เชือเพลิง
จากสัญญาเดิมและนอกเหนือจากสัญญาเดิม
อัตรารับซือ 0.50 บาท/หน่วย

* อัตรารับซื้อไฟฟ้าส่วนเพิ่มจากสัญญาเดิมจะมีอัตรารับซื้อไฟฟ้าไม่เกินกว่าอัตรารับซื้อไฟฟ้าในสัญญาเดิม

รับซือปีต่อปี ไม่เกิน 2 ปี
มีความพร้อมในการจ้าหน่ายไฟฟ้า
ในรูปแบบสัญญา Non-Firm
ระบบโครงข่ายของการไฟฟ้าสามารถรองรับได้

ชะลอการรับซือไฟฟ้าส่วนเพิ่มโรงไฟฟ้าพลังงานนา้ ขนาดเล็ก/ขนาดเล็กมากออกไปก่อน
และมอบหมายกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานศึกษาความเหมาะสมในการรับซือไฟฟ้าส่วนเพิ่มดังกล่าว

7/14/2022
24

แผนการเพิ่มการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานสะอาด
เมื่อวันศุกร์ที่ 6 พฤษภาคม 2565 กพช. ได้รับทราบแผนการเพิ่มการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานสะอาด ภายใต้แผนพัฒนาก้าลังผลิต
ไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2561 -2580 ฉบับปรับปรุง ครังที่ 1 (PDP2018 Rev.1) ในช่วงปี พ.ศ. 2564-2573 (ปรับปรุงเพิ่มเติม)
โดยมีก้าลังการผลิตตามสัญญาจากพลังงานสะอาด รวมทังสิน 9,996 เมกะวัตต์ และเห็นชอบหลักการรับซือไฟฟ้าจากพลังงาน
หมุนเวียนและข้อเสนออัตรารับซือไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนในรูปแบบ Feed-in-Tariff ส้าหรับปี 2565-2573 ส้าหรับกลุ่มที่
ไม่มีต้นทุนเชือเพลิง โดยมีระยะเวลาสนับสนุนการรับซือไฟฟ้าเป็นเวลา 20-25 ปี
น้าเสีย/ของเสีย
รูปแบบสัญญา Non-Firm

รูปแบบสัญญา Partial Firm

✓ ราคาค่าไฟฟ้าที่ไม่สร้างภาระต้นทุนในระยะยาวให้กับประเทศ
✓ ส่งเสริมให้มีการใช้พลังงานสะอาดในการผลิตไฟฟ้าในสัดส่วนที่มากขึ้น
✓ มุ่งสู่เศรษฐกิจคาร์บอนต่า (Low Carbon Economy)
✓ ส่งเสริมให้เกิดการสร้างงานสร้างรายได้
✓ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศจากการส่งเสริมให้มีการดาเนินธุรกิจพลังงานหมุนเวียน
✓ สร้างแรงจูงใจให้เกิดการไหลเวียนของเงินทุนจากต่างประเทศในการลงทุนธุรกิจพลังงานหมุนเวียนในประเทศ
7/14/2022
25

เป้าหมายการรับซือไฟฟ้าและก้าหนดวันจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบเชิงพาณิชย์

ปี SCOD 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573 รวม
พลังงานแสงอาทิตย์ 45 10 34 300 400 666 600 700 800 900 4,455
Solar ปชช. 10 10 10 10 10 10 10 10 10 90
Solar Floating 45 24 298 50 280 300 997
Solar Farm + BESS 100 100 100 100 200 200 200 1,000
Solar Farm 190 290 258 440 490 310 390 2,368

พลังงานลม 250 250 250 250 250 250 1,500


ก๊าซชีวภาพ 75 75 75 70 40 335
ชีวมวล 150 150 75 70 40 485
ขยะชุมชน 200 200 400
ขยะอุตสาหกรรม 100 100 200
ซือไฟฟ้า ตปท. 469 700 1,400 2,569
พลังน้าขนาดเล็ก 10.81 4.14 1.27 9.84 5.25 5.05 6.51 3.45 5.18 52
รวมทังหมด 45 21 38 301 860 1,915 1,180 1,807 1,193 2,635 9,996

7/14/2022
26

อัตรารับซือไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนในรูปแบบ FiT ส้าหรับปี 2565 - 2573


FIT (บาทต่อหน่วย) ระยะเวลาสนับสนุน
ประเภทเชือเพลิง
FITF FiTV FiT (ปี)
1) ก๊าซชีวภาพ (น้าเสีย/ของเสีย)
กาลังผลิตตามสัญญาทุกขนาด 2.0724 - 2.0724 20
2) พลังงานลม
กาลังผลิตตามสัญญาทุกขนาด 3.1014 - 3.1014 25
3) พลังงานแสงอาทิตย์
แบบติดตั้งบนพื้นดิน กาลังผลิตตามสัญญาทุกขนาด 2.1679 - 2.1679 25
แบบติดตั้งบนพื้นดิน ร่วมกับระบบกักเก็บพลังงาน (Solar+BESS)* 2.8331 - 2.8331 25
กาลังผลิตตามสัญญา >10-90 MW
* หมายเหตุ :
1) รูปแบบสัญญา Partial Firm สาหรับพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดินร่วมกับระบบกักเก็บพลังงาน (Solar+BESS) กาหนดให้มีรูปแบบการรับซื้อไฟฟ้า ดังนี้
(1) ช่วงเวลา 9.00-16.00 น. ผลิตไฟฟ้าส่งจ่ายเข้าระบบและการไฟฟ้ารับซื้อในปริมาณร้อยละ 100 ของปริมาณไฟฟ้าเสนอขายตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า
(2) ช่วงเวลา 18.01-06.00 น. มีความพร้อส่งจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบในปริมาณพลังงานเท่ากับร้อยละ 60 ของปริมาณไฟฟ้าเสนอขายตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า เป็นเวลา 2 ชั่วโมง
(60% Contracted capacity * 2 hrs) โดยที่การไฟฟ้ารับซื้อทั้งหมดและสามารถสั่งจ่ายกาลังไฟฟ้าสูงสุดได้ไม่เกิน ร้อยละ 60 ของปริมาณไฟฟ้าเสนอขายตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า
(3) ช่วงเวลา 06.01-09.00 น. และ 16.01-18.00 น. ผลิตไฟฟ้าส่งจ่ายเข้าระบบและการไฟฟ้ารับซื้อในปริมาณไม่เกินร้อยละ 100 ของปริมาณไฟฟ้าเสนอขายตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า
2) อัตรา FiT Premium สาหรับโครงการในพื้นที่จังหวัดชานแดนใต้ 0.5 บาท/หน่วย ตลอดอายุโครงการ

7/14/2022
27

WWW.DEDE.GO.TH

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
เบอร์ติดต่อ 02-2230021-9

Hampton Roads Chapter Chair Jennifer


7/14/2022
Ammentorp

You might also like