You are on page 1of 20

บทที่ 8

การพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ า
8.1 คำนำ
ในตัวแบบเศรษฐมิติที่พัฒนาขึ้ นในบทที่ 5, 6 และ 7 จะเห็นได้ว่า ความต้องการ
พลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟ ถูกกำหนดโดยการเติบโตทางเศรษฐกิจ ซึ่งใช้ตัวแปรปริมาณเงิน
เป็ นตัวแทน อุณหภูมิ และราคาค่าไฟฟ้ า ดังนั้น การพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าซึ่งจะ
กระทำจากล่างขึ้ นสู่บน โดยใช้ค่าพยากรณ์จากตัวแบบเศรษฐมิติที่พัฒนาขึ้ น เพื่อพยากรณ์ความ
ต้องการพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟแต่ละประเภท รวมทั้งไฟสาธารณะในเขตจำหน่าย กฟน. และ
กฟภ. ไปคำนวณสัดส่วนของความต้องการพลังงานไฟฟ้ า (Energy Share) ในเขตจำหน่ายของ
กฟน. และ กฟภ. ค่าพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าจะกระทำเป็ นรายปี จึงจำเป็ นต้อง
คำนวณสัดส่วนของความต้องการพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟแต่ละประเภท รวมทั้งไฟสาธารณะ
เป็ นรายปี
สมมติฐานเกี่ยวกับการเติบโตทางเศรษฐกิจ กำหนดไว้เป็ น 3 กรณี คือ การเติบโต
ทางเศรษฐกิจช้า (Low Economic Growth : LEG) การเติบโตทางเศรษฐกิจปานกลาง (Medium
Economic Growth : MEG) และการเติบโตทางเศรษฐกิจตามเป้ าหมายที่กำหนด (Target) โดยมี
อัตราการเติบโตดังแสดงไว้ในตารางที่ 8.1 และอัตราเงินเฟ้ อในช่วงเวลาเดียวกันได้แสดงไว้ใน
ตารางที่ 8.2 ดังนั้น ค่าพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าในการศึกษานี้ ในแต่ละปี จะมี 3 ค่า
ตามการเติบโตทางเศรษฐกิจดังกล่าว
การพยากรณ์จะเริ่มต้นจากการพยากรณ์พลังงานไฟฟ้ าในภาพรวมของการไฟฟ้ า
แล้วจึงพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟ ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าของ กฟน.
ที่พยากรณ์ได้จะกระจายลงสู่ระดับภาคของ กฟผ. และความต้องการพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟ
แต่ละประเภทของ กฟภ. ที่พยากรณ์ได้จะกระจายสู่ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟใน
ระดับภาคของ กฟภ. ซึ่งผลรวมในระดับภาคจะเป็ นความต้องการพลังงานไฟฟ้ าในระดับภาค
ส่วนการพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าสูงสุด จะกระทำทั้งโดยวิธีการเศรษฐ
มิติและวิธีการโดยใช้ลักษณะการใช้ไฟฟ้ า (Load Profile) ของผู้ใช้ไฟแต่ละประเภท

8.2 การพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าในภาพรวมของการไฟฟ้ า


เนื่องจากตัวแบบเศรษฐมิติส่วนใหญ่ที่พัฒนาขึ้นในบทที่ 5 เป็ นตัวแบบที่ให้ค่า
พยากรณ์เป็ นรายเดือน จึงต้องคำ นวณค่าพยากรณ์รายปี จากค่าพยากรณ์รายเดือน ดังนี้
ตารางที่ 8.1 อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ราคาคงที่ (constant price) ของการเติบโตทาง
เศรษฐกิจ 3 กรณี จำแนกตามปี
ปี พ.ศ. อัตราการเติบโต, ร้อยละ
ช้า ปานกลาง เป้ าหมาย
2547 6.1 6.1 6.1
2548 3.5 4.0 4.5
134

2549 4.0 4.6 5.6


2550 4.0 6.5 7.5
2551–2555 4.0 6.5 7.5
2556–2560 3.8 6.5 7.5
2561–2563 3.8 6.5 7.5
แหล่งที่มา : TDRI
ตารางที่ 8.2 อัตราเงินเฟ้ อที่ใช้ในการพยากรณ์
ปี พ.ศ. อัตราเงินเฟ้ อ, ร้อยละ
2547 4.1
2548 4.3
2549 3.9
2550 3.5
2551–2555 3.0
2556–2560 3.0
2561–2563 3.0

j = 1, 2, 3, ... (8.1)

โดย ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟประเภท i ในปี j ตามการเติบโตทาง


เศรษฐกิจ k ในเขตจำหน่าย r
ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟประเภท i ในเดือน t ตามการเติบโตทาง
เศรษฐกิจ k
m = 1, 2, ..., 12
j = 1, 2, ... (8.2)
135

สัดส่วนความต้องการพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟประเภท i ในปี j ตามการเติบโตทาง


เศรษฐกิจ k ในเขตจำหน่าย r จึงเขียนได้เท่ากับ

(8.3)

ให้ เป็ นความต้องการพลังงานไฟฟ้ าทั้งหมดในเขตจำหน่าย r ในปี j ตามการ


เติบโตทางเศรษฐกิจ k ซึ่งพยากรณ์จากตัวแบบเศรษฐมิติในบทที่ 4 ซึ่งเท่ากับ

j = 1, 2, ... (8.4)

โดย t เป็ นไปตามสมการ (8.2)


ดังนั้น ค่าพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟประเภท i ในเขต
จำหน่าย r ในปี j ตามการเติบโตทางเศรษฐกิจ k จะเท่ากับ
(8.5)

ให้ เป็ นร้อยละความสูญเสียในระบบจำหน่าย r ในปี j


ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าที่ต้องนำเข้าสู่ระบบจำหน่าย r ในปี j จึงเท่ากับ

(8.6)

ความสูญเสียในระบบจำหน่ายเป็ นสิ่งที่สามารถบริหารจัดการได้ในระดับหนึ่ง การ


ศึกษานี้ จะได้กำหนดความสูญเสียในระบบจำหน่ายของ กฟน. และ กฟภ. ไว้เท่ากับร้อยละ 3.64
และ 5.20 ตลอดช่วงเวลาการพยากรณ์ตามลำดับ ซึ่งเป็ นความสูญเสียเฉลี่ยในระหว่างปี พ.ศ.
2545–2547 ดังนั้น ความสูญเสียดังกล่าว จึงเป็ นกรณีที่ความสูญเสียสูงสุดที่จะเกิดขึ้ นในอนาคต
เพราะโดยหลักการความสูญเสียในระบบจำหน่ายยังสามารถที่จะลดลงได้อีกระดับหนึ่ง
เนื่องจาก กฟน. ไม่ได้ผลิตไฟฟ้ าเอง ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าที่ กฟน. จะต้องนำ
เข้าสู่ระบบจำหน่าย จึงเท่ากับพลังงานไฟฟ้ าที่ กฟน. ซื้ อมาจาก กฟผ.
(8.7)
แต่ กฟภ. มีการผลิตไฟฟ้ าเองและซื้ อจากกรมพัฒนาพลังงานส่วนหนึ่ง จึงต้อง
ประมาณการสัดส่วนของพลังงานไฟฟ้ าที่ กฟภ. ซื้ อมาจาก กฟผ. ต่อความต้องการพลังงานไฟฟ้ า
ทั้งหมด โดยจะใช้ข้อมูลพลังงานไฟฟ้ าที่ กฟภ. ซื้ อจาก กฟผ. และ กฟภ. ผลิตเองในช่วงระหว่างปี
พ.ศ. 2545–2547 ซึ่งสรุปได้ดังนี้
136

ปี พ.ศ. พลังงานไฟฟ้ าที่ กฟภ. ซื้ อ (ล้าน พลังงานไฟฟ้ าที่ กฟภ. ผลิต
หน่วย) (ล้านหน่วย)
2545–2547 580,492.378 428.640
สัดส่วน 0.999262 0.000738

ให้ a เป็ นสัดส่วนของพลังงานไฟฟ้ าที่ กฟภ. ซื้ อจาก กฟผ. ต่อพลังงานไฟฟ้ าทั้งหมด
ที่ต้องการ มีค่าเท่ากับ 0.999262 ดังนั้น พลังงานไฟฟ้ าที่ กฟภ. ซื้ อจาก กฟผ. ในปี j ตามการ
เติบโตเศรษฐกิจ k ซึ่งเขียนได้เท่ากับ
(8.8)
ขั้นตอนการพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าในเขตจำหน่าย กฟน. และ กฟภ.
ได้แสดงไว้ในรูปที่ 8.1 และ 8.2 ตามลำดับ
ดังนั้น พลังงานไฟฟ้ าที่ กฟผ. จำหน่ายทั้งหมดในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k จึง
เขียนได้เป็ น
(8.9)

โดย เป็ นพลังงานไฟฟ้ าที่ กฟผ. จำหน่ายให้แก่ลูกค้าตรงของตนเองในปี j


ให้ เป็ นร้อยละของความสูญเสียทั้งหมดในระบบผลิต (Station use) และ
ระบบส่ง (Transmission Loss) ของ กฟผ. ในปี j
ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าที่ กฟผ. จะต้องผลิตและซื้ อจากผู้ผลิตไฟฟ้ าเอกชนและ
ประเทศเพื่อนบ้านในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k จึงอาจเขียนได้เป็ น

(8.10)
137

รูปที่ 8.1 ขั้นตอนการพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าในเขตจำหน่าย กฟน.

รูปที่ 8.2 ขั้นตอนการพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าในเขตจำหน่าย กฟภ. ในภาพรวม


138

ในการศึกษานี้ กำหนดให้เท่ากับร้อยละ 5.10 ซึ่งเป็ นความสูญเสียในระบบ


ผลิตและระบบส่งของ กฟผ. ในปี พ.ศ. 2547 จึงเป็ นความสูญเสียสูงสุดที่ควรจะเป็ นในอนาคต
เช่นกัน
ขั้นตอนการพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าในระบบของ กฟผ. ได้แสดงไว้ใน
รูปที่ 8.3

รูปที่ 8.3 ขั้นตอนการพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าในระบบของ กฟผ.

8.3 การพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าในระดับภาค


ตัวแบบพยากรณ์เศรษฐมิติที่พัฒนาขึ้น เพื่อพยากรณ์พลังงานไฟฟ้ าที่ กฟผ. จำหน่ายใน
ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคเหนือ ในบทที่ 4 และนำค่าพยากรณ์ที่ได้จาก
ตัวแบบมาคำ นวณสัดส่วนของพลังงานไฟฟ้ าที่ กฟผ. จำ หน่ายในแต่ละภาค ซึ่ งเท่ากับ

(8.11)

ค่าพยากรณ์พลังงานไฟฟ้ าที่ กฟผ. จำหน่ายในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k ใน


ภาค q จึงเท่ากับ

โดย คำนวณได้จาก (8.9)


ความสูญเสียพลังงานไฟฟ้ าในภาค q ของระบบ กฟผ. จะประมาณการจากความสูญ
เสียพลังงานไฟฟ้ าในระบบผลิตและระบบส่งของ กฟผ. ซึ่งเท่ากับ
139

(8.12)

สัดส่วนของความสูญเสียพลังงานไฟฟ้ าในภาค q ของ กฟผ. จะ


ประมาณการจากพลังงานไฟฟ้ าที่สูญเสียในระบบผลิตและระบบส่งของ กฟผ. ที่แต่ละภาค ใน
ช่วง 3 ปี คือ ระหว่างปี พ.ศ. 2545–2547 และจะกำหนดให้คงที่ตลอดช่วงเวลาการพยากรณ์ ดัง
แสดงไว้ในตารางที่ 8.2 ดังนั้น ความสูญเสียของพลังงานไฟฟ้ าในปี j ในภาค q ของ กฟผ. ตาม
การเติบโตเศรษฐกิจ k จึงเท่ากับ

(8.13)

ค่าพยากรณ์พลังงานไฟฟ้ าที่ กฟผ. จะต้องผลิต ซื้ อ และส่งไปยังภาค q ของ กฟผ.


ในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k จะเท่ากับ

(8.14)

ขั้นตอนการพยากรณ์ได้แสดงไว้ในรูปที่ 8.4

รูปที่ 8.4 ขั้นตอนการพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าในระดับภาคของ กฟผ.


140

ตารางที่ 8.3 ความสูญเสียพลังงานไฟฟ้ าในระบบผลิตและระบบส่งของ กฟผ. ในระดับภาค


หน่วย : ล้านหน่วย
พลังงานไฟฟ้ าที่สูญเสียในระบบผลิตและส่ง
ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคเหนือ ภาคใต้
ปี เฉียงเหนือ รวม
2543 935.9795 352.0301 738.9166 268.4409 2295.3671
2544 952.2188 304.2259 748.0052 341.2693 2345.7192
2545 1040.2572 340.2004 750.0269 376.0052 2506.4896
รวม 2928.4554 996.4563 2236.9487 985.7154 7147.5759
สัดส่วน 0.4097 0.1394 0.3130 0.1379 1.0000

การพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าในแต่ละภาคของ กฟภ. จะกระทำใน


ทำนองเดียวกัน โดยคุมผลบวกของความต้องการพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟประเภท i ในระดับ
ภาค ให้เท่ากับความต้องการพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟประเภท i ในระดับ กฟภ.
สัดส่วนความต้องการพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟประเภท i ในภาค q ของ กฟภ. อาจ
เขียนได้เป็ น

(8.15)

โดย เป็ นค่าพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟประเภท i


ในภาค q ของ กฟภ. ในปี j ตามการเติบโตทางเศรษฐกิจ k จากตัวแบบเศรษฐมิติที่พัฒนาขึ้ นใน
บทที่ 5
ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟประเภท i ในภาค q ของ กฟภ. ในปี j ตาม
การเติบโตทางเศรษฐกิจ k จะกำหนดให้เท่ากับ

(8.16)

โดย คำนวณได้จาก (8.5)


ดังนั้น พลังงานไฟฟ้ าที่ผู้ใช้ต้องการในภาค q ในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k ของ
กฟภ. จึงเท่ากับ

(8.17)

ให้ เป็ นความสูญเสียพลังงานไฟฟ้ าในระบบจำหน่ายของ กฟภ. ในภาค q


ในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k

(8.18)
141

โดย เป็ นสัดส่วนของความสูญเสียพลังงานไฟฟ้ าในภาค q ของ กฟภ. ซึ่ง


จะประมาณการจากพลังงานไฟฟ้ าสูญเสียในระบบจำหน่ายของ กฟภ. ในแต่ละภาคในช่วง 3 ปี
คือ ระหว่างปี พ.ศ. 2544–2546 ดังในตารางที่ 8.3
พลังงานไฟฟ้ าที่ กฟภ. ต้องซื้ อและผลิต เพื่อนำเข้าระบบจำหน่ายในภาค q ในปี j
ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k จะเท่ากับ

(8.19)

ขั้นตอนการพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าในระดับภาคของ กฟภ. ได้แสดง


ไว้ในรูปที่ 8.5

รูปที่ 8.5 ขั้นตอนการพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าในระดับภาคของ กฟภ.


142

ตารางที่ 8.4 ความสูญเสียพลังงานไฟฟ้ าในระบบจำหน่ายของ กฟภ. ในระดับภาค


หน่วย : ล้านหน่วย
พลังงานไฟฟ้ าที่สูญเสียในระบบจำหน่าย
ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคใต้
ปี เฉียงเหนือ
2544 1,694 950 995 932
2545 1,824 990 1,043 1,000
2546 1,999 1,174 1,236 1,188
รวม 5,516 3,115 3,274 3,120
สัดส่วน 0.3671 0.2073 0.2179 0.2077

8.4 ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าในระดับประเทศ


ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าในระดับประเทศจะเท่ากับความต้องการพลังงานไฟฟ้ า
ที่ระบบของ กฟผ. บวกกับพลังงานไฟฟ้ าที่ กฟภ. ผลิตเอง ซึ่งเท่ากับ และ
พลังงานไฟฟ้ าที่ซื้ อขายนอกระบบของ กฟผ. ซึ่งเป็ นพลังงานไฟฟ้ าที่ IPP และ SPP จำหน่ายตรง
ให้แก่ผู้ใช้ไฟ โดยไม่ผ่านระบบของ กฟผ. ดังแสดงไว้ในรูปที่ 8.6

รูปที่ 8.6 ขั้นตอนการพยากรณ์ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าในระดับประเทศ

8.5 การพยากรณ์พลังไฟฟ้ าสูงสุด


การพยากรณ์พลังไฟฟ้ าสูงสุด จะพยากรณ์โดยใช้ 2 วิธีด้วยกัน วิธีแรกใช้ปัจจัยภาระ
ไฟฟ้ า (Load factor) ที่คำนวณได้จากตัวแบบเศรษฐมิติที่ใช้ค่าพยากรณ์พลังงานไฟฟ้ าและค่า
พยากรณ์พลังไฟฟ้ า และวิธีที่สองใช้ปัจจัยภาระไฟฟ้ าที่ได้จากการสำรวจลักษณะการใช้ไฟฟ้ า
ของผู้ใช้ไฟ (Load profile)
8.5.1 การพยากรณ์พลังไฟฟ้ าสูงสุดจากตัวแบบเศรษฐมิติ
กฟผ.
143

การพยากรณ์พลังไฟฟ้ าสูงสุดของระบบผลิตของ กฟผ. จะเริ่มจากตัวแบบพยากรณ์


เศรษฐมิติ เพื่อพยากรณ์ค่าเบื้ องต้นของพลังไฟฟ้ าสูงสุดประจำปี ของระบบผลิตของ กฟผ. ซึ่งจะ
นำค่าไปคำนวณตัวประกอบภาระไฟฟ้ า (Load factor) โดยใช้ค่าพยากรณ์พลังงานไฟฟ้ าประจำปี
จากตัวแบบพยากรณ์เศรษฐมิติที่พัฒนาขึ้ น

(8.20)

โดย เป็ นค่าพยากรณ์พลังงานไฟฟ้ าที่ กฟผ. ต้องผลิตและซื้ อจากผู้ผลิตไฟฟ้ า


เอกชนในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k ที่คำนวณจากตัวแบบพยากรณ์เศรษฐมิติในบทที่ 4
เป็ นค่าพยากรณ์พลังไฟฟ้ าสูงสุดในระบบของ กฟผ. ในปี j ตามการเติบโต
เศรษฐกิจ k ที่คำนวณจากตัวแบบพยากรณ์เศรษฐมิติในบทที่ 6
พลังไฟฟ้ าสูงสุดในระบบของ กฟผ. ในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k จะพยากรณ์
จากตัวประกอบภาระไฟฟ้ า และพลังงานไฟฟ้ าที่ กฟผ. จะต้องผลิตและซื้ อจากผู้ผลิต
ไฟฟ้ าเอกชนในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k ใน (8.10)

(8.21)

ร้อยละความสูญเสียพลังไฟฟ้ าสูงสุดในระบบผลิตและระบบส่งของ กฟผ. อาจ


คำนวณได้จากความสูญเสียพลังงานไฟฟ้ าในระบบผลิตและระบบส่งของ กฟผ. และ
ตัวประกอบภาระไฟฟ้ า ดังนี้

(8.22)

โดย (8.23)

พลังไฟฟ้ าสูงสุดที่ กฟผ. จำหน่ายในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k ให้แก่ กฟน.


กฟภ. และลูกค้าตรงมีค่าเท่ากับ

(8.24)

ขั้นตอนการพยากรณ์ความต้องการพลังไฟฟ้ าสูงสุดในระบบของ กฟผ. ได้แสดงไว้


ในรูปที่ 8.7
144

รูปที่ 8.7 ขั้นตอนการพยากรณ์พลังไฟฟ้ าสูงสุดในระบบของ กฟผ. โดยใช้ตัวแบบเศรษฐมิติ

พลังไฟฟ้ าสูงสุดของ กฟผ. ในระดับภาค q จะคำนวณในทำนองเดียวกันกับกรณีพลัง


ไฟฟ้ าสูงสุดของ กฟผ. โดยใช้ตัวแบบเศรษฐมิติพยากรณ์พลังงานไฟฟ้ าในระดับภาคของ กฟผ.
และตัวแบบเศรษฐมิติพยากรณ์พลังไฟฟ้ าสูงสุดในระดับภาคของ กฟผ. ร่วมกันพยากรณ์ปัจจัย
ภาระไฟฟ้ าในระดับภาคของ กฟผ. แล้วใช้ปัจจัยภาระไฟฟ้ าที่พยากรณ์ได้คำนวณพลังไฟฟ้ า
สูงสุดในระดับภาค โดยใช้ค่าพยากรณ์พลังงานไฟฟ้ าที่ กฟผ. ผลิต ซื้ อ และจัดส่งไปยังภาคนั้น ๆ
ดังนี้

(8.25)

(8.26)

โดย เป็ นค่าพยากรณ์พลังงานไฟฟ้ าในระดับภาค q ของ กฟผ. ในปี j ตามการ


เติบโตเศรษฐกิจ k จากตัวแบบเศรษฐมิติ
145

เป็ นค่าพยากรณ์พลังไฟฟ้ าสูงสุดในระดับภาค q ของ กฟผ. ในปี j ตามการ


เติบโตเศรษฐกิจ k จากตัวแบบเศรษฐมิติ
เป็ นปัจจัยภาระไฟฟ้ าของระบบ กฟผ. ในระดับภาค q ณ “จุดนำเข้า” ในปี
j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k
เป็ นค่าพยากรณ์พลังงานไฟฟ้ าในระดับภาค q ของ กฟผ. ในปี j ตามการ
เติบโตเศรษฐกิจ k ใน (8.14)
เป็ นค่าพยากรณ์พลังไฟฟ้ าสูงสุดของระบบ กฟผ. ในระดับภาค q ณ “จุดนำ
เข้า” ในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k
กฟน.
พลังไฟฟ้ าสูงสุดที่เกิดขึ้ น ณ “จุดนำเข้า” ของระบบจำหน่ายของ กฟน. จะคำนวณ
จากตัวแบบพยากรณ์เศรษฐกิจ และการสำรวจการใช้ไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟ การพยากรณ์พลังไฟฟ้ า
สูงสุดในระบบจำหน่ายของ กฟน. ณ “จุดนำเข้า” ในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k ที่คำนวณ
จากตัวแบบพยากรณ์เศรษฐมิติ จะกระทำในลักษณะทำนองเดียวกันกับกรณี กฟผ. ซึ่งสรุปได้
ดังนี้

(8.27)

โดย เป็ นค่าพยากรณ์พลังงานไฟฟ้ าที่ กฟน. ต้องจัดหานำเข้าสู่ระบบจำหน่ายของ


ตนในปี j ตามการเติบโตทางเศรษฐกิจ k จากตัวแบบเศรษฐมิติในบทที่ 4
เป็ นค่าพยากรณ์พลังไฟฟ้ าสูงสุดในระบบจำหน่ายของ กฟน. ในปี j ตามการ
เติบโตทางเศรษฐกิจ k จากตัวแบบเศรษฐมิติในบทที่ 6
ค่าพยากรณ์พลังไฟฟ้ าสูงสุดในระบบจำหน่ายของ กฟน. ในปี j ตามการเติบโตทาง
เศรษฐกิจ k จะคำนวณดังนี้

(8.28)

โดย เป็ นค่าพยากรณ์พลังงานไฟฟ้ าที่ กฟน. จัดหา นำเข้าระบบจำหน่ายใน (8.6)

ให้ เป็ นร้อยละความสูญเสียพลังไฟฟ้ าสูงสุดในระบบจำหน่ายของ กฟน.


ซึ่งอาจคำนวณได้ดังนี้

(8.29)
146

(8.30)

พลังไฟฟ้ าสูงสุดในระบบจำหน่ายของ กฟน. ณ “จุดปลายทาง” ที่จำหน่ายให้แก่ผู้ใช้


ไฟฟ้ าในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k จึงเขียนได้เป็ น

(8.31)

กฟภ.
พลังงานไฟฟ้ าสูงสุดในระบบจำหน่ายของ กฟภ. จะคำนวณในลักษณะทำนองเดียวกัน
กั บ ก ร ณี ก ฟ น . ดั ง นั้ น จึ ง ข อ ส รุ ป สู ต ร ต่ า ง ๆ ที่ ไ ด้ พั ฒ น า ขึ้ น ดั ง นี้
ตัวประกอบภาระไฟฟ้ าและพลังไฟฟ้ าสูงสุดในระบบจำหน่าย ณ “จุดนำเข้า” ของ
กฟภ. ในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k คือ

(8.32)

(8.33)

โดย เป็ นค่าพยากรณ์พลังงานไฟฟ้ าที่ กฟภ. จัดหา นำเข้าระบบจำหน่ายในปี j ตาม


การเติบโตเศรษฐกิจ k จากตัวแบบเศรษฐมิติในบทที่ 4
เป็ นค่าพยากรณ์พลังไฟฟ้ าสูงสุดในระบบจำหน่ายของ กฟภ. ในปี j ตามการ
เติบโตเศรษฐกิจ k จากตัวแบบเศรษฐมิติ
เป็ นค่าพยากรณ์พลังงานไฟฟ้ าที่ กฟภ. จัดหา นำเข้าระบบจำหน่ายในปี j ตาม
การเติบโตเศรษฐกิจ k ใน (8.6)
พลังไฟฟ้ าสูงสุดในระบบจำหน่าย ณ จุดปลายทางของ กฟภ. ในปี j ตามการเติบโต
เศรษฐกิจ k เขียนได้เป็ น

(8.34)

โดย (8.35)

(8.36)
ตัวประกอบภาระไฟฟ้ าและพลังไฟฟ้ าสูงสุดในระบบจำหน่าย ณ “จุดนำเข้า” ของ
กฟภ. ในภาค q ในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k เขียนได้ในทำนองเดียวกันคือ
147

(8.37)

(8.38)

โดย เป็ นค่าพยากรณ์พลังงานไฟฟ้ าที่ กฟภ. จัดหา นำเข้าระบบจำหน่ายในภาค


q ในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k จากตัวแบบเศรษฐมิติในบทที่ 4
เป็ นค่าพยากรณ์พลังไฟฟ้ าสูงสุดในระบบจำหน่ายของ กฟภ. ในภาค q ในปี j
ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k จากตัวแบบเศรษฐมิติในบทที่ 6
เป็ นค่าพยากรณ์พลังงานไฟฟ้ าที่ กฟภ. จัดหา นำเข้าระบบจำหน่ายในภาค
q ในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k ใน (8.19)
8.5.2 การพยากรณ์พลังไฟฟ้ าสูงสุดโดยใช้การสำรวจการใช้ไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟ
(Load Profile)
การสำรวจลักษณะการใช้ไฟของผู้ใช้ไฟในแต่ละประเภท จะสร้างขึ้นโดยการสุ่ม
ตัวอย่างผู้ใช้ไฟ เพื่อติดตั้งเครื่องวัดพลังงานไฟฟ้ า ตลอด 24 ชั่วโมง เป็ นระยะเวลาอย่างน้อย 1
สัปดาห์ เพื่อศึกษาลักษณะการใช้ไฟที่เปลี่ยนแปลงระหว่างเวลาใน 1 วัน และที่เปลี่ยนแปลง
ระหว่างวันใน 1 สัปดาห์ ความแม่นยำของการประมาณลักษณะการใช้ไฟจากการสำรวจ จึงขึ้นอยู่
กับแผนการสุ่มตัวอย่างที่กระทำเป็ นสำคัญ ในการศึกษานี้ คณะผู้ศึกษาไม่ได้เป็ นผู้กำหนดแผนการ
สุ่มตัวอย่าง เพื่อเก็บข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะการใช้ไฟของผู้ใช้ไฟในแต่ละประเภท ข้อมูลที่นำมา
วิเคราะห์เป็ นข้อมูลเท่าที่มีอยู่ของ กฟน. และ กฟภ. ดังนั้น วัตถุประสงค์ในการพยากรณ์พลังไฟฟ้ า
สูงสุดด้วยการสำรวจลักษณะการใช้ไฟของผู้ใช้ไฟ ในการศึกษานี้ จึงเป็ นการเสนอวิธีการพยากรณ์
เ ท่ า นั้ น
กฟน. สำรวจการใช้ไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟโดยติดตั้งเครื่องวัดพลังงานทุก ๆ ซึ่งเท่ากับ
15 นาที ตลอด 24 ชั่วโมง โดยแบ่งประเภทวันออกเป็ น 4 ประเภท คือ วันระหว่างสัปดาห์ วันเสาร์
วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ แล้วคำนวณหาค่าเฉลี่ยการใช้ไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟ 1 รายในแต่ละ
ประเภททุก ๆ ต่อวัน ในแต่ละประเภทวัน โดยแบ่งข้อมูลออกเป็ นรายไตรมาส
ให้ เป็ นพลังงานไฟฟ้ าที่วัดได้ในช่วงเวลา ณ เวลา t ของผู้ใช้ไฟประเภท i
เฉลี่ยต่อรายต่อวันในวันประเภท d ในไตรมาส m
เป็ นจำนวนวันในประเภท d ในไตรมาส m พลังงานไฟฟ้ าเฉลี่ยต่อรายของผู้ใช้
ไฟประเภท i ในไตรมาส m จึงเขียนได้เท่ากับ

(8.39)
148

ซึ่งจะใช้ ที่คำนวณได้เป็ น normalization factor เพื่อให้พลังงานไฟฟ้ าเฉลี่ยต่อรายของผู้ใช้


ไฟฟ้ าประเภท i ในไตรมาส m มีค่าเท่ากับ 1 พลังงานไฟฟ้ าที่ normalized แล้วในช่วงเวลา ณ
เวลา t ของผู้ใช้ไฟประเภท i เฉลี่ยต่อรายต่อวันในวันประเภท d ในไตรมาส m จึงเท่ากับ
(8.40)
ร้อยละตัวประกอบภาระไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟประเภท i ในไตรมาส m สามารถเขียนได้
เท่ากับ

(8.41)

โดย

(8.42)

เป็ นช่วงเวลาที่วัดพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟ ณ จุดเวลา t ซึ่งในที่นี้ มีค่าเท่ากับ 15


นาที
จึงเขียนใหม่ได้เป็ น

(8.43)

พลังไฟฟ้ าสูงสุดของผู้ใช้ประเภท i ในไตรมาส m จะเท่ากับ

(8.44)

โดย เป็ นพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟประเภท i ในไตรมาส m


ดังนั้น ร้อยละตัวประกอบภาระไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟฟ้ าประเภท i ในหนึ่งปี จึงเท่ากับ

(8.45)

โดย

(8.46)
149

ในการศึกษานี้ ค่า จะใช้พลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟประเภท i ในไตรมาส m ในปี


พ.ศ. 2547 ในการประมาณตัวประกอบภาระไฟฟ้ า เพราะเป็ นปี ที่ กฟน. วัดลักษณะการใช้ไฟฟ้ า
พลังไฟฟ้ าสูงสุดของผู้ใช้ไฟประเภท i ในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k จึงเขียนได้เป็ น

(8.47)

ลักษณะการใช้ไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟทั้งหมดของ กฟน. (MEA Load Profile) อาจสามารถ


สร้างขึ้ นได้จากลักษณะการใช้ไฟฟ้ าที่ normalized แล้ว ของผู้ใช้ไฟแต่ละประเภทถ่วงน้ำหนัก ด้วย
สัดส่วนพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟดังนี้

(8.48)

โดย เป็ นสัดส่วนพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟประเภท i ของ กฟน. ในปี j ตาม


การเติบโตเศรษฐกิจ k
ตัวประกอบภาระไฟฟ้ าของระบบจำหน่าย กฟน. ณ “จุดปลายทาง” ในปี j ตามการ
เติบโตเศรษฐกิจ k จึงเท่ากับ

(8.49)

โดย (8.50)

พลังไฟฟ้ าสูงสุดของระบบจำหน่าย กฟน. ณ จุดปลายทาง ในปี j ตามการเติบโต


เศรษฐกิจ k ที่คำนวณจากการสำรวจลักษณะการใช้ไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟ เท่ากับ

(8.51)

ข้อมูลลักษณะการใช้ไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟที่ กฟภ. จัดเก็บมาแตกต่างไปจากกรณี กฟน.


เป็ นค่าเฉลี่ยต่อผู้ใช้ไฟ 1 ราย ในแต่ละประเภทผู้ใช้ไฟต่อวันในหนึ่งปี ในแต่ละภาค ซึ่งข้อมูล
ลักษณะการใช้ไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟของ กฟน. เป็ นค่าเฉลี่ยต่อผู้ใช้ไฟ 1 ราย ในแต่ละประเภทผู้ใช้ไฟ
ต่อวันในหนึ่งไตรมาส นอกจากนี้ กฟภ. แบ่งประเภทวันในการวัดลักษณะการใช้ไฟฟ้ าของผู้ใช้
ไฟออกเป็ น 3 ประเภท คือ วันระหว่างสัปดาห์ วันเสาร์ และวันอาทิตย์
ให้ เป็ นจำนวนวันในประเภท d ในหนึ่งปี
พลังงานไฟฟ้ าเฉลี่ยต่อรายของผู้ใช้ไฟประเภท i ในหนึ่งปี ในภาค q เขียนได้เป็ น

(8.52)
150

พลังงานไฟฟ้ าที่ normalized แล้วในช่วงเวลา ณ เวลา t ของผู้ใช้ไฟประเภท i


เฉลี่ยต่อรายต่อวันในวันประเภท d ในหนึ่งปี ในภาค q จึงเขียนได้เท่ากับ
(8.53)
ตัวประกอบภาระไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟประเภท i ในภาค q จะเท่ากับ

(8.54)

โดย (8.55)

พลังไฟฟ้ าสูงสุดของผู้ใช้ไฟประเภท i ในภาค q ในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k จึง


เท่ากับ

(8.56)

ลักษณะการใช้ไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟประเภท i ของ กฟภ. ในปี j ตามการเติบโต


เศรษฐกิจ k จะสร้างจากลักษณะการใช้ไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟประเภท i ในภาค q, , ถ่วงน้ำหนัก
ด้วยสัดส่วนพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟประเภท i ในภาค q ในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k,
, ดังนี้

(8.57)

ตัวประกอบภาระไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟประเภท i ของ กฟภ. ในปี j ตามการเติบโต


เศรษฐกิจ k เขียนได้เป็ น

(8.58)

โดย (8.59)

พลังไฟฟ้ าสูงสุดของผู้ใช้ไฟประเภท i ของ กฟภ. ในปี j ตามการเติบโตเศรษฐกิจ k


จะเท่ากับ

(8.60)
151

ลักษณะการใช้ไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟทั้งหมดของ กฟภ. (PEA Load Profile) ในปี j ตาม


การเติบโตเศรษฐกิจ k ก็อาจสามารถสร้างขึ้ นได้จากลักษณะการใช้ไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟแต่ละ
ประเภทของ กฟภ. ถ่วงน้ำหนักด้วยสัดส่วนพลังงานไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟฟ้ าของ กฟภ.
ดังนี้

(8.61)

ตัวประกอบภาระไฟฟ้ าของระบบจำหน่าย กฟภ. ณ “จุดปลายทาง” ในปี j ตามการ


เติบโตเศรษฐกิจ k จะเท่ากับ

(8.62)

โดย (8.63)

พลังไฟฟ้ าสูงสุดของระบบจำหน่าย กฟภ. ณ “จุดปลายทาง” ในปี j ตามการเติบโต


เศรษฐกิจ k เขียนได้เป็ น

(8.64)

ลักษณะการไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟทั้งประเทศ (EGAT Load Profile) ในปี j ตามการ


เติบโตเศรษฐกิจ k ก็อาจสร้างขึ้ นได้จากลักษณะการใช้ไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟในระบบจำหน่ายของ
กฟน. และ กฟภ. และลักษณะการใช้ไฟฟ้ าของลูกค้าตรงของ กฟผ. ถ่วงน้ำหนักด้วยสัดส่วนของ
ความต้องการพลังงานไฟฟ้ าของระบบจำหน่าย กฟน. และ กฟภ. และพลังงานไฟฟ้ าที่ กฟผ.
จำหน่ายให้แก่ลูกค้าตรงของตนเอง
(8.65)
เนื่องจากประเภทวัน d ในข้อมูลของ กฟภ. มีน้อยกว่าในข้อมูลของ กฟน. จึงรวม
ข้อมูลของ กฟน. ในวันหยุดนักขัตฤกษ์กับข้อมูลในวันอาทิตย์ เพื่อสามารถสร้างลักษณะการใช้
ไฟฟ้ าของผู้ใช้ไฟทั้งประเทศได้
ตัวประกอบภาระไฟฟ้ าของระบบ กฟผ. ณ “จุดปลายทาง” ในปี j ตามการเติบโต
เศรษฐกิจ k จะเท่ากับ

(8.66)

โดย
152

(8.67)
พลังงานไฟฟ้ าสูงสุดของระบบจำหน่าย กฟผ. ณ “จุดปลายทาง” ในปี j ตามการ
เติบโตเศรษฐกิจ k เขียนได้เป็ น

(8.68)

เนื่องจากตัวประกอบภาระไฟฟ้ าที่คำนวณจากการสำรวจลักษณะการใช้ไฟฟ้ า เป็ น


ตัวประกอบภาระไฟฟ้ า ณ จุดปลายทาง จึงมิอาจใช้ (8.29) และ (8.30) โดยตรงในการคำนวณ
ความสูญเสียพลังไฟฟ้ าสูงสุดได้ เพราะตัวประกอบภาระไฟฟ้ าใน (8.29) และ (8.30) เป็ น
ตัวประกอบภาระไฟฟ้ า ณ จุดต้นทาง ความสัมพันธ์ระหว่างพลังไฟฟ้ าสูงสุด ณ จุดต้นทางกับ
พลังไฟฟ้ าสูงสุด ณ จุดปลายทาง อาจเขียนได้ดังนี้

(8.69)

(8.70)

(8.71)

โดย และ เป็ นร้อยละของความสูญเสียของพลังงานไฟฟ้ าในปี j


ในระบบของ กฟผ. ระบบจำหน่ายของ กฟน. และ กฟภ. ตามลำดับ
และ เป็ นพลังไฟฟ้ าสูงสุดในปี j ตามการเติบโตทางเศรษฐกิจ
k ในระบบของ กฟผ. และระบบจำหน่ายของ กฟน. และ กฟภ. ตามลำดับ
รายละเอียดค่าพยากรณ์ได้แสดงไว้ในภาคผนวก ฌ

You might also like