You are on page 1of 13

วารสารวิจยั พลังงาน ปี ที่9 ฉบับที่ 2555/1 17

การศึกษาผลกระทบของการจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้า


ต่ อระดับกาลังการผลิตสารองที่ใช้ ในการวางแผน
พัฒนาระบบผลิตไฟฟ้า

รฐนนท์ เดี่ยววิไล1, รั กษนัย นิธิฤทธิไกร2 และ บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ 3


1
ภาควิ ชาวิ ศวกรรมไฟฟ้ า คณะวิ ศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ทยาลัย
2,3
สถาบันวิ จยั พลังงาน จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ทยาลัย
radhanon.diewviilai@gmail.com, raksanai.n@chula.ac.th, bundhit.e@chula.ac.th

บทคัดย่ อ
ปั จจุบนั การจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ า (Demand side management, DSM) นันมี ้ ความสาคัญกับการวางแผน
พัฒนาระบบผลิตไฟฟ้ าอย่างเห็นได้ ชดั การจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ าที่เหมาะสมสามารถชะลอการเพิ่มของความต้ องการใช้
พลังงาน เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ ไฟฟ้ าของประเทศ และช่วยลดระดับกาลังการผลิตติดตังที ้ ่ทาให้ ระบบไฟฟ้ าผ่านเกณฑ์
ความเชื่อถือได้ อีกทังยั
้ งส่งผลทางอ้ อมในการลดค่าใช้ จ่ายในการผลิตไฟฟ้ าอีกด้ วย ซึ่งผลกระทบดังกล่าวอาจส่งผลต่ อ
ระดับเกณฑ์กาลังการผลิตสารองของระบบไฟฟ้ าที่ใช้ ในการวางแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้ า (Power Development Plan,
PDP) เอกสารทางวิชาการฉบับนี ้นาเสนอกระบวนการศึกษาผลกระทบของการจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ าต่อกาลังการผลิต
สารองของไทย และตัวอย่างการประยุกต์ใช้ การจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ ากับการวางแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้ า เพื่อใช้ เป็ น
แนวทางในการจัดทาแผนการจักการด้ านการใช้ ไฟฟ้ าสาหรับการวางแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้ าต่อไป

คาสืบค้ น
การจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ า, การวางแผนพัฒนาระบบผลิตไฟฟ้ า, แผนพัฒนากาลังการผลิตไฟฟ้ า, การประเมิน
ความเชื่อถือได้
18 วารสารวิจยั พลังงาน ปี ที่9 ฉบับที่ 2555/1

Impacts of Demand Side Management on


Reserve Margin for Generation System Planning

Radhanon Diewvilai1, Raksanai Nidhiritdhikrai2 and Bundhit Eua-arporn3


1
Department of Electrical Engineering, Faculty of Engineering, Chulalongkorn University
2,3
Energy Research Institute, Chulalonglorn University
radhanon.diewviilai@gmail.com , raksanai.n@chula.ac.th, bundhit.e@chula.ac.th

ABSTRACT
It is widely known that demand side management (DSM) relates to generation system
planning, since appropriate DSM leads to reduction of energy consumption, increase of
energy efficiency, and reduction of installed capacity requirement. Another impact of the
DSM is also related to reduction of energy cost. Therefore, DSM could have impact on
reserve margin in a power development plan. In this paper, demand side management impact
on Thailand reserve margin is simulated and analyzed through a proposed methodology. In
addition, DSM application for power development plan is illustrated. With the obtained
results, the system planners can use as a guideline for the implementation of demand side
management for power development plan (PDP).

KEYWORDS
Demand Side Management, Generation System Planning, Power Development Plan,
Reliability Assessment
วารสารวิจยั พลังงาน ปี ที่9 ฉบับที่ 2555/1 19

I. บทนา
จุดประสงค์ของการวางแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้ าในระยะยาว คือ การสร้ างระบบไฟฟ้ าที่สามารถรองรับความ
ต้ องการใช้ ไฟฟ้ าในอนาคตซึ่งมีแนวโน้ มเพิ่ม สูงขึน้ ทุกปี [1] โดยการพยากรณ์ ความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าในอนาคตจากนัน้
วางแผนเพิ่มโรงไฟฟ้ าเข้ าสูร่ ะบบไฟฟ้ า ณ เวลาต่างๆ ทังนี ้ ้เพื่อให้ ระบบไฟฟ้ ามีความเชื่อถือได้ ตามเกณฑ์และมีต้นทุนค่า
พลังงานไฟฟ้ าที่เหมาะสม แต่ในปั จจุบนั งบประมาณที่จาเป็ นต้ องใช้ ในการก่อสร้ างโรงไฟฟ้ าขนาดใหญ่นนค่ ั ้ อนข้ างสูง
เช่นเดียวกับราคาเชือ้ เพลิงที่ใช้ ในการผลิตไฟฟ้ า นอกจากนี ้ผู้คนในพื ้นที่ที่มีการก่อสร้ างโรงไฟฟ้ าขนาดใหญ่ยงั ต่อต้ าน
เนื่องจากเกรงว่าสิง่ แวดล้ อมในบริ เวณนันจะได้
้ รับผลกระทบจากการผลิตไฟฟ้ า [2] การก่อสร้ างโรงไฟฟ้ าพลังงานทดแทน
หลายชนิดยังจาเป็ นต้ องพึง่ พาเทคโนโลยีจากต่างประเทศทาให้ ราคาต้ นทุนค่าพลังงานสูง นอกจากนี ้ยังมีปัญหาด้ านความ
เชื่อถือได้ ของแหล่งพลังงานที่ไม่แน่นอน ทาให้ การวางแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้ าโดยเพิ่มกาลังผลิตไฟฟ้ าให้ เพียงพอต่อ
ความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าที่เพิ่มขึ ้นเพียงอย่างเดียวอาจไม่ใช่ทางเลือกที่ดีที่สดุ อีกต่อไป ด้ วยเหตุผลดังกล่าวนาไปสูก่ ารนา
แนวคิดเรื่ องการจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ าเข้ ามามีบทบาทสาคัญในการวางแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้ า
การจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ า (Demand Side Management, DSM) คือ กิจกรรมหรื อแนวทางที่ผ้ ใู ห้ บริ การด้ าน
ไฟฟ้าดาเนินการหรื อสนับสนุนให้ ผ้ ใู ช้ ไฟฟ้ าเปลีย่ นรูปแบบการใช้ ไฟฟ้ าทังระดั
้ บความต้ องการใช้ ไฟฟ้ ารวมถึงช่วงเวลาที่ใช้
ไฟฟ้า เพื่อสร้ างรูปแบบความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าที่สอดคล้ องกับที่ผ้ ใู ห้ บริ การด้ านไฟฟ้ าต้ องการและผู้ใช้ ไฟฟ้ าพึงพอใจ [3-7]
ทังนี้ ้เพื่อให้ สามารถใช้ สาธารณูปโภคด้ านไฟฟ้ าที่มีอยูใ่ ห้ มีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สงู สุดแทนการก่อสร้ างโรงไฟฟ้ าหรื อ
ระบบส่งกาลังไฟฟ้ าเพิ่มเติม [4] แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ าเกิดขึ ้นช่วงทศวรรษ 1970 เมื่อเชือ้ เพลิง
ฟอสซิลมีราคาสูงขึ ้นมาก การพยากรณ์ความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าให้ แม่นยานันท ้ าได้ ยากขึ ้น การก่อสร้ างโรงไฟฟ้ าเพิ่มเติมมี
ค่าใช้ จ่ายสูงขึ ้นและถูกต่อต้ านจากคนในพื ้นที่ก่อสร้ างโรงไฟฟ้ าเนื่องจากได้ รับผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมจากการผลิตไฟฟ้ า
นอกจากนี ้ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้ เป็ นเชื ้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้ าก็เป็ นสิ่งที่ใช้ แล้ วหมดไป ไม่สามารถทดแทนได้ แนวคิด
เรื่ องการจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ าจึงเกิ ดขึน้ เพื่อจากัดการเพิ่มขึน้ ของความต้ องการใช้ ไฟฟ้ า ลดการใช้ พลังงานไฟฟ้ า
ลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้ อมจากการผลิตไฟฟ้ า และส่งเสริ มการอนุรักษ์ พลังงาน [6-8]
การจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ าเป็ นอีกวิธีการหนึ่งที่ทาให้ ระบบผลิตไฟฟ้ าสามารถรองรับความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าที่
เพิ่มขึ ้นได้ โดยการเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ พลังงานไฟฟ้ าหรื อการปรับเปลีย่ นรูปแบบการใช้ เอกสารทางวิชาการฉบับ
นี ้นาเสนอกระบวนการศึกษาผลกระทบของการจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ าต่อกาลังการผลิตสารองของไทย และตัวอย่างการ
ประยุกต์ใช้ การจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ ากับการวางแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้ า เพื่อใช้ เป็ นแนวทางในการจัดทาแผนการจัก
การด้ านการใช้ ไฟฟ้ าสาหรับการวางแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้ า โดยกระบวนการศึกษารวมถึงรายละเอียดการพิจารณา
เป็ นดังนี ้

II. กระบวนการศึกษา
ในหัวข้ อนี ้จะกล่าวถึงกระบวนการที่ใช้ ในการศึกษาผลกระทบของ DSM ต่อระดับกาลังการผลิตสารอง โดยจะทา
การประเมินระดับกาลังการผลิตสารองที่เหมาะสมสาหรับความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าที่มีการดาเนินการ DSM ดังนี ้
2.1 การประเมินระดับกาลังการผลิตสารองที่เหมาะสม
การประเมินระดับกาลังการผลิตสารองที่เหมาะสม คือ การสร้ างระบบไฟฟ้ าที่ผ่านเกณฑ์ความเชื่อถือได้ โดยใช้
กระบวนการทางสถิติ จากนันค ้ านวณค่ากาลังการผลิตสารองที่ผา่ นเกณฑ์จากระบบไฟฟ้ านันๆ ้ ออกมา จากกระบวนการ
ประเมินระดับกาลังการผลิตสารองที่เหมาะสม [9] นามาประยุกต์ใช้ พิจารณาผลของ DSM ได้ โดยการคานวณหาระบบ
ไฟฟ้าที่ผา่ นเกณฑ์ความเชื่อถือได้ สาหรับ Peak Load ค่าต่างๆ ที่รวมผลของ DSM ที่พิจารณา จากนันจึ
้ งคานวณค่ากาลัง
20 วารสารวิจยั พลังงาน ปี ที่9 ฉบับที่ 2555/1

การผลิตสารองของระบบไฟฟ้ าจากค่ากาลังผลิตติดตังของระบบไฟฟ้ ้ าในขณะนันกั้ บค่า Peak Load กระบวนการดังกล่าว


สามารถสรุปเป็ นขันตอนได้
้ ดงั นี ้
ขันที
้ ่ 1 กาหนดระบบไฟฟ้ าเริ่ มต้ น และข้ อมูลอื่นๆ ที่จาเป็ น ได้ แก่
1) ข้ อมูลเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าเริ่ มต้ น และเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าที่จะเพิ่มเข้ าสูร่ ะบบ
2) เกณฑ์ LOLE หรื อ จานวนวันที่คาดว่าจะเกิดเหตุการณ์ไฟฟ้ าดับ เช่น ไม่เกิน 1 วันต่อปี
3) ความต้ องการใช้ ไฟฟ้ ารายชัว่ โมง
4) ช่วง Peak Load ที่ต้องการพิจารณา
5) การลดกาลังไฟฟ้ าของการจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ าที่ต้องการพิจารณา (ถ้ ามี)
ขันที
้ ่ 2 ปรับปรุงแบบจาลองความต้ องการใช้ ไฟฟ้ า ได้ แก่
1) ปรับให้ คา่ ความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าสูงขึ ้นโดยให้ Peak Load มีคา่ เท่ากับค่าที่กาหนด
2) หักลบด้ วยผลของการจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ าที่ต้องการพิจารณา (ถ้ ามี)
ขันที
้ ่ 3 คานวณค่า LOLE ของระบบไฟฟ้ า
ขันที้ ่ 4 เปรี ยบเทียบค่า LOLE ที่คานวณได้ กบั เกณฑ์ LOLE ได้ แก่
1) หากค่า LOLE ไม่ผา่ นเกณฑ์ ให้ เพิ่มเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าตามที่กาหนด แล้ วกลับไปขันตอนที
้ ่3
2) หากค่า LOLE ผ่านเกณฑ์ ให้ ดาเนินการในขันตอนที ้ ่ 5 ต่อไป
ขันที ้ ่ 5 คานวณค่ากาลังการผลิตสารองของระบบ
ขันที ้ ่ 6 บันทึกผล แล้ วกลับไปดาเนินการในขันตอนที ้ ่ 2 จนครบช่วง Peak Load ที่ต้องการ
จากกระบวนการที่นาเสนอมาข้ างต้ น สามารถสรุปเป็ นแผนภาพได้ ดงั รูปที่ 1

1.
2. LOLE
3.
4.
5. Peak Load
6. DSM

Peak Load Peak Load

DSM

LOLE

LOLE LOLE

รูปที่ 1 กระบวนการประเมินระดับกาลังการผลิตสารองทีเ่ หมาะสม

III แบบจาลองความเชื่อถือได้ ของระบบไฟฟ้า


ในหัวข้ อนี ้จะกล่าวถึงการสร้ างแบบจาลองที่ใช้ ในการประเมินความเชื่อถือได้ ของระบบผลิต ไฟฟ้ าเพื่อใช้ ในการ
ประเมินความเชื่อถือได้ ของระบบผลิตไฟฟ้ าประกอบด้ วย แบบจาลองความต้ องการใช้ ไฟฟ้ า และแบบจาลองระบบผลิต
ไฟฟ้า โดยรายละเอียดของแบบจาลองดังกล่าวพร้ อมทังดั ้ ชนีความเชื่อถือได้ ของระบบไฟฟ้ าที่พิจารณาเป็ นดังนี ้
วารสารวิจยั พลังงาน ปี ที่9 ฉบับที่ 2555/1 21

3.1 แบบจาลองความต้ องการใช้ ไฟฟ้า


แบบจาลองความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าที่ใช้ เป็ น Load Duration Curve ซึ่งโดยปกติแล้ ว จะมี 2 แบบ ได้ แก่ Load
Duration Curve ที่ระยะเวลาเป็ นชัว่ โมง และ Load Duration Curve ที่ระยะเวลาเป็ นวัน โดยอาจจะเป็ น 1 เดือน หรื อ 1 ปี
โดยตัวอย่างของ Load Duration Curve รายชัว่ โมงของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2550 [10] เป็ นดังแสดงในรูปที่ 2

(MW)
25000

20000

15000

10000

5000

0
0 1000 2000 3000 4000 5000 6000 7000 8000
hr)

รูปที่ 2 แบบจาลองความต้ องการใช้ ไฟฟ้ า [8]

3.2 แบบจาลองระบบผลิตไฟฟ้า
สาหรับการสร้ างแบบจาลองของระบบผลิตไฟฟ้ าจะแยกพิจารณาประเภทของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าตามข้ อมูลและ
ผลกระทบต่อระบบผลิตไฟฟ้ า ซึง่ ประกอบด้ วยเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าที่มีขีดจากัดพลังงาน (Energy Limited Unit) และเครื่ อง
กาเนิดไฟฟ้าที่ไม่มีขีดจากัดพลังงาน ดังนี ้
3.2.1 เครื่ องกาเนิดไฟฟ้าที่มีขีดจากัดพลังงาน (Energy Limited Unit) [11]
เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าที่มีขีดจากัดพลังงาน (Energy Limited Unit) ส่วนใหญ่จะเป็ นเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าพลังน ้าที่มี
อ่างเก็ บน ้า เนื่องจากปริ มาณพลังงานไฟฟ้ าที่จะผลิตได้ นนขึ
ั ้ ้นกับระดับน ้าและปริ มาณน ้าในอ่างเก็บ พลังงานที่เครื่ อง
กาเนิดไฟฟ้าสามารถผลิตได้ ตอ่ ปี จึงมีคา่ จากัด และมักจะถูกใช้ จ่ายกาลังไฟฟ้ าเฉพาะช่วงที่ความต้ องการใช้ ไฟฟ้ ามีค่าสูง
ดังนันแบบจ
้ าลองของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าแบบจากัดพลังงานจาเป็ นต้ องใช้ ข้อมูลความน่าจะเป็ นในการจ่ายพลังงานได้ ของ
เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าในช่วงเวลาหนึ่ง โดย แสดงตัวอย่างข้ อมูลของเขื่อนที่มีกาลังผลิต 779.2 MW ใน 1 ปี เป็ นดังแสดงใน
ตารางที่ 1
ตารางที่ 1 ความน่าจะเป็ นในการจ่ายพลังงานของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าแบบจากัดพลังงาน
ลาดับที่ พลังงานไฟฟ้ า (MWh) ความน่าจะเป็ นสะสม
1 6,825,792.00 0.00
2 1,183,989.24 0.20
3 647,954.72 0.56
4 0.00 1.00

แบบจาลองเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าแบบจากัดพลังงานเริ่ มจากการนาข้ อมูลของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าไปหักลบกับความ


ต้ องการใช้ ไฟฟ้าใน Load Duration Curve โดยการลดระยะเวลาที่จะเกิดความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าลงตามสมการที่ (1) [11]
22 วารสารวิจยั พลังงาน ปี ที่9 ฉบับที่ 2555/1

(1)

โดย คือ ระยะเวลาของความต้ องการใช้ ไฟฟ้ า หลังจากหักลบกาลังผลิตแล้ ว


คือ ระยะเวลาของความต้ องการใช้ ไฟฟ้ า จาก Load Duration Curve เมื่อหักลบกาลังผลิต
MW
คือ จานวนระดับกาลังผลิตของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า
คือ กาลังผลิตของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าลาดับที่
คือ ความน่าจะเป็ นที่กาลังผลิตไฟฟ้ าของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ ามีคา่
เมื่อได้ Load Duration Curve ที่หกั ลบผลของกาลังผลิตของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าจากสมการที่ (1) แล้ วจึงนามา
ปรับด้ วยค่าความน่าจะเป็ นการจ่ายพลังงานไฟฟ้ าโดยใช้ สมการที่ (2) [11]
(2)
โดย คือ ระยะเวลาของความต้ องการใช้ ไฟฟ้ า หลังพิจารณาผลของความน่าจะเป็ น
คือ ระยะเวลาของความต้ องการใช้ ไฟฟ้ า หลังจากหักลบกาลังผลิตแล้ ว
คือ ระยะเวลาของความต้ องการใช้ ไฟฟ้ า ก่อนหักลบกาลังผลิต
คือ พลังงานที่เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าจ่ายเมื่อความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าเท่ากับหรื อสูง กว่า MW
คือ ความน่าจะเป็ นที่เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าจ่ายพลังงานสูงกว่า
ตัวอย่างของ Load Duration Curve ก่อนและหลังถูกหักลบด้ วยผลของตัวอย่างเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าพลังน ้าที่มี
กาลังผลิต 779.2 MW และมีค่า = 0.04 แสดงดังรู ปที่ 3 ซึ่งจะเห็นว่าส่วนที่โดนหักลบไปนันคื ้ อส่วนของ Load
Duration Curve เฉพาะช่วงที่มีคา่ ความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าสูง

Original
(MW) Modified
25000

20000

15000

10000

5000

0
0 1000 2000 3000 4000 5000 6000 7000 8000
hr)

รูปที่ 3 ตัวอย่าง Load Duration Curve ก่อนและหลังหักลบผลของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ ามีขีดจากัดพลังงาน

3.2.2 เครื่ องกาเนิดไฟฟ้าที่ไม่ มีขีดจากัดพลังงาน [7]


สาหรับการพิจารณาเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าที่ไม่มีขีดจากัดพลังงานนัน้ ค่าสถิติการทางานของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าใน
กลุ่มนี ้คานวณจากความน่าจะเป็ นในการเปลี่ยนสถานะจาก “ดี” ไป “เสีย” (Failure Rate, λ) และจาก “เสีย” ไป “ดี”
(Repair Rate, µ) ในแบบจาลองการทางาน 2 สถานะ [12] ดังแสดงในรูปที่ 4
วารสารวิจยั พลังงาน ปี ที่9 ฉบับที่ 2555/1 23

λ
μ

รูปที่ 4 แบบจาลองการทางาน 2 สถานะ ของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าไม่มีขีดจากัดพลังงาน [7]

จากนัน้ จึงคานวณโอกาสที่เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าขัดข้ องในระยะยาว (Forced Outage Rate, FOR) จาก
สมการที่ (3) [7]
(3)
เมื่อได้ คา่ ของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าแล้ ว เราจะนาข้ อมูลดังกล่าวมาใช้ ประกอบในการสร้ างตารางความน่าจะ
เป็ นในการขาดกาลังการผลิต (Capacity Outage Probability Table, COPT) ซึง่ จะใช้ เป็ นแบบจาลองของระบบผลิตไฟฟ้ า
โดยใช้ สมการที่ (4) [12]
(4)
โดย คือขนาดของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าที่เพิ่มเข้ ามาในรอบนี ้
คือค่า ของเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าที่เพิ่มเข้ ามาในรอบนี ้
คือความน่าจะเป็ นสะสมในการเสียกาลังผลิตขนาด MW หลังเพิ่มเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าขนาด
MW
คือความน่าจะเป็ นสะสมในการเสียกาลังผลิตขนาด MW ก่อนเพิ่มเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าขนาด
MW กาหนดค่าเริ่ มต้ นของให้ = 1.0 เมื่อ และ = 0 เมื่อ
เมื่อได้ แบบจาลองระบบผลิตไฟฟ้ าและแบบจาลองความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าแล้ ว ในหัวข้ อต่อไปจะกล่าวถึงการสร้ าง
แบบจาลองความเสีย่ งเพื่อทาการประเมินความเชื่อถือได้ ของระบบไฟฟ้ าต่อไป
3.3 ดัชนีความเชื่อถือได้ ของระบบไฟฟ้า
ดัชนีความเชื่อถือได้ ของระบบไฟฟ้ า คือ ดัชนีที่บง่ ชี ้ว่าระบบผลิตไฟฟ้ าที่มีอยู่นี ้เพียงพอที่จะรองรับความต้ องการ
ใช้ ไฟฟ้ าได้ หรื อไม่ โดยระบบไฟฟ้ าที่เชื่อถือได้ จะต้ องมีดชั นีความเชื่อถือได้ ผ่านเกณฑ์ โดยดัชนีที่ใช้ ในการประเมินความ
เชื่อถือได้ ของระบบไฟฟ้ าทีพ่ ิจารณามีดงั นี ้
3.3.1 ระดับกาลังการผลิตสารอง
กาลังการผลิตสารองหมายถึงค่าร้ อยละของส่วนต่างระหว่างกาลังติดตัง้ (Installed Capacity) กับความต้ องการ
ใช้ ไฟฟ้ าสูงสุดเทียบกับความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าสูงสุด ซึ่งกาลังผลิตส่วนนี ้จะสารองไว้ สาหรับทดแทนเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าที่
ขัดข้ องหรื อต้ องซ่อมบารุ ง รวมถึงกาลังผลิตที่สารองไว้ เพื่อรองรั บความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าในอนาคตที่อาจสูงกว่าค่าที่
พยากรณ์ โดยสามารถคานวณได้ จากสมการที่ (5)

(5)

3.3.2 ดัชนีความเชื่อถือได้ LOLE (Loss of Load Expectation)


ดัชนีความเชื่อถือได้ LOLE (Loss of Load Expectation) แสดงถึงจานวนวันที่คาดหมายว่าจะเกิดเหตุการณ์ที่ทา
ให้ กาลังผลิตไฟฟ้ าที่พร้ อมจ่ายในระบบมีคา่ ต่ากว่าความต้ องการใช้ ไฟฟ้ า ในการคานวณค่าดัชนีความเชื่อถือได้ LOLE นัน้
จะอาศัย COPT แทนแบบจาลองของระบบผลิตไฟฟ้ า และอาศัย Daily Peak Load Duration Curve ดังแสดงในรู ปที่ 5
แทนแบบจาลองความต้ องการใช้ ไฟฟ้ า โดยคานวณค่าดัชนีความเชื่อถือได้ LOLE จากสมการที่ (6) [12]
24 วารสารวิจยั พลังงาน ปี ที่9 ฉบับที่ 2555/1

(IC)

L peak Ok
tk
MW

1 365

รูปที่ 5 หลักการประเมินค่าดัชนีความเชื่อถือได้ LOLE [7]

(6)

โดย คือ ความน่าจะเป็ นที่จะเกิดการสูญเสียกาลังผลิตขนาด MW


คือ ระยะเวลาที่กาลังการผลิตไม่เพียงพอจ่ายความต้ องการใช้ ไฟฟ้ า
คือ จานวนสถานะทังหมดของระบบผลิ
้ ตไฟฟ้ า (COPT)

IV. แบบจาลองการจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้า


สาหรับแบบจาลองการจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ าที่พิจารณาในการศึกษานัน้ กาหนดให้ DSM ที่พิจารณาทุกกรณีมี
เป้าหมายแบบ Strategic Conservation โดยผลของ DSM สามารถแสดงได้ ดงั สมการที่ (7) [13]
(7)
โดย คือ แบบจาลองความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าเริ่ มต้ น
คือ แบบจาลองความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าที่ปรับปรุงแล้ ว
คือ กาลังไฟฟ้ าที่เพิ่มหรื อลดรายชัว่ โมงระหว่างชัว่ โมงที่ ถึง
คือ +1 ถ้ าเป็ นเป้าหมายแบบ Strategic Load Growth
-1 ถ้ าเป็ นเป้าหมายแบบ Strategic Conservation

V. การวิเคราะห์ ผลกระทบต่ อกาลังการผลิตสารอง


ในการศึกษาผลกระทบของ DSM ที่มีต่อกาลังการผลิตสารองนันใช้ ้ ตวั อย่างข้ อมูลระบบผลิตไฟฟ้ าและความ
ต้ องการใช้ ไฟฟ้ ามาดาเนินการตามประบวนการที่ได้ นาเสนอภายใต้ เงื่อนไขหรื อสมมติฐานที่กาหนดขึ ้น โดยข้ อมูลระบบ
ทดสอบ สมมติฐานต่างๆ และผลการศึกษา เป็ นดังนี ้
5.1 ระบบทดสอบ
สาหรับการทดสอบเบื ้องต้ นนันใช้
้ ข้อมูลระบบไฟฟ้ าดัดแปลงอ้ างอิงจากการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย ณ
เดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 [10] มาเป็ นระบบทดสอบ โดยประกอบด้ วยเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าจานวน 109 เครื่ อง กาลังผลิต
ติดตังรวม
้ 31,348 MW และใช้ คา่ ความต้ องการใช้ ไฟฟ้ ารายชัว่ โมงของปี พ.ศ. 2550 [10] ที่มีความต้ องการพลังงานไฟฟ้ า
146,268 GWh ความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าสูงสุด 22,568 MW เป็ นค่าความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าฐาน ทังนี้ ้ใช้ เกณฑ์ LOLE ไม่สงู
กว่า 1 วันต่อปี เป็ นเงื่อนไขในการวางแผน
วารสารวิจยั พลังงาน ปี ที่9 ฉบับที่ 2555/1 25

ในการทดสอบกาหนดให้ ความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าสูงสุดมีค่าตังแต่ ้ 24,000 MW ถึง 50,000 MW โดยเพิ่มขึ ้น 500
ทุกรอบการพิจารณา กาหนดค่าความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าที่ลดลงเนื่องจากผลของ DSM ให้ เป็ นสัดส่วนกับค่าความต้ องการใช้
ไฟฟ้าสูงสุดที่เพิ่มขึ ้นในแต่ละรอบของการพิจารณา โดยกาหนดให้ เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าที่เพิ่มเข้ าสูร่ ะบบในแต่ละกรณีศึกษา
ดังตารางที่ 2 มีขนาดเครื่ องละ 100 MW และ FOR = 0.07
ตารางที่ 2 กรณีศกึ ษาสาหรับการวิเคราะห์ผลกระทบต่อกาลังการผลิตสารอง
ชื่อกรณี สัดส่วนกาลังไฟฟ้ าที่ลดลงต่อรอบ (%) ช่วงเวลาที่ลดกาลังไฟฟ้ า
Base Case 0 -
DSM 2% All 2 ตลอดทังวั ้ น ทุกวัน
DSM 4% All 4 ตลอดทังวั ้ น ทุกวัน
DSM 6% All 6 ตลอดทังวั ้ น ทุกวัน
DSM 8% All 8 ตลอดทังวั ้ น ทุกวัน
DSM 2% Peak 2 13:01 – 17:00 ของวันทางาน
DSM 4% Peak 4 13:01 – 17:00 ของวันทางาน
DSM 6% Peak 6 13:01 – 17:00 ของวันทางาน
DSM 8% Peak 8 13:01 – 17:00 ของวันทางาน
DSM 2% Off 2 1:01 – 5:00 ของวันทางาน
DSM 4% Off 4 1:01 – 5:00 ของวันทางาน
DSM 6% Off 6 1:01 – 5:00 ของวันทางาน
DSM 8% Off 8 1:01 – 5:00 ของวันทางาน

5.2 ผลการวิเคราะห์
จากข้ อมูลที่กล่าวถึงในหัวข้ อที่ 5.2 ทาการทดสอบตามกระบวนการที่นาเสนอในหัวข้ อที่ 2 ค่าระดับกาลังการ
ผลิตสารองที่เหมาะสมของแต่ละกรณีแสดงในรูปที่ 6

Base
30.00 DSM 2% All

27.50 DSM 4% All


DSM 6% All
25.00
DSM 8% All
22.50 DSM 2% Peak
DSM 4% Peak
20.00
DSM 6% Peak
17.50
DSM 8% Peak
15.00 DSM 2% Off
DSM 4% Off
12.50
DSM 6% Off
10.00
DSM 8% Off
23,000 26,000 29,000 32,000 35,000 38,000 41,000 44,000 47,000 50,000
MW)

รูปที่ 6 กาลังการผลิตสารองของทุกกรณีที่พิจารณา
26 วารสารวิจยั พลังงาน ปี ที่9 ฉบับที่ 2555/1

จากรู ปที่ 6 จะเห็นว่า DSM ทาให้ ค่ากาลังการผลิตสารองที่เหมาะสมเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้ อยเท่านัน้ ในขัน้


ต่อมาจะพิจารณาระดับกาลังการผลิตติดตังของระบบไฟฟ้
้ าที่ผ่านเกณฑ์ LOLE ไม่สงู กว่า 1 ต่อปี โดยค่ากาลังผลิตติดตัง้
ของระบบไฟฟ้าที่ผา่ นเกณฑ์และค่ากาลังผลิตติดตังที
้ ่ลดลงเนื่องจากของกรณีตา่ งๆ เป็ นดังรูปที่ 7 และ 8 ตามลาดับ

(MW) Base
60,000 DSM 2% All
DSM 4% All
55,000 DSM 6% All
DSM 8% All
50,000
DSM 2% Peak
DSM 4% Peak
45,000
DSM 6% Peak
40,000 DSM 8% Peak
DSM 2% Off
35,000 DSM 4% Off
DSM 6% Off
30,000
DSM 8% Off
23,000 26,000 29,000 32,000 35,000 38,000 41,000 44,000 47,000 50,000
MW)

รูปที่ 7 กาลังผลิตติดตังที
้ ่ผา่ นเกณฑ์ของแต่ละกรณี

(MW) Base
500 DSM 2% All
DSM 4% All
0 DSM 6% All
DSM 8% All
-500
DSM 2% Peak
DSM 4% Peak
-1,000
DSM 6% Peak
-1,500 DSM 8% Peak
DSM 2% Off
-2,000 DSM 4% Off
DSM 6% Off
-2,500
DSM 8% Off
23,000 26,000 29,000 32,000 35,000 38,000 41,000 44,000 47,000 50,000
MW)

รูปที่ 8 กาลังผลิตติดตังที
้ ่ลดลงของแต่ละกรณีเมื่อเทียบกับกรณีฐาน

จากรูปที่ 7 และ 8 จะเห็นว่าระดับกาลังการผลิตติดตังของระบบไฟฟ้


้ าที่มีการลดความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าในช่วงที่
ความต้ องการใช้ ไฟฟ้ ามีค่าสูงจะมีค่าต่ากว่ากรณีฐาน และระดับกาลังการผลิตติดตัง้ ของระบบไฟฟ้ าที่มีการลดความ
ต้ องการใช้ ไฟฟ้ าในช่วงที่ความต้ องการใช้ ไฟฟ้ ามีค่าต่าจะมีค่าเท่ากับกรณีฐาน นันคื
้ อ DSM สามารถลดจานวนเครื่ อง
กาเนิดไฟฟ้ าที่ต้องก่อสร้ างเพิ่มในอนาคตได้ หากสามารถลดระดับความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าสูงสุดลงได้ ทังนี ้ ้หากพิจารณา
กรณี 6 All เทียบกับ 6 Peak และ 8 All เทียบกับ 8 Peak จะพบว่าหากลดความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าเฉพาะช่วงเวลาที่เกิด
วารสารวิจยั พลังงาน ปี ที่9 ฉบับที่ 2555/1 27

ความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าสูงสุดมากเกิ นไป ณ ระดับความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าสูงสุดค่าหนึ่งเป็ นต้ นไปมาตรการนีจ้ ะไม่มีผล
เนื่องจากความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าในช่วงเวลานี ้จะมีค่าลดลงจนมีค่าต่ากว่าช่วงเวลาอื่นๆ ทาให้ ค่าความต้ องการใช้ ไฟฟ้ า
สูงสุดเกิดขึ ้นในช่วงเวลาอื่นและมาตรการที่ดาเนินการอยูน่ ี ้จะไม่สามารถช่วยลด Peak Load ได้
VI. ผลกระทบของต่ อแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้า
หัวข้ อนี ้จะกล่าวถึงการประยุกต์ใช้ การจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ ากับการวางแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้ า โดยใช้
ข้ อมูลเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าตามแผน PDP 2010 เพื่อพิจารณาผล DSM ที่มีตอ่ แผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้ า มีรายละเอียดดังนี ้
6.1 ระบบทดสอบ
ในการทดสอบจะใช้ ระบบไฟฟ้ าดัดแปลงอ้ างอิง ณ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2549 [13] เป็ นระบบเริ่ มต้ นในการ
พิจารณา และใช้ คา่ พยากรณ์ความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าตาม PDP 2010 [13] สร้ างแบบจาลองความต้ องการใช้ ไฟฟ้ า ประกอบ
กับใช้ รายชื่อโรงไฟฟ้ าตามแผน PDP 2010 เป็ นเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าที่จะเพิ่มข้ าสูร่ ะบบไฟฟ้ า ทังนี
้ ้ละเลยลาดับการเพิ่มตาม
แผนเดิมหลังจากปี พ.ศ. 2562 เนื่องจากเป็ นโรงไฟฟ้ าที่คาดว่าจะต้ องก่อสร้ างเพิ่มเติมเท่านัน้ ยังไม่มีแผนการก่ อสร้ างที่
แน่นอน ในจาลองผลจะเริ่ มต้ นพิจารณาตังแต่
้ ปี พ.ศ. 2553 ถึงปี พ.ศ. 2573 โดยค่าความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าจะเพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆ
ในแต่ละปี และใช้ เกณฑ์กาลังการผลิตสารองไม่ต่ากว่าร้ อยละ 15 ในการวางแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้ า หากที่เวลาใด
หลังจากปี พ.ศ. 2562 ระบบมีกาลังการผลิตสารองต่ากว่าเกณฑ์ให้ เพิ่มเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าตามลาดับในแผน PDP 2010
ทาการพิจารณาเช่นนี ้จนถึงปี พ.ศ. 2573
ในการทดสอบนันจะพิ
้ จารณาเปรี ยบเทียบ 2 กรณีประกอบด้ วย 1) กรณีที่ไม่มี DSM ให้ เป็ น กรณี Base และ 2)
กรณีลดความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าลงร้ อยละ 6 ของความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าสูงสุดที่เพิ่มขึ ้นตลอดทังวั้ น ให้ เป็ นกรณี DSM 6% All
6.2 ผลการวิเคราะห์
จากการจาลองผลพบว่า ค่ากาลังผลิตติดตังและค่
้ าความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าสูงสุดในแต่ละปี เป็ นดังรู ปที่ 9 โดย
สัญลักษณ์ Nuke 1 ถึง Nuke 5 แสดงถึงโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ขนาดกาลังการผลิต 1,000 MW ทีจ่ ะเพิ่มเข้ าสูร่ ะบบไฟฟ้ าตาม
แผน PDP 2010 ทัง้ 5 โรง

, DSM 6% All
Peak Load Peak Load DSM 6% All
Peak Load MW)
Nuclear PP 5
70,000
65,000
Nuclear PP 1 Nuclear PP 3
60,000
55,000
50,000
45,000
40,000
Nuclear PP 4
35,000
30,000 Nuclear PP 2
25,000
20,000
2553
2554
2555
2556
2557
2558
2559
2560
2561
2562
2563
2564
2565
2566
2567
2568
2569
2570
2571
2572
2573

รูปที่ 9 กาลังผลิตติดตังของระบบไฟฟ้
้ าเมื่อใช้ ข้อมูลจาก PDP 2010
28 วารสารวิจยั พลังงาน ปี ที่9 ฉบับที่ 2555/1

จากรูปที่ 9 จะเห็นว่าค่าความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าสูงสุดและค่ากาลังผลิตติดตังในแต่


้ ละปี ของกรณีที่มีการดาเนินการ
DSM มีคา่ ต่ากว่ากรณีที่ไม่มี DSM และจะเห็นว่ากรณี DSM สามารถชะลอการก่อสร้ างโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ ขนาดกาลังการ
ผลิต 1,000 MW ทัง้ 5 โรงได้ 1 ปี โดยประมาณ จากตัวอย่างดังกล่าวแสดงให้ เห็นว่าการประยุกต์ใช้ มาตรการ DSM ที่
เหมาะสมนัน้ สามารถชะลอการเพิ่มการเพิ่มกาลังผลิตเข้ าสูร่ ะบบไฟฟ้ าได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

VI. สรุ ปผล


จากผลการวิเคราะห์ข้างต้ นสามารถสรุปได้ วา่ การจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ าที่ให้ ผลแบบ Strategic Conservation
นี ้มีผลต่อระดับกาลังการผลิตสารองที่เหมาะสมน้ อยมาก แต่มีผลต่อกาลังผลิตที่ต้องเพิ่มเข้ าสูร่ ะบบไฟฟ้ าในอนาคตสาหรับ
ในกรณีที่มาตรการ DSM สามารถลดระดับความต้ องการใช้ ไฟฟ้ าสูงสุดลงได้ ซึ่งผลการวิเคราะห์ต่างๆเหล่านี ้จะสามารถ
นาไปใช้ เป็ นข้ อมูลสาคัญในการจัดทาแผนการจัดการด้ านการใช้ ไฟฟ้ าสาหรับการวางแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้ าได้ ตอ่ ไป

กิตติกรรมประกาศ
ผู้วิจยั ขอขอบคุณสถาบันวิจยั พลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ให้ การสนับสนุนข้ อมูลและทุนสาหรับการวิจยั
ในครัง้ นี ้
วารสารวิจยั พลังงาน ปี ที่9 ฉบับที่ 2555/1 29

บรรณานุกรม
[1] การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย, EGAT Generation Data for Planning [Excel Wooksheet]. 2554.
[2] การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย. แผ่นพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้ าของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2573, 2553.
[3] J.E. Runnels and M.D. Whyte, “Evaluation of Demand-Side Management,” Proceedings of the IEEE,
vol. 73, no. 10, pp. 1489-1495, Oct. 1985.
[4] M. Zhou and G. Li and P. Zhang, “Impact of Demand Side Management on Composite Generation and
Transmission System Reliability,” presented at Power Systems Conference and Exposition 2006,
pp. 819-824. Proceeding of the IEEE, 2006.
[5] R.M. DelGado, “Demand-Side Management Alternatives,” Proceedings of the IEEE, vol. 73, no. 10,
pp. 1471-1488, Oct. 1985.
[6] A. Mohsenian-Rad and V.W.S. Wong and J. Jatskevich and R. Schober and A. Leon-Garcia,
“Autonomous Demand-Side Management Based on Game-Theoretic Energy Consumption
Scheduling for the Future Smart Grid,” IEEE Transactions on Smart Grid, vol. 1, no. 3,
pp. 320-331, Dec. 2010.
[7] C.W. Gellings and W.M. Smith, “Integrating Demand-Side Management into Utility Planning,”
Proceedings of the IEEE, vol. 77, no. 6, pp. 908-918, Jun. 1989.
[8] B.A. Smith and M.R. Mcrae and E.L Tabakin. “Issues in Forecasting Demand-Side Management Program
Impacts,” Proceedings of the IEEE, Vol. 73 No. 10 (Oct 1985): 1496-1502.
[9] D.S. Loughran and J. Kulick, “Demand-Side Management and Energy Efficiency in the United States,”
The Energy Journal, vol. 25, no. 1, pp. 19-24, 2004.
[10] J.E. Runnels and M.D. Whyte, “Evaluation of Demand-Side Management,” Proceedings of the IEEE,
vol. 73, no. 10, pp. 1489-1495, Oct. 1985.
[11] R. Diewvilai and R. Nidhiritdhikrai and B. Eua-arporn, “Reserve Margin Evaluation for Generation System
Using Probabilistic Based Method,” Electrical Engineering/Electronics, Computers,
Telecommunication and Information Technology (ECTI), 2011 8th International Conference on,
pp. 905-908, 2011.
[12] R. Billinton and P.G. Harrington, “Reliability Evaluation in Energy Limited Generating Capacity Studies,”
IEEE Transactions on Power Apparatus and Systems, vol. PAS-97, no. 6, pp. 2076-2085,
Nov. /Dec. 1978.
[13] R. Billinton and R.N. Allan, Reliability Evaluation of Power System. London: Pitman Publishing Limited,
1984.

You might also like