You are on page 1of 51

สารบัญ

หน้า
บทคัดย่อ

กิตติกรรมประกาศ

สารบัญ

สารบัญรู ป

บทที่

1. บทนา
1.1 หลักการและเหตุผล
1
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการวิจยั
1
1.3 ขอบเหตุของโครงการวิจยั
1
1.4 ระยะเวลาและแผนดาเนินโครงการวิจยั
2
1.5 วิธีการดาเนินการวิจยั
2
1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
2
2. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2.1 การปรับปรุ งค่าตัวประกอบกาลังไฟฟ้า
3
2.1.1 ตัวประกอบกาลังไฟฟ้าคืออะไร
4
2.1.2 ถ้าทาให้ตวั ประกอบกาลังไฟฟ้าสู งจะทาให้มีผลดังนี้
5
2.1.3 ความต้านทานคายประจุ
8
2.2 อุปกรณ์
2.2.1 Capacitor
9

หน้า
3. การออกแบบ
3.1 การออกแบบ
-
3.2 เรี ยนรู ้เกี่ยวการปรับปรุ งตัวประกอบกาลังไฟฟ้า
-
3.4 วัดผลก่อนและหลังการปรับปรุ งตัวประกอบกาลังไฟฟ้า
-
4. การวัดผล
4.1 ก่อนแก้เพาเวอร์แฟคเตอร์
_
4.2 หลังแก้เพาเวอร์แฟคเตอร์
-
4.3 ค่าประกอบกาลังเพาเวอร์แฟคเตอร์
-
5. สรุ ป
5.1 สรุ ป
-
เอกสารอ้างอิง
-
สารบัญรู ป
หน้า
รู ปที่ 2.1 ตัวประกอบกาลังไฟฟ้า
-
รู ปที่ 2.3 การแก้เพาเวอร์แฟกเตอร์ดว้ ยคาปาซิเตอร์ -
สมรบัญตาราง

หน้า
ตารางที่ 1.1 ระยะแวลาในการวางแผน
2

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ความเป็นมา และ ความสําคัญของปัญหา


โหลดในภาคอุ ต สาหกรรมส่ ว นใหญ่ เช่ น มอเตอร์ ข นาดใหญ่ อย่ า งในโรงสี ข ้ า วเป็ น ต้ น
ซึ่งประกอบไปด้ว ยมอเตอร์ขนาดใหญ่หลายตัว และเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายในโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งโหลดเหล่านี้
ทำให้เกิดค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ หรือโหลดภายในอาคารบางชนิดที่เป็น อินดักทีฟโหลดซึ่งดึกกำลัง ไฟฟ้า
รีแอคทีฟ(Kvar) จากต้นทาง ทำให้อัตราส่วนระหว่างกำลังไฟฟ้าจริง(KW) ต่อกำลังไฟฟ้าปรากฏ (KVA)
ซึ่งก็คือค่าตัวประกอบไฟฟ้า(Power Factor, cos(θ) ต่ำลงซึ่งการไฟฟ้าได้กำหนดให้ผู้ใช้ไฟรายใหญ่
ต้องชำระค่าไฟฟ้ารีแอคทีฟ นอัตรา Kar ละ 56.7 บาท สำหรับระบบที่มีตัวประกอบกำลังต่ำกว่า 0.85
ต้ องการปรั บปรุ งตั วประกอบกำลั งไฟฟ้ าให้ ส ู งขึ ้ นมี ความสำคั ญและความจำเป็ นอย่ างมากเพื ่ อให้ ระบบไฟฟ้ า
ภายในโรงงานมีประสิทธิภาพดีขึ้น ลดปริมาณกระแสต้นทาง ลดพลังงานไฟฟ้า สูญเสีย(Power loss)
ลดแรงดันไฟฟ้าตก ช่วยยืดอายุของอุปกรณ์ไฟฟ้า (Life Time Extension) ละลดค่าปรับ PF Charge
จากการไฟฟ้าประเด็นสำคัญของการปรับปรุงค่า Power Factor ดังที่กล่าวมานั้น แสดงให้เห็นประโยชน์
ของการศึกษาเรียนรู้และช่วยให้ผู้ทเี่ รียนมีความเข้าใจทฤษฏีการปรับปรุงค่า PF
เนื่องจากปัจจุบันอุปกรณืไฟฟ้าที่มีค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าต่ำ มีผลทำให้ระบบการส่งจ่ายไฟฟ้า
มีคุณภาพต่ำไปด้วยเนื่องจากประโยชน์ที่ได้รับ จากกำลังไฟฟ้าจริง (กิโลวัตต์) ในระบบไฟฟ้าจะต่ำกว่า
ซึ่งทำให้การไฟฟ้าจำเป็นต้องเพิ่มขนาดของอุปกรณืจำหน่ายและอุปกรณืส่งไฟฟ้าให้สูงขึ้นเพื่อให้สามารถ
รับ ปริมาณพลังงานส่ว นที่ไม่จ ำเป็นหรือรีแอคตีฟ (กิโ ลวาร์) ที่เกิดขึ้นด้ว ย เพราะเราสามารถทำให้
ตัวประกอบกำลังไฟฟ้าสูงขึ้นได้โดยการติดตั้งตัวเก็บประจุไฟฟ้า (คาปาซิเตอร์) ซึ่งทำหน้าที่จ่ายกำลังไฟฟ้า
รีแอคตีฟ (กิโลวาร์) แทนเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
ดังนั้น กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้ทำแบบการเรียนรู้เกี่ยวกับ การปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
(Power Factor) : PF) สามารถลดกำลังไฟฟ้าสูญเสียและเพิ่มความสามารถในการรับโหลดของอุปกรณ์
ต่างๆ ได้เพิ่มขึ้นทั้งของผู้ใช้ไฟฟ้า ระบบจำหน่าย ระบบส่งไฟฟ้าและเครื่องกำเนิดไฟฟ้าซึ่งจะเป็ นการ
ประหยัดการใช้พลังงานไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟฟ้าและของประเทศชาติโดยรวมอันจะก่อไห้เกิดอนุรักษ์พลังงาน
ไฟฟ้าซึ่งจะสามารถพิจารณาความสามารถในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า โดยการสร้างชุดตัวปรับปรุงตัว
ประกอบกำลังไฟฟ้าที่มีผลต่อบิลไฟฟ้าขึ้นมา
1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1.ลดค่าปรับ PF Charge ของการไฟฟ้า

1.2.2 เพื่อเป็นการศึกษาคุณลักษณะของการปรับปรุงตัวประกอบกําลัง

1.3 วิธีการดำเนินการวิจัย

1.3.1 ศึกษาการเรียนรู้การปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า

1.3.2 จำลองการปรับปรุงค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์

1.3.3 ปรับปรุงและแก้ไข

1.4 วิธีการวิจัย
1.4.1 เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนํามาวิเคราะห์
1.4.2 ดําเนินการคํานวณวิเคราะห์เพื่อหาค่ากําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟที่ต้องการชดเชย
1.4.3 สรุปผลและวิเคราะห์การลดค่า PF Charge ของการไฟฟ้า

1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1.5.1 ศึกษาการเรียนรู้การปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า

บทที่ 2
ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกีย่ วข้อง
2.1 บทที่ 2
สํ าหรั บรายละเอี ยดในบทนี้ จะแสดงถึ งทฤษฎี ท ี ่ ส ํ าคั ญและงานวิ จ ั ยที ่ เกี ่ ยวข้ องกั บการ
ปรั บปรุ งตั วประกอบกํ าลั งในระบบฟ้ า โดยจะกล่ า วถึ ง กํ า ลั ง ไฟฟ้ า ในวงจรไฟฟ้ า กระแสสลั บ
ตัวประกอบกําลังไฟฟ้า การปรับปรุงตัวปรับประกอบกําลังไฟฟ้า สามเหลี่ยมกำลังไฟฟ้า การติดตั้งตัวคาปาซิเตอร์
ข้อดีและข้อเสียของการใช้ตัวเก็บประจุไฟฟ้า ประโยชน์ของการปรั บ ปรุ ง ค่ า ตั ว ประกอบกํ า ลั ง ไฟฟ้ า
ให้ เ หมาะสมและที่ เ กี่ ย วข้ อ งเนื้ อ หาดั ง กล่ า วเป็ น พื้ น ฐานในการออกแบบ และสร้ า งโครงงานนี้

2.2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
บทความของบรรจง มะลิวัลย์ [1], “การปรับปรุงตัวประกอบกําลังของเครื่องใช้ไฟฟ้า ภายโรงงานอุตสาหกรรม”
การเพิ่มค่าของตัวประกอบกําลัง (Power factor) ของอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าในโรงงาน วัตถุประสงค์ของโครงงาน
คื อการศึ กษาแนวทางการลด ค่ าไฟด้ วยการลดการใช้ ก ํ าลั งปรากฏ (Apparent power) ของอุ ปกรณ์ ท ี ่ สนใจ
ในขณะที่ความต้องการใช้กําลังจริง (Real power) ของอุปกรณ์ดังกล่าวยังคงเดิม แนวทางหนึ่งที่เป็นไปได้คือ
การปรั บปรุ งตั วประกอบกํ าลั ง (Power factor correction) จากการศึ กษาจะพบว่ าตั วประกอบกํ าลั งไฟฟ้ า
ของโรงงานอุ ต สาหกรรม โดยมี ค ่ า อยู ่ ท ี ่ ป ระมาณ 0.50-0.80 ในโครงงานนี ้ จ ึ ง ได้ อ อกแบบ
เพื ่ อ เพิ ่ ม ค่ า ของตั ว ประกอบกํ า ลั ง ให้ ม ี ค ่ า ประมาณ 0.95 โดยต่ อ ขนานตั ว เก็ บ ประจุ เ ข้ า กั บ
อุปกรณ์ที่ต้องการชดเชยกําลังไฟฟ้าปรากฏ (Reactive power) ที่อุปกรณ์นั้นต้องการโดยได้ทําการทดลอง
วั ด ค่ า ต่ า ง ๆ ที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งทั ้ ง ก่ อ น และหลั ง การปรั บ ปรุ ง แล้ ว นํ า มาเปรี ย บเที ย บกั น นอกจากนี้
ยั ง ได้ ส ร้ า งโปรแกรมขึ ้ น ใน Microsoft Office Excel เพื ่ อคํ านวณหาค่ าความจุ ไฟฟ้ าที ่ จะใช้ ในการ
ปรั บ ปรุ งค่ าตั วประกอบกํ าลั งและช่ วยในการวิ เคราะห์ ห า แ น ว ท า ง ก า ร ป ร ะ ห ย ั ด ไ ฟ ต ่ อ ไ ป

บทความของ Ugur Celtektingil [2], “การแก้ ไ ขคุ ณ ภาพไฟฟ้ า และค่ า ตั ว ประกอบกํ า ลั ง


ของขนส่งมวลชน” ผลการวิจ ัยนี้จะกล่าวถึงการประยุ กต์ ใช้ส ําหรับการแก้ไขปัญหาไดนามิคเพาเวอร์แฟคเตอร์
และแรงดันไฟฟ้าในระบบขนส่งมวลชน (ระบบรถไฟฟ้า) สายไฟใต้ดินสําหรับส่งขนาด 34.5KV สถานี้ย่อย
ก่ อ ให้ เ กิ ด ค่ า กํ า ลั ง ไฟฟ้ า รี แ อคที ป ต่ ํ า มาก เทคนิคนี้จะมีความจําเฉพาะเจาะจงกับโรงงานที่มีความต้องการ
หลีกเลี่ยงค่าปรับในการใช้พลังงานไฟฟ้า และการปรับสมดุลของคาปาซิตีฟ รีแอคทีฟเพาเวอร์ ของสายไฟใต้ดิน
และผลกระทบจากระบบรถไฟ อินดักทีฟและคาปาซิทีฟไม่ค วรเกินค่าที่กําหนดเพื่อลีกเลี่ยงการปรับ
ซึ่งปัญหาเกิดจากความเสถียรภาพของแรงดันไฟฟ้าและค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ ได้รับการวิเคราะห์สรุปได้ว่า
ต้องมีการติดตั้งรีแอกเตอร์ ตัวรีแอคเตอร์จะมีสวิตซ์เปิดผ่านไทริสเตอร์ใช้ในการควบคุมกําลังไฟฟ้าอัตโนติ
โดยการตรวจจับเพาเวอร์แฟคเตอร์และการ ตรวจสอบอย่างต่อเนื่องของกระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้า
การคํานวณค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์และการสลับค่าความเหนี่ยวนําตามความต้องการ การแก้ปัญหานี้
ทําให้เกิดความพึงพอใจเป็นอย่างมากสาม สามารถหลีกเลี่ยงการเสียค่าปรับตามกฎหมายได้

2.3 กําลังไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
ในระบบไฟฟ้ า กระแสสลั บ หรื อ ระบบไฟฟ้ า ที ่ ใ ช้ ก ั น ในอุ ต สาหกรรม หรื อ ที ่ อ ยู ่ อ าศั ย
มีการวัดกําลังไฟฟ้าหลายหน่วยดังต่อไปนี้

2.3.1. กํ าลั งไฟฟ้ าจริ ง (Active Power) มี หน่ วยเป็ น วั ตต์ (W) หรื อกิ โลวั ตต์ (kW) เป็ นกํ าลั งงานที ่ สามารถ
เปลี ่ ย นแปลงโดยอุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ าให้เ ป็ นพลัง งานรู ปแบบอื ่น ได้ เช่ น ความร้ อ น , แสงสว่าง
หรือกําลังงานกล

2.3.2. กําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ (Reactive Power) มีหน่วยเป็น วาร์ (VAR) หรือกิโลวาร์ (KVAR) เป็น
กําลังงานที่ไม่ส ามารถเปลี่ยนไปเป็นพลังงานรูปอื่นได้ แต่อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ต้องทํางานโดย
อาศั ย สนามแม่เ หล็ก เช่ น หม้ อ แปลงไฟฟ้ า , มอเตอร์ ไ ฟฟ้ า ต้ อ งใช้ ก ํ าลัง งานรี แ อคทีฟ นี้ เพื ่ อสร้าง
สนามแม่เหล็ก

2.3.3. กําลังไฟฟ้าปรากฏ (Apparent Power) มีหน่วยเป็น โวลท์-แอมป์ (VA) หรือกิโล โวลท์แอมป์ (kVA)
เป็นกําลังไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าจะจ่ายให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้า กําลังไฟฟ้าปรากฏ เกิดจากผลรวม
ของกําลังไฟฟ้าจริงและกําลังไฟฟ้าปรากฏ ดังแสดงในภาพที่ 2.1 และภาพที่ 2.2

ภาพที่ 2.1 สามเหลี่ยมกําลังไฟฟ้า

ภาพที่ 2.2 ภาพแสดงสัญญาณของแรงดัน กระแส และกําลังของไฟฟ้ากระแสสับ

2.4 ระเภทของโหลดไฟฟ้า
โหลดทางไฟฟ้าจะมีอยู่ 3 ชนิด คือ
-โหลดที่เป็นความต้านทาน ( R ) Resistive
-โหลดที่เป็นตัวเหนี่ยวนำหรือขดลวด ( L ) Inductive
-โหลดที่เป็นตัวเก็บประจุไฟฟ้า ( C ) Capacitive

โหลด R, L และ C
โหลดที ่ เราใช้ ในระบบไฟฟ้ า ซึ ่ งโหลดแต่ ละประเภทก็ จะส่ งผลต่ อระบบไฟฟ้ าของเราแตกต่ างกั น
ซึ่งสามารถจำแนกโหลดพื ้น ฐานเป็น 3 กลุ่ม ด้ว ยกันดังนี้ คื อ Load ประเภท โหลดความต้าน (R),
ดังรูปที่ 2.3กระแสล้าหลังแรงดัน (L), ดังรูปที่ 2.4 และ กระแสนําหน้าแรงดัน (C), ดังรูปที่ 2.5

2.4.1 โหลดความต้านทาน (Resistive Load, R)


โหลดความต้าน เช่น หลอดไฟฟ้าแบบไส้ เตารีดไฟฟ้า หม้อหุงข้าว เครื่องทำน้ำอุ่น เป็นต้น ซึ่งเป็นโหลดที่ทำให้
ค่า Power Factor เท่ากับ 1 ซึ่งหากพิจารณาจากกราฟความสัมพันธ์ระหว่างกระแสกับแรงดันของโหลด
ประเภทนี้แล้วนั้น กระแสและแรงดันมีมุมเฟสทางไฟฟ้าเดียวกัน ทำให้ไม่มีการใช้พลังงานรีแอคทีฟและไม่เกิดการ
สูญเสียพลังงานในระบบ

ภาพที่ 2.3 ลักษณะสัญญาณความต้านทาน (Resistive Load, R)

2.4.2โหลดตัวเหนี่ยวนำ (Inductive Load, L)


Load ประเภท Inductive หรือ ความเหนี่ยวนำ จะมีค่า Power Factor ไม่เป็นหนึ่ง อันได้แก่
เครื ่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ที ่ ใ ช้ ข ดลวด เช่ น มอเตอร์ บ าลาสก์ ข องหลอดฟลู อ อเรสเซนต์ หลอดแกสดิ ส ชาร์ จ
เครื่องปรับอากาศ เป็นต้น จะเห็นได้ว่าหน่วยงานหรือองค์กรส่วนใหญ่ จะหลีกเลี่ยงLoad ประเภทนี้ไม่ได้
และมี เ ป็ น จำนวนมาก ซึ ่ ง จะทำให้ ค่ า Power Factor ไม่ เ ป็ น หนึ ่ ง และ Load ประเภทนี ้ จ ะทำให้
ค่า Power Factor ล้าหลัง ( Lagging ) จำเป็นที่จะต้องปรับปรุงค่า Power Factor โดยการนำ Load
ป ร ะ เ ภ ท ใ ห ้ ค ่ า Power Factor น ำ ห น ้ า ( Leading ) ม า ต ่ อ เ ข ้ า ใ น ว ง จ ร ไ ฟ ฟ ้ า ข อ ง ร ะ บ บ
เช่น การต่อชุด Capacitor Bank เข้าขนานเข้าในไฟฟ้า

ภาพที่ 2.4 ลักษณะสัญญาณกระแสตามหลังแรงดัน

2.4.3 โหลดตัวเก็บประจุ (Capacitive Load, C)


โหลดตัวเก็บประจุเป็นโหลดที่ทำให้ค่า Power Factor ไม่เท่ากับ 1 เช่นกัน Load ประเภท
Capacitive หรื อ Load ที ่ ม ี ต ั วเก็ บประจุ (Capacitor) เป็ นองค์ ประกอบ Load ประเภทนี ้ จะมี ใช้ น ้ อยมาก
จะมีค่า Power Factor ไม่เป็นหนึ่ง Load ประเภทนี้จะทำให้ค่า Power Factor นำหน้า ( Leading ) คือ
กระแสจะนำหน้ า แรงดั น จึ ง นิ ย มนำ Load ประเภทนี ้ ม าปรั บ ปรุ ง ค่ า Power Factor ของระบบ
ที่มีค่า Power Factor ล้าหลัง เพื่อให้ค่า Power Factor มีค่าใกล้เคียงหนึ่ง
ภาพที่ 2.5 ลักษณะสัญญาณกระแสนำหน้าแรงดัน

2.5 สามเหลี่ยมกำลังไฟฟ้า
กำลั ง ไฟฟ้ า จะมี อ ยู่ 3 ส่ ว น ปกติ จ ะคํ า นวณเฉพาะขนาด หากเอามาเขี ย นให้ อ ยู่ ใ น
รู ป ของสามเหลี่ ย มกำลั ง ไฟฟ้ า แล้ ว จะได้ ดังรูปที่ 2.6 และสูตร สามเหลี่ยมกำลังไฟฟ้า ดังรูปที่ 2.7

ภาพที่ 2.6 ลักษณะสามเหลี่ยมกำลังไฟฟ้า


สามเหลี่ยมกำลังไฟฟ้าสามารถหาค่ากำลังไฟฟ้าทั้ง 3 ส่วนได้ดังนี้

ภาพที่ 2.7 แสดงรูปสูตรสามเหลี่ยมกำลังไฟฟ้า

โดยที่ θ คือมุมระหว่าง V กับ I ไม่เจาะจงว่า Lead เป็นมุมเดียวกับ θ กําลังไฟฟ้าและ Cosθในสามเหลี่ยม


มีค่าระหว่าง 0 ถึง 1หากในระบบไฟฟ้ามีตัวประกอบกำลังไฟฟ้าต่ำ (P.F) จะทำให้เกิดกำลังงานสูญเสีย
ในอุปกรณ์ต่างๆ จึงเป็นภาระให้กับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและหม้อแปลง ส่งผลให้คุณภาพไฟฟ้าในระบบไม่ดี
ทำให้เกิดการสูญเสียและสิ้นเปลืองพลังงานโดยใช่เหตุ โดยทางการไฟฟ้าได้มีมาตรการกำหนดให้ผู้ใช้ไฟฟ้า
ต้องปรับปรุงระบบให้มีค่า Power Factor สูงกว่า 0.85 ขึ้นไป เพื่อให้ประสิทธิภ าพของระบบไฟฟ้า
ของประเทศดีขึ้นและลดการสูญเสียพลังงานโดยรวม ซึ่งทางการไฟฟ้าจะมีค่าปรับสำหรับผู้ใช้ไฟฟ้าที่ไม่ปฏิบัติตาม
จากที่กล่าวมาเบื้องต้น ทำให้ท่านผู้อ่านได้เข้าใจมากขึ้นสำหรับการปรับปรุงค่า Power Factor
ให้ เป็ นไปตามมาตรฐานที ่ การไฟฟ้ ากำหนด หรื อ ทำให้ ค ่ า Power Factor เข้ าใกล้ 1 มากที ่ ส ุ ด ก็ จะเป็ นคุ ณประโยชน์
ที่ดีต่อโรงงานอีกทั้งยังช่วยให้ท่านประหยัดค่าใช้จ่ายได้อีกด้วย

2.5.1 ตัวประกอบกําลังไฟฟ้า
ตัวประกอบกําลังไฟฟ้านั้น คือค่าตัวเลขอัตราส่วนของกําลังงานไฟฟ้าที่ใช้งานจริง ซึ่งมีหน่วย เป็นวัตต์
หารด้วยค่ากําลังงานที่ปรากฏ ซึ่งมีหน่วยเป็น วีเอหรือ โวลท์ - แอมป์ โดยสามารถอธิบายให้ เข้าใจง่ายได้ว่า
เพาเวอร์ แ ฟคเตอร์ คื อ ตั ว เลขที ่ บ อกถึ ง กํ า ลั ง งานไฟฟ้ า ที ่ ไ ด้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ห รื อ เกิ ด การทํ า งานจริ ง
กับขนาดของกําลังงานทั้งหมดที่ต้องการจากระบบไฟฟ้าโดยส่วนที่เกินจากกําลังงานที่ใช้งานจริงจะเรียกว่า
กําลังงานรีแอคทีฟ ซึ่งมีหน่วยเป็น วาร์ ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ามีความสําคัญใน ระบบไฟฟ้า เนื่องจากเป็นตัวที่ทําให้
ค่าใช้จ่ายต่างๆ เพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ ระบบไฟฟ้าที่มีตัวประกอบกําลังไฟฟ้าต่ําจะมีความสูญเสียในระบบมาก
อุปกรณ์ที่ใช้ต้องมีขนาดใหญ่มากขึ้นค่าใช้จ่ายในการซื้ออุปกรณ์ต่าง ๆ ตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลายทางต้องเสียมากขึ้น
ต้องเสียค่าไฟฟ้ามากขึ้นด้วย ดังนั้นการแก้ ตัวประกอบกําลังไฟฟ้าให้สูงขึ้นจึงมีความจําเป็น แต่ต้องพิจารณาถึงเงินลงทุน
กั บ ค่ า อุ ป กรณ์ ต ่ า งๆที ่ น ํ า มาแก้ ต ั ว ประกอบกํ า ลั ง ไฟฟ้ า เที ย บกั บ ค่ า ใช้ จ ่ า ยที ่ ป ระหยั ด ได้ จ ากการ
แก้ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ากําลังงานรี แอคทีฟซึ่งไม่เกิดประโยชน์นี้ก็จะเป็นภาระให้กับเครื่องกําเนิดไฟฟ้า
หม้อแปลง สายส่งด้วย

PF = 1 ( cos 0°) PF = 0.7 ( cos 45°) PF = 0 ( cos 90°)

ภาพที่ 2.8 แสดงรูปคลื่นและแรงดันไฟฟ้าที่ค่าตัวประกอบกําลัง ต่างๆ

สําหรับแรงดันและกระแสไฟฟ้าที่มีเฉพาะความถี่มูลฐานเท่านั้น สําหรับประเทศไทย คือ 50Hz


โดยไม่มีความถี่อื่น หรือฮาร์มอนิกของแรงดันและกระแสมาปะปน เนื่องจากในปัจจุบันโหลดที่มี การใช้งาน
มีคุณสมบัติไม่เป็นเชิงเส้น ซึ่งทําให้กระแสไฟฟ้าที่ไหลในระบบมีส่วนประกอบของกระแสฮาร์มอนิกในปริมาณมาก
และเป็นสาเหตุหลักของความเพี้ยนฮาร์มอนิกในขณะเดียวกัน

2.5.2 สาเหตุที่ต้องปรับปรุงค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้าให้สูงขึ้น
อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้าต่ํา มีผลทําให้ระบบการจ่ายไฟฟ้ามีคุณภาพต่ำไปด้วย
เนื่องจากประโยชน์ที่จะได้รับจากกําลังไฟฟ้าจริง ในระบบไฟฟ้าจะต่ํากว่า ซึ่งทําให้การไฟฟ้าจําเป็นต้อง
เพิ่มขนาดของอุปกรณ์จําหน่ายและอุปกรณ์ส่งไฟฟ้าให้สูงขึ้น เพื่อให้สามารถรองรับ ปริมาณพลังไฟฟ้า
ส่วนที่ไม่จําเป็นหรือค่ากําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ ที่เกิดขึ้นด้วย อันไม่เป็นผลดีต่อประเทศชาติโดยรวม
2.5.3 ปรับปรุงค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้าให้สูงขึ้นได้อย่างไร
เราสามารถทํ า ให้ ม ี ค ่ า ตั ว ประกอบกํ า ลั ง ไฟฟ้ า สู ง ขึ ้ น ได้ โ ดยการติ ด ตั ้ ง ตั ว เก็ บ ประจุ ไ ฟฟ้ า
ซึ่งทําหน้าที่ จ่ายกําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ แทนเครื่องกําเนิดไฟฟ้า ดังนั้นเมื่อต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าและ อุปกรณ์ไฟฟ้า
ที่มีการสร้างสนามแม่เหล็กที่ก่อให้เกิดกําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ เช่น มอเตอร์ เข้าด้ วยกัน กําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ
ที ่ จ ่ า ยจากแหล่ ง กํ า เนิ ด ไฟฟ้ า หรื อ การไฟฟ้ า จะลดลงหรื อ หมดไปขึ ้ น อยู ่ ก ั บ ปริ ม าณ กํ า ลั ง ไฟฟ้ า
ที่จ่ายโดยตัวเก็บประจุไฟฟ้านั้น

2.5.4 ผลประโยชน์ต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อมเมื่อมีการปรับปรุงค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้า
การปรั บปรุ งค่ าตั วประกอบกํ าลั งไฟฟ้ า สามารถลดกํ าลั งไฟฟ้ าสู ญเสี ยและเพิ ่ มความสามารถ
ในการรั บโหลดของอุ ป กรณ์ ต ่ า งๆ ได้ เ พิ ่ ม ขึ ้ น ทั ้ ง ของผู ้ ใ ช้ ไ ฟฟ้ า ระบบจํ า หน่ า ย ระบบส่ ง ไฟฟ้ า
และ เครื่องกําเนิดไฟฟ้า ซึ่งจะเป็นการประหยัดการใช้พลังงานไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟฟ้าและของประเทศชาติ โดยรวม
อั น จะก่ อ ให้ เ กิ ด การอนุ ร ั ก ษ์ พ ลั ง งานไฟฟ้ า ซึ ่ ง จะสามารถพิ จ ารณาความสามารถในการ
อนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า โดยสรุปได้ดังนี้

2.5.5 ผลประโยชน์ที่มีต่อผู้ใช้ไฟฟ้า
1. สามารถประหยั ดค่ าพลั งไฟฟ้ ารี แอคที ฟ ซึ ่ งผู ้ ใช้ ไฟฟ้ าที ่ ม ี ค ่ าประกอกํ าลั งไฟฟ้ าที ่ ต่ ํ ากว่ า 0.85
จะต้ องเสี ยค่ าปรั บค่ า ตั ว ประกอบกํ า ลั ง ไฟฟ้ า ในอั ต รา 56.07 บาท/กิ โ ลวาร์ ซึ ่ ง เมื ่ อ ผู ้ ใ ช้ ไ ฟฟ้ า
ปรับค่าตัวประกอบกำลังฟ้าให้มีค่ามากกว่า 0.85 จะทำให้ผู้ใช้ไฟฟ้าสามารถประหยัดค่าไฟฟ้าในส่วนนี้ลงได้
2. ผู ้ ใ ช้ ไ ฟฟ้ า สามารถประหยั ด การลงทุ น ในการขยายระบบไฟฟ้ า ลงได้ เนื ่ อ งจาก
เมื ่ อ มี ก ารปรั บ ปรุ ง ตั ว ประกอบกํ า ลั ง ไฟฟ้ า แล้ ว จะเป็ น การเพิ ่ ม ความสามารถของสายไฟฟ้ า
และ หม้อแปลงไฟฟ้าในการรับโหลด ได้เพิ่มขึ้น
3. เมื่อมีการปรับปรุงค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้าแล้ว จะเป็นการลดกําลังไฟฟ้า สูญเสียในสายไฟฟ้าและหม้อแปลง
อีกทั้งแรงดันไฟฟ้าตกจะน้อยลงแรงดันไฟฟ้าดีขึ้น
2.5.6 ผลประโยชน์ที่มีต่อส่วนรวม
1. การปรับ ปรุงค่ าตัว ประกอบกํา ลัง ไฟฟ้ าให้ม ากกว่า 0.85 จะทําให้ระบบอุป กรณ์ ต่างๆ
ในระบบไฟฟ้าสามารถจ่ายพลังงานไฟฟ้าได้เพิ่มขึ้น จะเป็นการประหยัดการลงทุนในการขยาย ระบบไฟฟ้า
2. ผลที ่ เ กิ ด ขึ ้ น เมื ่ อ มี ก ารปรั บ ปรุ ง ค่ า ตั ว ประกอบกํ า ลั ง ไฟฟ้ า ต ่ อ ส่ ว นรวมนั ้ น ก ็ คื อ
สามารถประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้ โดยสามารลดการสูญเสีย พลังงานไฟฟ้าที่เกิดเนื่องจากการลดค่ากระแสไฟฟ้า
ในสายส่งและอุปกรณ์ในระบบจําหน่ายไฟฟ้าของการไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และการไฟฟ้าฝ่ายผลิต
ซึ่งเป็นการประหยัดค่าพลังงานไฟฟ้าโดยรวมของประเทศได้

2.6. Power Factor คืออะไร


ในระบบไฟฟ้ ากระแสสลั บ (AC) ค่ ากำลั งไฟฟ้ าที ่ จ ่ ายให้ แก่ อ ุ ปกรณ์ ไฟฟ้ ามี 3 ส่ วนด้ วยกั นคื อ
กำลังไฟฟ้าที่ใช้งานได้จริง (Active Power) คือ กำลังไฟฟ้าที่จ่ายให้กับโหลดแล้วได้เป็นพลังงานรูปอื่น
เช่ น ความร้ อ น แสงสว่ า ง หรื อ พลั ง งานกล ใช้ ส ั ญ ลั ก ษณ์ “ P ” มี ห น่ ว ยเป็ น วั ต ต์ (Watt : W),
กำลั ง รี แ อคที ฟ (Reactive Power) คื อ กำลั ง ไฟฟ้ า ที ่ ใ ช้ ใ นการสร้ า งสนามแม่ เ หล็ ก ของมอเตอร์
หรื อ หม้ อ แปลงไฟฟ้ า และรี เ ลย์ ใช้ ส ั ญ ลั ก ษณ์ “ Q ” มี ห น่ ว ยเป็ น วาร์ (VAR) และสุ ด ท้ า ย
ก ำ ล ั ง ง า น ท ี ่ ป ร า ก ฏ ( Apparent Power) ค ื อ ผ ล ร ว ม ท า ง เ ว ก เ ต อ ร ์ ข อ ง VAR แ ล ะ W
เป็นกำลังไฟฟ้าโดยรวมทั้งหมดที่ต้องจ่ายใช้สัญลักษณ์ “ S ” มีหน่วยเป็น วีเอ หรือ โวลท์-แอมป์ (VA)
2.6.1 ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์( Power Factor ,pf) หรือ ค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
คื อ อั ต ราส่ ว นของกำลั ง านไฟฟ้ า ที ่ ใ ช้ ง านจริ ง (P) หารด้ ว ยค่ า กำลั ง งานที ่ ป รากฏ (S)
หรือ cos(θ) มีค่าไม่เกิ น 1 โดยที่ค่า Power Factor นั้นถือเป็น อี ก ค่า หนึ ่ง ที่ส ำคัญ ในระบบไฟฟ้ า
เนื่องจากเป็นตัวที่ทําให้ค่าใช้จ่ายต่างๆเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ ถ้าค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้าต่ำกระแส
ในระบบมาก หม้อแปลงทำงานหนักขึ้น แต่จ่ายโหลดได้น้อย แรงดันตกในสายมาก การสูญเสียในสายไฟ
และหม้อแปลงจะมาก
ภาพที่ 2.9 แสดงรูปเบียร์ 1 แก้ว

หากเปรียบเทียบให้เข้าใจกันง่ายๆ สามารถเปรียบเทียบกับเบียร์ 1 แก้ว ซึ่งสำหรับเบียร์ 1 แก้วนั้น


ไม่ได้มีเฉพาะส่วนที่เป็นของเหลวเพียงอย่างเดียวแต่จะมาพร้อมฟองเบียร์ด้วย ซึ่งส่วนของเหลวนั้นก็คือ
Active Power (W), ส่วนฟองก็คือ Reactive Power (VAR) และ Apparent Power (VA) นั้ น คื อ
ผลรวมของของเหลวกั บฟองเบี ยร์ ซึ ่ งจะเห็ นได้ ว ่ า ส่ วนที ่ เป็ นของเหลวนั ้ นเป็ นส่ วนที ่ ด ื ่ มได้ จริ งและเมาด้ วย
ส่วนที่เป็นฟองด้านบนนั้นดื่มไม่ได้ มีแล้วก็ไม่เกิดประโยชน์ จริงที่เบียร์เต็มแก้วแต่ถ้าส่วนที่เป็นฟองมาก
มันคงเป็นเรื่องที่ไม่ดีแน่ ดังรูปที่ 2.9

2.7 การปรับปรุงค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้า

ตั ว ประกอบกำลั ง ไฟฟ้ า แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ระบบไฟฟ้ า ใดที ่ ม ี ต ั ว ประกอบกำลั ง ไฟฟ้ า ต่ ำ


นั่นคืออัตราส่วนระหว่างกำลังไฟฟ้า รีแอคตีฟหรือกำลังไฟฟ้าเสมื อน (กิโลวาร์) ต่อกำลังไฟฟ้าจริง (กิโลวัตต์)
มีค่าสูง ซึ่งจะทำให้เกิดการสูญเสียทั้งในระบบไฟฟ้าและของผู้ใช้ไฟฟ้ าเอง ดังนั้นประสิทธิภาพของการจ่ายไฟฟ้า
ในกรณีระบบที่มีตัวประกอบกำลังไฟฟ้าต่ำ จะต่ำกว่าระบบที่มีตัวประกอบกำลังไฟฟ้าสูง ทั้งนี้เป็นเพราะ
อาจเกิดแรงดันไฟฟ้าตก กระแสไฟฟ้าในระบบไฟฟ้ามีค่าสูงขึ้น และทำให้เกิดกำลังไฟฟ้าสูญเสียในระบบไฟฟ้ามากขึ้น
สามารถใช้ค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า เป็นตัววัดประสิทธิภาพของการจ่ายไฟฟ้า
การปรับปรุงค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้า ให้กําลังไฟฟ้าให้มีค่าเข้าใกล้ 1 ซึ่งก็คือการลดขนาดของ
กําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟเพื่อให้ กําลังไฟฟ้าปรากฏ มีขนาดใกล้เคียงกับ W (ดูสามเหลี่ยมกําลังไฟฟ้าประกอบ) เนื่องจาก
ในทางปฏิบัตินั้น โหลดส่วนใหญ่จะมีคุณลักษณะเป็น ความต้านทาน ผสม ตัวเหนี่ยวนํา ซึ่งทําให้ กระแสล้าหลังแรงดัน
ดังนั้นกําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟในระบบที่พบจึงมักจะเป็นกําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟของ ตัวเหนียวนํา เมื่อพิจารณาในภาพรวม
แล้วพบว่าทั้งบ้านพักอาศัย อาคารและโรงงาน ต่างก็ใช้ กําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ ของตัวเหนี่ยวนํา ทําให้ระบบ
ในภาพรวมมีค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้าต่ ำ การไฟฟ้าจึงเรียกเก็บค่าตัว ประกอบกําลังไฟฟ้ากับผู้ใช้ไฟฟ้าขนาดใหญ่
ที่มีตัวประกอบกําลังไฟฟ้าต่ำ โดยเก็บเงินกรณีกําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟของตัวเหนี่ยวนํา ชนิด ล้าหลัง เท่านั้น

2.7.1 ระบบไฟฟ้าในโรงงานมีค่า Power Factor (PF.) ต่ำจะมีผลทำให้ความสามารถในการจ่ายไฟ


(Capacity) ของหม้อเเปลงมีค่าลดลงดังนั้นสำหรับโรงงานที่มีหม้อเเปลงซึ่งจ่ายไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นได้
เเม้ว่าค่ากำลังไฟฟ้า (Power; kW.) ที่ใช้อยู่ในขณะนั้นจะยังไม่เต็มพิกัดก็ตามสำหรับในโรงงานที่มีสายไฟ
ท ี ่ ม ี ค ว า ม ย า ว จ ะ ท ำ ใ ห้ ม ี ก ระ เ เ สไ ฟ ฟ ้ า ไ ห ลใ น สา ย ไ ฟ ม ี ค ่ า สู ง น ั ่ น ห ม า ย ค ว าม ว ่ า เกิ ด
หน่วยสูญเสีย (Losses) เกิดขึ้นตามขนาดของกระเเสยกกำลังสอง นอกจากนั้นการไฟฟ้ายังเรียกเก็บ
ค่า Reactive power (kVAR charge) ในส่วนที่ต่ำกว่า 0.85 ด้วย ดังนั้นโรงงานต่างๆ จึงควรปรับปรุงเเก้ไข
ค่า Power factor (PF.) ให้มีค่าสูงกว่าหรือเท่ากับ 0.85 โดยการติดตั้ง Capacitor bank เพิ่มเข้าไปในระบบโดยปกติ
ก า ร ไ ฟ ฟ ้ า จ ะ ก ำ ห น ด จ ะ ก ำ ห น ด ใ ห ้ โ ร ง ง า น ต ิ ด ต ั ้ ง Capacitor bank ม ี ข น า ด ไ ม ่ น ้ อ ย ก ว่ า
หรือเท่ากับ 30% ของขนาดหม้อเเปลงไฟฟ้าทั้งนี้การกำหนดขนาดของ Capacitor bank ที่เหมาะสมนั้น
อาจพิ จ ารณาจากลั ก ษณะของโหลดทางไฟฟ้ า ที ่ ใ ช้ อ ยู่ ว ่ า มีล ัก ษณะเป็ น อย่ า งไร ถ้ า โหลดส่ ว นใหญ่
เป็ น lnductive load เช่ น lnduction motor ก็ อ าจจำเป็ น ต้ อ งติ ด ตั ้ ง Capacitor bank มากขึ้ น
หรือถ้าเป็น Reaistive load เช่นเครื่องทำความร้อนก็อาจพิจารณาติดตั้ง Capacitor bank ลดลงได้
เช่นกันทั้งนี้การไฟฟ้าได้พิจารณของความเหมาะสมขนาดที่ควรติดตั้งเเล้วคือ 30% ของขนาดพิกัดหม้อเเปลง
ดังนั้น การปรับปรุงค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้า โดยทั่วไปแล้วสามารถทําได้โดยใส่ ตัวเก็บประจุ
ขนานกับโหลดหรือขนานกับแหล่งจ่าย กําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ ของ ตัว เหนียวนํา หักล้างกับกําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ
ของตั ว เก็ บ ประจุ แ ล้ ว เป็ น ผลให้ กํ า ลั ง ไฟฟ้ า ปรากฏ ลดลง จากรู ป เมื ่ อ ใส่ กํ า ลั ง ไฟฟ้ า รี แ อคที ฟ
ของตั ว เก็ บ ประจุ = QC= Q1- เพื ่ อ หั ก ล้ า งกั บ กํ า ลั ง ไฟฟ้ า รี แ อคที ฟ ของ ตั ว เหนี ่ ย วนํ า (Q)
ทํ า ให้ ก ํ า ลั ง ไฟฟ้ า รี แ อคที ฟ ในระบบลดลงเหลื อ Q2 แล้ ว กํ า ลั ง ไฟฟ้ า ปรากฏ ของระบบจะลดลง
จาก 5 เหลือเป็น S2 เป็นผลให้กระแสลดลงจาก I1 เหลือเป็น I,
ข้อสังเกต จากรูปถ้าต่อตัวเก็บประจุขนานกับโหลดกระแสก็จะลดต่ําลงตั้งแต่ตําแหน่งจุดที่ต่อนั้น
ไปจนถึง แหล่งจ่ายทั้งนี้โหลดยังคงใช้กําลังไฟฟ้าจริง และ กําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ เท่าเดิมทุก ประการ
เพราะแรงดั น ที ่ โ หลดได้ ร ั บ ถือว่าไม่ได้เปลี่ยนไป จึงกินไฟเท่าเดิม แต่การที่กระแสในสายจากแหล่งจ่ายลดลง
เป็ นเพราะกระแสที ่ ไหลเข้ าตั วเก็ บประจุ มี ท ิ ศทางของเวคเตอร์ ห ั กล้ างกั บกระแสที ่ ไหลเข้ าโหลด
ทําให้ผลรวมทางเวคเตอร์ของ Ic + I มีขนาดลดลง เพราะต่อตัวเก็บประจุ เข้าระบบแล้วทําให้ กําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ
ลดลง จึงทําให้กระแสลดลงด้วย จากแผนภาพที่ 2.10 หากนํา ตัวเก็บประจุ ไปต่อขนานกับแหล่งจ่าย
กระแสก็ จ ะลดต่ ำ ลง เฉพาะตํ า แหน่ ง ที ่ แ หล่ ง จ่ า ยเท่ า นั ้ น ซึ ่ ง หมายความว่ า บั ส บาร์ ก ั บ หม้ อ แปลง
มีกระแสไหลน้อยลงแต่ในสายไฟที่เดินไปยังโหลด กระแสยังคง มากอยู่แต่การปรับปรุงค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้า
โดยต่อตัวเก็บประจุขนาน กับแหล่งจ่ายนี้เป็นวิธีที่ สะดวกและไม่ยุ่งยาก จึงเป็นวิธีที่นิยมทํากัน

ภาพที่ 2.10 เปอร์เซ็นต์การสูญเสียในสายไฟเทียบกับค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้า


2.8 คาปาซิเตอร์แบงค์
คาปาซิเตอร์แบงค์ ก็คือตัวเก็บประจุไฟฟ้า (Capacitor) ขนาดใหญ่จํานวนหลายชุด ที่ใส่ขนานเข้ามาในระบบไฟฟฟ้า
เพื่อทำหน้าที่ปรับปรุงค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ ของระบบให้มีค่าสูงขึ้นเพื่อที่จะไม่ต้องเสียค่าปรับและลดกำลังงานสูญเสียในระบบ

2.8.1 หลักการทํางานพื้นฐานของคาปาซิเตอร์
คาปาซิ เ ตอร์ เ ป็ น อุ ป กรณ์ ท ี ่ ส ามารถช่ ว ยชดเชยกํ า ลั ง ไฟฟ้ า รี แ อคที ฟในระบบไฟฟ้ า
ในการติ ด ตั ้ งคาปาซิ เ ตอร์ น ั ้น ต้อ งต่อ ขนานเข้ าไปในระบบ คาปาซิ เ ตอร์ ท ี ่ต ่อ ขนานเข้ าไปในระบบ
จะทําหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะของอินดักทีฟโหลด โดยทําให้กระแสมีเฟสนําหน้าหักล้าง
กับองค์ประกอบที่เฟสล้าหลังของกระแสอินดักทีฟโหลดในจุดที่มีการติดตั้งคาปาซิเตอร์

2.8.2 ชนิดของคาปาซิเตอร์
คาปาซิ เ ตอร์ ท ี ่ น ํ า ไปติ ด ตั ้ ง เพื ่ อ ลดกํ า ลั ง ไฟฟ้ า สู ญ เสี ย ในระบบไฟฟ้ า กํ า ลั ง นั ้ น มี 2 ชนิ ด
ให้ เ ลื อ กไปใช้ ง านตามความเหมาะสม คื อ คาปาซิ เ ตอร์ แ บบคงที ่ แ ละคาปาซิ เ ตอร์ แ บบปรั บ ค่ า ได้
สามารถอธิบายลักษณะของคาปาซิเตอร์ทั้ง 2 ชนิดได้ดังนี้
1. คาปาซิเตอร์แบบคงที่
คาปาซิเตอร์แบบคงที่เป็นคาปาซิเตอร์ที่เมื่อติดตั้งเข้าไปในระบบแล้วจะจ่ายค่ากําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ
เข้าสู่ระบบตลอดเวลาโดยไม่สามารถทําการควบคุมการจ่ายกําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟได้
2. คาปาซิเตอร์แบบปรับค่าได้
คาปาซิเตอร์แบบปรับค่าเป็นคาปาซิเตอร์ที่เมื่อติดตั้งเข้าไปในระบบแล้วสามารถปรับค่าการจ่ายกําลังไฟฟ้า
รีแอคทีฟ ได้โดยการควบคุมการจ่ายกําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟนั้นมีหลายวิธีเลือกเช่น การควบคุมด้วยกระแส
หรือแรงดันที่จุดติดตั้ง การควบคุมด้วยเวลาเป็นต้นเนื่องจากคาปาซิ เตอร์แบบคงที่มีการจ่ายกําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ
เข้ า สู ่ ร ะบบตลอดเวลาดั ง นั ้ น เวลาพิ จ ารณาเลื อ กการใช้ เ กิ ด ที ่ จ ุ ด ติ ด ตั ้ ง ได้ ว ิ ธ ี แ ก้ ไ ขคื อ พิ จ าณาการ
ติดตั้งคาปาซิเตอร์แบบปรับค่า
2.8.3 หน้าที่หลักของคาปาซิเตอร์แบงค์
1. ปรับ ปรุงเพาเวอร์แฟคเตอร์โ ดยการจ่ายกําลังไฟฟ้ารีแอคที ฟให้กับ อุปกรณ์ ไฟฟ้าต่าง ๆ
เช่น มอเตอร์ เครื่องทําความร้อน เครื่องเชื่อมไฟฟ้า เป็นต้น
2. แก้ป ัญหาฮาร์โ มนิกส์โดยการติดตั้งคาปาซิเตอร์อนุกรมกับรีแอคเตอร์ซึ่งเรียกรวมกันว่า
ฟิลเตอร์แบงค์
3. แก้ป ัญหาไฟกระเพื่อมโดดการใช้คาปาซิเตอร์ทำให้สามารถจ่ายกำลังไฟฟ้ารีแอคทีฟได้อย่างรวดเร็ว
4. แก้ปัญหาไฟกระพริบไฟกระเพื่อมโดยการใช้ไทริสเตอร์ในการตัดต่อคาปาซิเตอร์ทําให้สามารถ
จ่ายกําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟได้อย่างรวดเร็ว

2.9 การติดตั้งแบบปรับเปลี่ยนตามโหลดทันทีทันใด
เนื่องจากโหลดบางชนิด เช่น ลิฟต์ เครน เครื่องเชื่อม เครื่องม้วนเหล็ก กระดาษ พลาสติก
ทํางานไม่ต่อเนื่อง เปิดปิด เร็วมากๆ บางครั้งน้อยกว่า 1 นาที การใช้คอนแทกเตอร์ตัดต่อคาปาซิเตอร์ ไม่สามารถ
ปรั บเปลี ่ ยนได้ เร็ วตามโหลด ต้ อ งรอเวลา ในการคลายประจุ ไ ฟฟ้ า ของคาปาซิ เ ตอร์ นอกจากนั้ น
การตั ดต่ อ คาปาซิ เตอร์ บ ่ อยครั ้ งเกิ นไปจะทํ าให้ คอนแทกเตอร์ และคาปาซิ เตอร์ มี อายุ ใช้ งานลดลงอย่ างมาก
ในกรณีที่โหลดปรับเปลี่ยนเร็วต้องใช้ไทริสเตอร์เป็นตัว ตัดต่อแทนคอนแทกเตอร์

ขอดี
-ติดต่อคาปาซิเตอร์ได้ทันทีทันใด
-ลดค่าปรับเพาเวอร์แฟกเตอร์ – ลดค่าปรับดีมานด์
-ลดความสูญเสีย และแรงดันไฟฟ้าตก
ข้อเสีย
-ลงทุนค่าอุปกรณ์สูงโดยทั่วไปไทริสเตอร์แพงกว่า คอนแทกเตอร์ประมาณ 5-10เท่า
2.10 ข้อดีและข้อเสียของตัวเจ็บประจุไฟฟ้า
ขอดี
-เพิ่มประสิทธิภาพ โดยมีความสูญเสียน้อยกว่า 0.33%
-เงินลงทุนต่ําสามารถนํามาใช้ในระบบที่มีขนาดเล็กได้
-มีความยืดหยุ่นมาก เพราะสามารถเปลี่ยนแปลงการทํางานของตัวเก็บประจุไฟฟ้าให้สอดคล้อง
กับโหลดที่เปลี่ยนแปลงได้
-ไม่มีส่วนที่เคลื่อนที่ได้ ไม่มีเสียงดังในการทํางานการเสื่อมสภาพการทํางานต่ำและไม่ต้องมีการบํารุงรักษา
-สามารถติดตั้งในบริเวณใดก็ได้ ใช้เนื้อที่ในการติดตั้งน้อย
-ปลดออกและต่อเข้ากับโหลดได้รวดเร็วและง่าย สามารถเปลี่ยนจากโหลดตัวหนึ่งไปยังอีกตัวหนึ่งได้

ข้อเสีย
-การเกิดแรงดันเกิน เมื่อปลดโหลดออก ดังนั้น จึงควรติดตั้งระบบควบคุมการชดเชยตัวประกอบกําลังไฟฟ้าอัตโนมัติ
-การเกิดเรโซแนนซ์ เมื่อใช้กับโหลดที่มีฮาร์มอนิกทําให้อุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆที่ต่ออยู่ในระบบ
เกิดความเสียหายทํางานผิดพลาดหรือมีอายุการใช้งานสั้น

2.11 ประโยชน์ของการปรับปรุงค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ให้เหมาะสม
2.11.1. ช่วยลดค่าปรับจากการไฟฟ้าเนื่องจากค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ ต่ํากว่า 0.85
กรณีที่ระบบไฟฟ้ากําลังของผู้ใช้มีค่า P.F. การไฟฟ้าจะต้องรับภาระในการจ่ายกําลังไฟฟ้ารีแอคที ฟ
เป็นจํานวนมากต้ อ งใช้ เ ครื่ อ งกํ า เนิ ด ไฟฟ้ า ที่ มี ข นาดใหญ่ ขึ้ น รวมทั้ ง ทรั พ ยากรที่ ม ากขึ้ น เพื่อที่จะ
สามารถผลิ ตกํ าลั งไฟฟ้ าในส่ วนกํ าลั งไฟฟ้ าจริ งและกํ าลั งไฟฟ้ ารี แอคที ฟตามความต้ องการของผู ้ ใช้
แ ต่ ที ่ จ ริ ง แ ล้ ว กํ า ลั ง ไ ฟ ฟ้ า รี แ อ ค ที นั ้ น ผู ้ ใ ช้ ส ามารถสร้ า งขึ ้ นเองได้ โ ดยใช้ อ ุ ปกรณ์ คาปาซิ เตอร์
ด ั ง น ั ้ น ก า ร ไ ฟ ฟ ้ า จ ึ ง อ อ ก ก ฎ เ พ ื ่ อ ค ว บค ุ ม ค่ า P.F. ข อ ง โ ร ง ง า น ต ่ าง ๆ โ ด ย ก ํ า ห นดว่ า
“ หาก โรงงานใดมีค่า P.F. ที่ต่ํากว่า 8.5 จะต้องเสียค่าปรับเพาเวอร์แฟคเตอร์”
2.11.2. ช่วยลดโหลดของหม้อแปลง
เมื่อผู้ใช้ไ ฟฟ้า มี เ พิ่ มปริม าณโหลดขึ้ นเรื่ อย ๆ กับหม้อแปลงตัว เดิม จะส่งผลให้ห ม้ อ แปลง
ต้องจ่ายกระแสเกินพิกัด ทางแก้ไขวิธีหนึ่งคือ ติดตั้งหม้อแปลงเพิ่มขึ้น แต่การติดตั้งคาปาซิเตอร์แบงค์
ก็สามารถช่วยลดโหลดของหม้อแปลงนั้นได้ คือ จากเดิมหม้อแปลงต้องรับภาระจ่ายค่ากําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟเองทั้งหมด
ถ้ามีการติดตั้งคาปาซิเตอร์แบงค์ก็จะช่วยรับภาระในส่วนนี้แทน ทําให้หม้อแปลงตัวนั้น มีกําลังเหลือเฟือ
เพื่อที่จะจ่ายให้กับโหลดส่วนอื่น ๆ เพิ่มเติมได้

2.11.3. ช่วยลดค่าไฟฟ้าที่สูญเสียไปในรูปของความร้อนในสายไฟและหม้อแปลง
การติดตั้งคาปาซิเตอร์แบงค์จะช่วยลดกําลัง สูญเสียในสายไฟและหม้อแปลงไฟฟ้า จึงเป็น การ
ประหยัดพลังงานอีกทั้ง ยังลดความร้อนที่เกิดขึ้นในอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ได้ แต่ทว่าในประเทศไทยนิยม
ติดตั้งตู้ติดกับตู้สวิทช์ บอร์ดหรือก็คือใกล้กับหม้อแปลงมาก จึงทําให้ไม่สามารถทําหน้าที่ในการช่วยลด
ประมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลในระบบไฟฟ้าได้อย่างชัดเจน
2.5 บิลค่าไฟฟ้า
ข้อกำหนดเกี่ยวกับอัตราค่าไฟฟ้า หากเดือนใดมีค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์แลค (Lag) ที่มีความต้องการ
พลั งงานฟ้ ารี แอคตี ฟเฉลี ่ ยใน 15 นาที ที ่ ส ู งสุ ดในช่ วงเวลาใดเวลาหนึ ่ ง (กิ โลวาร์ ) เกิ นร้ อยละ 61.97
ของความต้องการพลังงานไฟฟ้ารีแอคตีฟเฉลี่ยใน 15 นาที ที่สูงสุดในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง (กิโลวัตต์)
โดยส่วนที่เกินจะต้องเสียค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ ในอัตรากิโลวาร์ (KVAR) ละ 56.07 (เศษของกิโลวาร์
ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ตัดทิ้งตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์)
- ค่าไฟฟ้าที่เรียกเก็บใน แต่ละเดือนประกอบด้วยค่าไฟฟ้าตามอัตราข้างต้น และค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับ
-อัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft) และภาษีมูลค่าเพิ่ม
-อัตราค่าไฟฟ้าข้างต้น ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม
ความหมายกำหนดในบิล
1. ค่ า พลั ง งานไฟฟ้ า คื อ ต้ น ทุ น และค่ า ใช้ จ ่ า ยในการก่ อ สร้ า งโรงไฟฟ้ า ระบบสายส่ ง
สายจำหน่าย และค่าการผลิตไฟฟ้า
2.ค่าบริการรายเดื อ น คือค่าใช้จ่ายในการจดหน่ว ยไฟฟ้า ค่าจัดทำและจัดส่งบิล ค่า ไฟฟ้ า
การรับชำระค่าไฟฟ้าและงานบริการลูกค้า ค่าบริการดังกล่าวได้เรียกเก็บมาตั้งแต่ค่าไฟฟ้าเดือนนกรกฎา
คม 2561 และค่า Ft คือค่าเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า (น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา ก๊าซธรรมชาติลิกไนต์)
ค่าซื้อไฟฟ้าจากเอกชน และค่าใช้จ่ายตามนโยบายของรัฐ ที่เปลี่ยนแปลงไปจากค่าไฟฐานโดยค่า Ft
จะมีการปรับทุก 4 เดือนโดยคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) เป็นผู้ดูแล
3.ค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ (Power Factor ,PF) หรือค่าประกอบกำลังไฟฟ้า คืออัตราส่วนของ
กำลั งไฟฟ้ าที ่ ใช้ งานจริ ง (P) หารด้ วยกำลั งไฟฟ้ าปรากฏ (S) Power Factor นั ้ นเป็ นตั วที ่ ทำให้ ค ่ าใช้ จ ่ ายต่ างๆ
เพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ ถ้าค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าต่ำกระแสในระบบมาก แต่ใช้ทำงานได้น้อยหม้อแปลง
ตัวใหญ่จ่ายโหลดได้น้อยแรงดันตกในสายมาก การสูญเสียในสายไฟและหม้อแปลงจะมาก
4. ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% เรียกเก็บตามที่กฎหมายกำหนด
5. “P,OP,H” ค่าไฟฟ้าต่อหน่วย คิดจากการแบ่งเวลาในแต่ละวันของสัปดาห์ออกเป็น 3 ช่วง
-ตามอัตรา TOU คือช่วง P (PEAK) วันจันทร์ถึงวันศุกร์ที่ไม่ใช่วันหยุดราชการ
-ช่วง OP (OFF PEAK) วันจันทร์ถึงวันศุกร์ที่ไม่ใช่วันหยุดราชการ
-ช่วง H (HOLIDAYS) วันเสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดราชการตามปกติ

ตารางที่ 2.4 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าประเภทโรงงานอุตสาหกรรม

Demand Charge Energy Charge


บาท/กิโลวัตต์ บาท/หน่วย
แรงดันต่ำกว่า 12 KV 221.50 1.7314
แรงดัน 12-24 KV 196.26 1.7034
แรงดัน 69 KV ขึ้นไป 175.70 1.6660
รายละเอียดของตาราง 2.5 การเลือกใช้และเชื่อมต่อระบบของการไฟฟ้าที่ระดับแรงดันที่
ต้องการได้เช่นกันแต่เติมอัตราค่าไฟฟ้าจะคิดตามช่วงเวลาของวัน (Time oF Day Rate : TOD Rate)

ตารางที่ 2.5 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าประเภทโรงงานอุตสาหกรรม

Demand Charge Energy Charge ค่าบริการ


บาท/กิโลวัตต์ บาท/หน่วย บาท/เดือน
On Peak Off Peak
แรงดันต่ำกว่า 12 210.00 2.8408 1.2246 228.17
KV
แรงดัน 12-24 132.93 2.6950 1.1914 228.17
KV
แรงดัน 69 KV 74.14 2.6136 1.1726 228.17
ขึ้นไป

กระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมบางประเภทมีกระบวนการผลิตที่ต่อเนื่อง Continuous Flow


เช่นอุตสาหกรรมสิ่งทออุตสาหกรรม Petro Chem เป็นต้น คุณภาพของไฟฟ้ามีผลกระทบต่อผลผลิต
ของโรงงานสูงการออกแบบระบบไฟฟ้าของโรงงานต้องคำนึงถึง Reliability มากบางอุตรสาหกรรม
การใช้ไฟฟ้ามีลักษณะกระชากเป็นช่วงๆเช่นอุตรสาหกรรม เหล็กโรงหินโรงงานเชื่อมเหล็กการออกแบบระบบไฟฟ้า
ต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อระบบไฟฟ้าต้นทาง และผู้ใช้ไฟไกล้ๆกัน
กระบวนการผลิตแบบต่ อเนื ่อ ง Continuous Flow เช่นอุตสาหกรรมเคมี โรงกลั่น เป็นต้น
ระบบไฟฟ้าขัดข้องอาจทำให้สินค้าที่อยู่ในกระบวนการผลิตทั้งหมดเสียหาย ต้องนำไปทำลาย ค่าเสียหาย
จากการที่ระบบไฟฟ้าขัดข้องสูง การลุงทุนให้ระบบไฟฟ้าภายในโรงงานมั่นคงจึงคุ้มค่า
กระบวนการผลิตแบบ Batch Flow เช่นโรงงานทอผ้า อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปบางประเภท
โรงงานถลุงเหล็ก เป็น การขัดข้องของระบบไฟฟ้าอาจทำให้ส ินค้า lot นั้นคุณภาพไม่ได้มาตรฐาน
ต้ อ งทำลายทิ ้ ง หรื อ จำหน่ า ยเป็ น สิ น ค้ า เกรดต่ ำ หรื อ ต้ อ งเริ ่ ม กระบวนการผลิ ต ของ lot นั ้ น ใหม่
การตัดสินใจลงทุนก็เพื่อคุณภาพของระบบไฟฟ้าจึงขึ้นกับระดับความ สูญเสียที่จะเกิดจากระบบไฟฟ้า
ขัดข้องเฉลี่ยต่อครั้ง
กระบวนการผลิ ต ที ่ ไ ม่ ต ่ อ เนื ่ อ ง การหยุ ด การผลิ ต ไม่ ไ ด้ ท ำให้ ส ิ น ค้ า หรื อ วั ต ถุ ดิ บ
ที่อยู่ใน Production line เสีย หาย เช่น อุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ โรงงานผลิตสิ้นส่วน อะไหล่
โรงไม่หิน เป็นต้น การที่ระบบไฟฟ้าขัดข้องมีผลกระทบเพียงทำให้ผลผลิตลดน้อยลง หรือล่าช้ากว่ากำหนด
Productivity ต่ำซึ่งจะกระทบต่อผลประกอบการของธุระกิจในกรณีที่ความต้องการสินค้าในตลาดสูง
กำลังผลิตของโรงงานไม่เพียงพอ

ตารางที่ 2.6 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังการไฟฟ้าประเภทโรงงานอุตสหกรรม

Demand Charge บาท/กิโลวัตต์ Energy Charge บาท/


หน่วย
Peak Partial Peak Off Peak
แรงดันต่ำกว่า 12 332.71 68.22 0 1.7314
KV
แรงดัน 12-24 KV 285.05 58.88 0 1.7034
แรงดัน 69 KV ขึ้น 224.30 29.91 0 1.6660
ไป
ประเภทของอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ในโรงงาน อุปกรณ์ที่ใช้ไฟฟ้าเป็นต้นกำลังจะมีความต้องการ
คุณภาพของ Power Supply ในระดับที่แตกต่างกัน ทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับประเภทของอุปกรณ์ไฟฟ้านั้น
และลักษณะการใช้งาน เช่น อุปกรณ์ motor ไฟฟ้าใช้กับไฟ 3 Phase อุตสาหกรรมเราอาจแบ่งประเภท
ของอุปกรณ์ไฟฟ้าได้
พอสังเขปดังนี้
ระบบไฟแสงสว่างในโรงงาน/สำนักงาน
-อุปกรณ์ระบบปรับอากาศในโรงงาน/สำนักงาน
-เตาอบ เตาหลอม heater เครื่องเชื่อมไฟฟ้า
-ตู้แช่แข็ง ห้องเย็น
-มอเตอร์ไฟฟ้า
-หม้อแปลงไฟฟ้า
-อุปกรณ์อิเล็กทนิกส์
-ระบบความคุม และป้องกัน
-เครื่องกำเนิดไฟฟ้า และระบบไฟฟ้าสำรองฉุกเฉิน
ระบบไฟฟ้าของโรงงานจะต้อวออกแบบให้เป็นต้นกำลังที่เหมาะสม และปลอดภัยเพียงพอกับ
อุปกรณ์ไฟฟ้าที่จะต้องใช้ในโรงงาน ซึ่งการวางระบบที่เหมาะสมจะสามารถเลือกได้หลากหลายสนองความ
ต้องการในกระบวนการผลิตของโรงงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ที่ตั้งของโรงงานและแหล่งจ่ายไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรมที่ ตั้งอยู่ในบริเวณที่ระบบไฟฟ้าของ
กฟภ. และ กฟน. มีความมั่นคงสูง เช่น อยู่ในนิคมอุตสาหกรรม เป็นต้น ทางการไฟฟ้าๆด้มีการลงทุนให้
ระดับความมั่นคงของระบบส่ง -จ่ายไฟฟฟ้าเป็น N-1 นั่นก็คือแหล่งจ่ายไฟสำรองหรือ Stand by Source
ลงได้ในระดับหนึ่ง โรงงานอุตสาหกรรมที่ตั้งอยู่ห่างไกลที่ระบบจำหน่ายของ กฟภ. ไปไม่ถึงหรือไปถึงแต่คุ
รภาพต่ำมี Voltage Dorp มักจะ Trip บ่อยก็จะต้องประเมินระดับการลุงทุนในระบบไฟฟ้าของโรงงาน
อุตสาหกรรม หรือ ใช้พลังงานอื่นเป็นพลังงานป้อนกระบวนการผลิตแทนเช่น เตาเผา หม้อไอน้ำ จาก
เชื้อเพลิงถ่านหิน น้ำมัน เป็นต้น
บทที่ 3
วิธีดำเนินการ

การดำเนินการครั้งนี้มีลักษณะเป็นเซิงการศึกษาการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าที่มีผล
ต่อบิลค่าไฟฟ้า โดยผู้จัดทำดำเนินการดังนี้
3.1
3.2
3.3
3.4
3.5
3.6
3.1 ศึกษาเกี่ยวกับการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
การแก้ไขหรือการปรับ ปรุงเพาเวอร์แฟกเตอร์ให้เกิดการประหยัดพลังงานไฟฟ้า หมายถึง
การควบคุ ม ค่ า เพาเวอร์ แ ฟกเตอร์ (Power Factor Correction) ให้ อ ยู ่ ใ นช่ ว งที ่ ก ารไฟฟ้ า กํ า หนด
คือ มีค่า มากกว่า 0.85 เพราะจะทําให้กําลังไฟฟ้าที่การไฟฟ้าจ่ายมาให้นั้นถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
และ เกิดการสูญเสียน้อยที่สุดซึ่งจะทําให้ระบบของการไฟฟ้าสามารถจ่ายโหลดให้แก่ผู้ใช้รายอื่นได้มากขึ้น
แต่โดยส่วนมากแล้วค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์จะมีค่าต่ ำกว่าที่กําหนดไว้ ซึ่งเป็นการสูญเสียพลังงานไฟฟ้า
ไปโดยเปล่าประโยชน์ในรูป ของความร้อนของกระแสไฟฟ้าที่ต้องการใช้ส ูงกว่าปกติทําให้สิ้นเปลื อง
ค่าใช้จ ่ายที่จ ะต้องใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าในส่ว นของการป้องกัน กล่าวคือจะต้องใช้ขนาดของหม้อแปลง
เครื่องกําเนิดไฟฟ้า สวิตช์เกียร์ สายส่งและสายป้อนใหญ่ขึ้น ดังภาพที่ 3.1
ภาพที่ 3.1 การติดตั้งคาปาซิเตอร์เพื่อแก้เพาเวอร์แฟกเตอร์

3.2 การแก้ไขเพาเวอร์แฟกเตอร์
ขั้น ตอนที่ 1 Power Factor Controller เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ ในการประมวลผลว่าค่า Power Factor
ว่าเป็นไปตามที่กำหนดไว้หรือไม่

ภาพที่ 3.2 Power Factor Controller


ขั้นตอนที่ 2 เราสามารถเช็คค่าต่าง และคุณภาพของระบบไฟฟ้าได้จาก Digital power meter

ภาพที่ 3.3 Digital power meter


ขั้นตอนที่ 3 วัด ค่า ประกอบกำลังไฟฟ้า จากเครื่องวิเ คาะห์ คุณภาพไฟฟ้า เป็นอุปกรณ์แสดงค่าทางไฟฟ้ า
และปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ไป (Power Quality Analyzer)

ภาพที่ 3.4 ผลต่างๆทางไฟฟ้า Power Quality Analyzer

ขั้นตอนที่ 3.1 วิธีใช้งานของเครื่อง (Power Quality Analyzer)

ภาพที่ 3.5 การใช้งานของ Power Quality Analyzer


ขั้นตอนที่ 4 การกําหนดขนาดคาปาซิเตอร์โดยวิธีคํานวณ
เมื่อต้องการปรับค่า PF ทําได้โดยต่อ Capacitor เข้ากับวงจร KVAR ที่ได้จาก Capacitor
มีทิศทางตรงกันข้ามกับ KVAR ของวงจรหรือโหลด (KVAR 1) จะทําให้ KVAR ลดลงเหลือเป็น kVAR2 ดังภาพที่3.6

ภาพที่ 3.6 การกําหนดขนาดคาปาซิเตอร์โดยวิธีคํานวณ


ขั้นตอนที่ 5 ออกแบบตู้สวิตซ์บอร์ท Main MDB และเขียนแบบ Singleline Diagram

ภาพที่ 3.7 การออกแบบบริภัณฑ์ไฟฟ้า MDB

ภาพที่ 3.8 การออกแบบบริภัณฑ์ไฟฟ้า ตู้ Main (PFC)


ภาพที่ 3.9 เขียนแบบ Singleline Diagram ของชุด PFC

ขั้นตอนที่ 6 ตู้สวิตซ์บอร์ท CAP และ ติดตัง้ ตัวเก็บประจุไฟฟ้า CAPACITOR BANK

ภาพที่ 3.10 ตู้สวิตซ์บอร์ท CAP ภาพที่ 3.11 CAPACITOR BANK


ขั้นตอนที่ 7 HRC Fuse สามารถตัดกระแสลัดวงจรจำนวนมากๆ และเป็นที่นิยมนำมาติดตั้งเพื่อป้องกัน
CAP Bank ดังภาพที่ 3.12 และ Magnetic Contactor สำหรับ CAP Bankเป็นคอนแทคชนิดพิเศษที่ทนกระแส
สูงๆแล้วและช่วยลดการเกิดค่ากระแสกระชาก High transient currents ภาพที่ 3.13

ภาพที่ 3.12 HRC Fuse

ภาพที่ 3.13 Magnetic contacter


ขั้นตอนที่ 8 ตรวจสอบความเรียบร้อยก่อนทดสอบระบบ

ภาพที่ 3.13 ตรวจสอบความเรียบร้อยก่อนทดสอบระบบ

ขั้นตอนที่ 9 ทดสอบระบบขนานคาปาซิเตอร์เข้าสู่ระบบ 12 Step ในโหมด Auto

ภาพที่ 3.14 เช็ดติ่งระบบ Power Factor Controller


ภาพที่ 3.15 ขนานคาปาซิเตอร์เข้าสู่ระบบ 12 Step

ขั้นตอนที่ 10 หลังขนาน CAP เข้าสู่ระบบค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์เริ่มดีขึ้น แต่ละเฟส A B C และผลรวม


ก็จะสูงถึง 0.99 (เครื่ องวิเคราะห์พลังงานไฟฟ้า Power Quality Analyzer)

ภาพที่ 3.16 เครื่ องวิเคราะห์พลังงานไฟฟ้าPower Quality Analyzer


ภาพที่ 3.17 เครื่ องวิเคราะห์พลังงานไฟฟ้า Power Quality Analyzer ค่ากำลังไฟฟ้าในระบบเริ่มลดลงและค่า PF. เริ่มเข้าไกล้ 1

ภาพที่ 3.18 Power Quality Analyzer แสดงค่า PF. 0.7 จะเพิ่มขึ้นเรื่อยไปจนถึง 0.99
ขั้นตอนที่ 11 ก่อนขนาน-หลังขนานคาปาซิเตอร์เข้าสู่ระบบ

ภาพที่ 3.18 ก่อนขนานคาปาซิเตอร์เข้าสู่ระบบ

ภาพที่ 3.19 ค่า PF จะเพิ่มขึ้นเรื่อยไปจนถึง 0.99


ภาพที่ 3.20 ค่า PF สูงถึง 0.99

ตารางบันทึกค่าเพาเวอร์แฟเตอร์ก่อนและหลังปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
3.1.3 ประโยชน์การติดตั้งคาปาซิเตอร์
นอกเหนือจากการทําให้กระแสไฟฟ้าในระบบลดลงในขณะที่อุปกรณ์ต่างๆ ยังมีกําลังไฟฟ้า
ใช้ตามปกติการติดตั้งคาปาซิเตอร์สามารถ ได้ดังนี้
-ลดกําลังสูญสียในสายไฟและหม้อแปลงไฟฟ้า จึงเป็นการประหยัดพลังงานไฟฟ้า และลด ความร้อน
ทีเ่ กิดขึ้นในอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ
-ลดค่าไฟฟ้าที่เกิดจากการสูญเสีย
-ลดค่าปรับ เนื่องจากเพาเวอร์แฟกเตอร์ต่ํา
-ทําให้หม้อแปลงไฟฟ้า สายไฟ และอุปกรณ์ไฟฟ้ารับโหลดได้มากขึ้น
-ช่วยประหยัดทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้ผลิตไฟฟ้า
-ช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่อาจสูญเสียจากการขยายกําลังการผลิตไฟฟ้า
การที่คาปาซิเตอร์สามารถทําประโยชน์ได้มากมาย เพราะคาปาซิเตอร์เป็นโหลดชนิดพิเศษ
ในระบบไฟฟ้าที่กินกําลังไฟฟ้าจริงเพียงเล็กน้อย แต่สามารถจ่ายกําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟได้ปริมาณมาก
อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ทั ่ ว ไปในระบบไฟฟ้ า จึ ง สามารถใช้ ก ํ า ลั ง ไฟฟ้ า รี แ อคที ฟ ที ่ ค าปาซิ เ ตอร์ ส ร้ า งขึ ้ น มา
โดยไม่ต้องพึ่งพาเครื่องกําเนิดไฟฟ้า หรือแหล่งจ่ายไฟ
บทที่ 4
ผลการดําเนินงานวิจัย
4.1 บทนํา
บทนี้จะกล่าวถึงส่วนของการชดเชยค่ากำลังไฟฟ้ารีแอคทีฟเพื่อควบคุมตัวประกอบกําลัง ซึ่ง
ประกอบด้วย การหาค่าพารามิเตอร์ ก่อนการขนานคาปาซิเตอร์เข้าสู่ระบบไฟฟ้าและหลังการขนานคาปา
ซิเตอร์เข้าสู่ระบบไฟฟ้า

4.2 การทดลองที่ 1 การทดสอบก่อน-หลังการขนานคาปาซิเตอร์เข้าสู่ระบบ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาค่าพารามิเตอร์
2. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของพารามิเตอร์ก่อน - หลังการขนานคาปาซิเตอร์
เข้าสู่ระบบ
3. เพื่อเพิ่มค่าตัวประกอบกําลัง ให้เกิน 0.85 ขึ้นไป
4.2.1 การทดลองขนานคาปาซิเตอร์เข้าระบบ

ภาพที่ 4-1 การขนานคาปาซิเตอร์เข้าสู่ระบบ

ภาพที่ 4-2 ค่า cosθ ก่อนการขนานคาปาซิเตอร์เข้าระบบ


ภาพที่ 4-3 ค่า cosθ ก่อนการขนานคาปาซิเตอร์เข้าระบบ

ตารางบันทึกค่าจากมิเตอร์ก่อน-หลังการปรุงปรุงค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์

L1 L2 L3 total
ก่อน หลัง ก่อน หลัง ก่อน หลัง ก่อน หลัง
V 231 231 233 233 231 231 50HZ 50HZ
I 0.26 0.24 0.24 0.23 0.23 0.22 0.73 0.69
W 60.25 56.70 55.97 53.62 55.09 52.43 161.2 162.8
VAR 6.76 6.82 7.30 7.37 6.72 6.84 20.77 21.02
PF 0.95 0.99 0.48 0.99 0.44 0.99 0.71 0.99
VA 57.13 57.15 53.45 54.15 52.03 52.91 162.8 164.3

ตารางที่ 4.1 ค่าจากมิเตอร์ก่อน-หลังการปรับปรุงค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์


จากผลการทดลองตารางที่ 4.1 ผลที่ได้เป็นไปตามจุดประสงค์ของการชดเชยกําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ
เพื่อควบคุมตัว ประกอบกําลัง ค่า cosθ ก่อนการขนานคาปาซิเตอร์เข้าระบบเพื่อจ่ายค่ารีแอคทีฟ
ค่าที่ได้คือต่ ำกว่า 0.85 ส่วนค่าพารามิเตอร์ต่างๆมีค่าสูงเพราะค่า cosθ ที่ได้มีค่าต่ํากว่า 0.85 ทําให้
ค่ากําลังไฟฟ้าที่สูญเสียในระบบมีมาก ค่าพารามิเตอร์ ต่างๆจึงมีค่าที่สูง หลังจากที่ขนานคาปาซิเตอร์เข้าสู่ระบบ
เมื ่ อ จ่ า ยค่ า กํ า ลั ง ไฟฟ้ า รี แ อคที ฟ ค่ า พารามิ เ ตอร์ ต ่ า งๆจะลดลง เช่ น ค่ า กระแส ค่ า กํ า ลั ง ไฟฟ้ า
เพราะค่า cosθ ที่ได้มีค่ามากกว่า 0.85ส่งผลให้กําลังไฟฟ้าในระบบมีความเสถียรภาพมากขึ้น

4.3 สรุปผลการทดลอง
จากที่ได้ ศึก ษาการชดเชยค่ า กําลั ง ไฟฟ้ารี แ อคที ฟ เพื่ อควบคุม ตัว ประกอบกําลัง ผลที่ได้ คื อ
ก่อนการขนาน คาปาซิเตอร์เข้าระบบเห็นได้ว ่าค่ากระแสนั้นสูง ค่า cosθ ต่ำลง แต่หลังจากที่ขนานคาปาซิเตอร์
เข้าระบบ ค่ากระแสลดลง ค่า cosθ สูงขึ้น ทําให้ค่าใช้จ่ายลดลงและไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม จากการที่ค่า
เพาเวอร์แ ฟคเตอร์ ต่ ำ กว่ า 0.85 อีกด้ว ย จากที่ ศึก ษาจะเห็นว่า คาปาซิเตอร์ จ ะทํา งานแค่ ตัว เดี ย ว
เนื่องจากจะรอคำสั่งจาก PFC เพื่อสั่งให้ทำงานแต่ละ Step เพื่อรักษาอายุการใช้งานของคาปาซิเตอร์ไม่ให้
ทำงานหนั กเกิ นจนเกิ นไปและจะทํ าให้ อ ุ ปกรณ์ ชดเชยค่ ากํ าลั งไฟฟ้ ารี แอคที ฟทํ างานไม่ เต็ มประสิ ทธิ ภาพ
บทที่ 5
การสรุปผลงานวิจัยปัญหาและข้อเสนอแนะ

5.1 บทนํา
ในการจัดทําอุปกรณ์ชดเชยค่ากําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟเพื่อควบคุมตัวประกอบกําลัง สามารถ
สรุปผลการดําเนินงานได้ดังนี้
5.2 การสรุปผลการวิจัย
5.3 สรุปผลการวิจัย
5.4 ปัญหาการจัดสร้างโครงงาน
5.5 ข้อเสนอแนะ
5.2 การสรุปผลการวิจัย
ในการจั ด สร้ า งโครงงานนั ้ น เริ ่ ม จากการรวบรวมข้ อ มู ล เกี ่ ย วกั บ ค่ า เพาเวอร์ แ ฟคเตอร์
ถ้ า ค่ า เพาเวอร์ แ ฟคเตอร์ ใ นระบบไฟฟ้ า ต่ ำ จะส่ ง ผลทํ า ให้ ร ะบบการจ่ า ยไฟฟ้ า มี ค ุ ณ ภาพต่ ำ ไปด้ ว ย
และถ้าค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ต่ำกว่าเกณฑ์ที่การไฟฟ้ากําหนดก็จะต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม

5.3 สรุปผล
จากผลการทดลอง การเปรียบเทียบระหว่างค่าพารามิเตอร์ช่วงที่ตัดและช่วงต่อคาปาซิเตอร์
จะเห็นได้ว่าช่วงที่ทําการจ่ายค่ารีแอคทีฟเพาเวอร์ให้กับระบบไฟฟ้า ค่ากระแสไฟฟ้า ค่ากําลังไฟฟ้า
ค่ารีแอคทีฟเพาเวอร์ จะมีค่าสูงเนื่องจากรีแอคทีฟต่ ำกว่าที่กําหนด และทําให้ค่าcosθ มีค่าต่ำลงไปด้วย
เมื ่ อได้ ขนานคาปาซิเตอร์ การชดเชยค่ากํ าลังไฟฟ้ ารี แอคที ฟเพื ่อควบคุ มตัวประกอบกําลังเข้ าไปในระบบไฟฟ้า
ค่ากระแสไฟฟ้า ค่ากําลังไฟฟ้า ค่ากําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟเพาเวอร์ จะลดลงและค่า cosθ จะเพิ่ม สูงขึ้น
เพื่อให้เป็นไปตามที่การไฟฟ้ากําหนดซึ่งต้องมีค่าไม่ต่ำกว่า0.85
การให้ระบบชดเชยค่ารีแอคทีฟของระบบคอนโทรลเลอร์คาปาซิเตอร์ทํางาน ผลการทดลองที่ได้
คือระบบคอนโทรลเลอร์คาปาซิเตอร์จะคํานวณหาค่ารีแอคที ฟเพาเวอร์ ที่ มี อยู่ในระบบไฟฟ้าที่ ต้องการใช้งาน
เมื่อระบบคอนโทรลเลอร์คํานวณค่ารีแอคทีฟเพาเวอร์ได้แล้วจะทําการชดเชย ค่ารีแอคทีฟที่มีค่าเหมาะสม
กับค่ารีแอคทีฟที่ต้องการใช้ในระบบไฟฟ้าถ้าคาปาซิเตอร์สเต็ปที่ 1 อยู่ ตําแหน่งปิดหรือไม่พร้อมใช้ งาน
ระบบควบคุมคอนโทรลเลอร์คาปาซิเตอร์ก็จะเรียกสเต็ปการทํางานลําดับที่ 2, 3, 4, 5และ 6 ตามลําดับ
ถ้ าสเต็ ปของคาปาซิ เตอร์ ป ิ ดทั ้ งหมด 6 สเต็ ประบบคอนโทรลเลอร์ คาปาซิ เตอร์ จะเรี ยกค่ ารี แอคที ฟอยู ่ เรื ่ อยๆ
ตามเวลาที่ตั้งไว้จนกว่าจะมีสเต็ปของคาปาซิเตอร์พร้อมใช้งานเพื่อให้ได้ค่ารีแอคทีฟที่เพียงพอต่อในระบบไฟฟ้า

5.5 ข้อเสนอแนะ
ในการออกแบบชุดอุป กรณ์ชดเชยค่ากําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟเพื่อควบคุมตัวประกอบกําลั งนั้น
ควรคํานวณหาค่ารีแอคทีฟตามความต้องการในระบบไฟฟ้าเพื่อที่เราจะนําอุปกรณ์ชดเชยค่ากําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ
เพื ่ อควบคุ มตั วประกอบกํ าลั งไปต่อเข้ าระบบเสี ยก่ อนเพื ่ อจะได้ จ ั ดซื ้ ออุ ปกรณ์ ได้ ตามความต้องการของระบบ
บรรณานุกรม
การปรับปรุงตัวประกอบกําลังไฟฟ้าและวิธีการควบคุมความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด
(ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2558. เข้าถึงได้จาก
: http://www.ee.eng.cmu.ac.th/~kasin/Courses/252282/TouTod.pdf
การชดเชยตัวประกอบกําลังไฟฟ้า (ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม
2558. เข้าถึงได้จาก : http://eng.rtu.ac.th/ESD/ch12.pdf
การบํารุงรักษาเชิงป้องกันPowerFactor CorrectionCapacitorsด้วยเครื่องมือThermal
InfraredDetector.
(ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์). [ออนไลน์]. สืบค้น 19 มีนาคม 2558, เข้าถึงได้จาก :
http://www.thailandindustry.com/guru/view.php?id=
14610&section=9การ
การปรับปรุงค่าPowerFactorในระบบไฟฟ้าด้วยCapacitorBank. (ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์)
[ออนไลน์]. สืบค้น 15 มีนาคม 2558, เข้าถึงได้จาก : http://tescontrol
.igetweb.com/index.php?lite=article&qid=42176996
การปรับปรุงตัวประกอบกําลังของเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน. (2552). [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 20
มีนาคม 2558, เข้าถึงได้จาก : http://www.ecpe.nu.ac.th/niphat/ ProjectStudents-
Year2552.htm
ข้อดีของการปรับปรุงค่า PowerFactor&Capacitor การปรับปรุง PowerFactor.
(ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2558, เข้าถึงได้จาก :
http://www.pitigroup.com/trick/pdf/01_01.pdf
ค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้า(Power Factor : PF)และวิธีการปรับปรุงค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้า ให้ดี
ขึ้น
(ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2558 เข้าถึงได้จาก
:http://www.mea.or.th/profile/index.php?l=th&tid=3&mid=269&pid=110
คาปาซิเตอร์& ฮาโมนิคส. (2550). [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2558, เข้าถึงได้จาก :
http://www.itm.co.th/Literature/Capacitor_and_Harmonics_Part3.pdf คู่มือ
ผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน(อาคาร) (2553). ระบบไฟฟ้ากําลัง, สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2558
เข้าถึงได้จาก https://cdn.fbsbx.com/hphotos-xpa1/v/t59.2708-
21/11153960_904949462898829_350790885_n.pdf
ชัด อินทะสี, 2554. การส่งและจ่ายกําลังไฟฟ้า, กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น
ธวัช สิรสิ ังกาส. 2550. การหาตําแหน่งติดตั้งและขนาดคาปาซิเตอร์แบงค์ที่เหมาะสมเพื่อกําลัง
สูญเสียในระบบจําหน่ายไฟฟ้าพร้อมทั้งคํานึงถึงความไม่เป็นเชิงเส้นของโหลดโดยใช้วิธี
กลุ่มอนุภาค, วิยานิพนธ์สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร เหนือ.
บุญเย็น อุ่นจิตร์, 2549. การสร้างและทดสอบประสิทธิภาพชุดฝึกอบรม เรื่อง การปรับปรุงค่า
เพาเวอร์แฟคเตอร์, วิยานิพนธ์สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ นคร
เหนือ.
ปัญหาคุณภาพทางกําลังไฟฟ้า (ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์). [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม
2558, เข้าถึงได้จาก : http://www.wp-capacitor.com/index.php?page=articles
ระบบกําลังไฟฟ้า (ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2558
เข้าถึงได้จาก : http://www2.dede.go.th /bhrd/old/Download/
file_handbook/Pre_Fac/Fac_6.pdf
ระบบจ่ายกําลังไฟฟ้า(Power Distribution). (ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม
2558. เข้าถึงได้ จาก : http://www2.dede.go.th/bhrd/old/web_display
/websemple/Industrial(PDF)
Power Factor (PF). (ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม
2558 เข้าถึงได้จาก : https://cdn.fbsbx.com/hphotos-xap1/v/t59.2708-21/11168249
904949366232172 953944400 n.docx

You might also like