You are on page 1of 34

บทที่ ๔ หม้อแปลงไฟฟ้า (Transformers)

เอกสารประกอบการสอน
303206 Introduction to Electrical Engineering
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

1
4.1 บทนา
หม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer)
หม้อแปลงไฟฟ้า เป็น อุปกรณ์ที่แปลงพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับจากระดับแรงดันหนึ่งไปเป็นพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับอีกระดับ
แรงดันหนึ่งโดยอาศัยหลักการของแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น แปลงไฟจากแรงดัน 22 kV ไปเป็น 220 V เป็นต้น โดยที่ความถี่ก่อนแปลง
และหลังแปลงจะไม่เปลีย่ นแปลง เช่น ความถี่ 50Hz
การใช้งานของหม้อแปลงไฟฟ้าจะแบ่งตามระดับแรงดันไฟฟ้าที่ใช้ ดังนี้
1. หม้อแปลงไฟฟ้าแรงต่า (Low Voltage Transformers) เช่น ในเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆที่ใช้กันตามบ้านเรือน เป็นหม้อแปลง
ไฟฟ้าแบบเฟสเดียว ได้แก่ หม้อแปลงในโทรทัศน์ เครื่องขยายเสียง วิทยุ หรือ อะแด๊ปเตอร์แปลงไฟเพื่อใช้ในงานต่างๆ เป็นต้น
2. หม้อแปลงไฟฟ้าแรงสูง (High Voltage Transformers) แรงดันไฟฟ้ามากกว่า 1 kV โดยมากจะเป็นหม้อแปลงกาลังไฟฟ้า
แบบสามเฟส เช่น หม้อแปลงกาลังที่ใช้กับระบบไฟฟ้ากาลัง ย่านธุรกิจ หรือตามโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ

หม้อแปลงไฟฟ้าแรงต่า (Low Voltage Transformers) หม้อแปลงไฟฟ้าแรงสูง (High Voltage Transformers)

2
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.2 ชนิดของหม้อแปลงไฟฟ้า
ชนิดของหม้อแปลงไฟฟ้า อาจแบ่งได้ตามชนิดของแกนที่ใช้ ซึ่งจะแบ่งได้ 3 ชนิด คือ
1. หม้อแปลงชนิดแกนเหล็ก (Iron Core Transformers) ลักษณะทั่วไปตามรูป (a)
• แกนใช้แผ่นเหล็กหลายๆ แผ่นอัดซ้อนกัน ส่วนใหญ่จะใช้รูปทรงตัว E กับ I ประกอบกันเป็นแกน
• ใช้งานที่ความถี่ไม่สูงมาก เช่น หมัอแปลงในงานส่งกาลังไฟฟ้าและหม้อแปลงแรงดันต่าๆ
2. หม้อแปลงชนิดแกนอากาศ (Air Core Transformers) ลักษณะทั่วไปตามรูป (b)
• ใช้ในงานความถี่สูงมากๆ เช่น ในเครื่องรับ-ส่งวิทยุ ที่ใช้แกนอากาศ เพราะต้องการลดการสูญเสียที่เกิดขึ้น
จากการสูญเสียกาลังในแกนเหล็ก (จะมีค่ามาก เมื่อใช้ความถี่สูงๆ)
3. หม้อแปลงชนิดแกนเฟอร์ไรท์ (Ferrite Core Transformers) ลักษณะทั่วไปตามรูป (c)
• เป็นวัสดุที่มีส่วนผสมของแม่เหล็กทาให้มีความเข้มสนามแม่เหล็กมากกว่าเหล็กและมีความต้านทานสูง จึง
ช่วยลดการสูญเสียบนแกนเหล็ก หรือ ลดความร้อนจากการเกิดกระแสไหลวนที่ความถี่สูง จึงนิยมใช้ใน
อุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์เป็นส่วนใหญ่

3
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.3 ส่วนประกอบหลักของหม้อแปลงไฟฟ้า
ส่วนประกอบของหม้อแปลงไฟฟ้า มีส่วนประกอบที่สำคัญอยู่ 2 ส่วน คือ
1. ขดลวด (Winding) หม้อแปลงไฟฟ้ำประกอบด้วยขดลวดสองขด คือ
1.1 ขดลวดที่ทำหน้ำที่รับแรงดันไฟฟ้ำเข้ำมำ เรียกว่ำ ขดลวดปฐมภูมิ (Primary Winding)
1.2 ขดลวดที่ทำหน้ำที่จ่ำยแรงดันไฟฟ้ำออกไปยังโหลด เรียกว่ำ ขดลวดทูติยภูมิ (Secondary Winding)
2. แกนเหล็ก (Core) โดนแกนเหล็กจะใช้เป็นแผ่นเหล็กบำงๆ (laminated sheet steel) และมีส่วนผสมของซิลิกอน
จึงทำให้แกนเหล็กมีควำมต้ำนทำนทำงไฟฟ้ำสูง ลดกำรสูญเสียต่ำงๆ

4
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.4 หลักการทางานของหม้อแปลงไฟฟ้า
หลักการทางานของหม้อแปลงไฟฟ้า

ip is

vp ep Np Ns es vs
การทางานของหม้อแปลงไฟฟ้าอย่างง่าย

• เมื่อป้อนแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ (vp) เข้าไปที่ขดลวดปฐมภูมิ (Primary winding) พันด้วยจานวนรอบ (Np) ทาให้


เกิดกระแสสลับไหลด้านปฐมภูมิ (ip) จาก กฎของฟาราเดย์ จะได้แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวทางด้านปฐมภูมิและทุติยภูมิ
( ep และ es ) ตามสมการ
𝑑∅ 𝑑∅
𝑒𝑝 = 𝑁𝑝 และ 𝑒𝑠 = 𝑁𝑠
𝑑𝑡 𝑑𝑡
• โดยแต่ละขดลวดจะเกิดฟลักซ์แม่เหล็กไหลผ่านภายในขดลวดแต่ละขด เกิดการเหนี่ยวนาตัวเอง (Self-induction)
และเกิดเป็นฟลักซ์เชื่อมโยง ( Mutual flux,  ) ไหลผ่านขดลวดทั้งสอง
• เมื่อทาการสับสวิทช์เพื่อต่อโหลดจะเกิดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับตกคร่อมโหลด (vs) และทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าสลับ
ไหลด้านขดลวดทุติยภูมิ (is)

5
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.5 หม้อแปลงไฟฟ้าในอุดมคติ

ip is

vp ep Np Ns es vs สมมติว่าเป็นหม้อแปลงไฟฟ้าในอุดมคติ
(Ideal transformer)

จาก กฎของฟาราเดย์ เมื่อหาอัตราส่วนของแรงเคลือ่ นไฟฟ้าเหนีย่ วทางด้านปฐมภูมิและทุติยภูมิ ( 𝑒𝑝 และ 𝑒𝑠 ) จะได้ว่า


𝑒𝑝 𝑁𝑝
=
𝑒𝑠 𝑁𝑠
สาหรับหม้อแปลงในอุดมคติ ไม่คิดกาลังสูญเสีย พบว่า กาลังไฟฟ้าที่ป้อนจะเท่ากับกาลังไฟฟ้าที่จ่ายออกมา ( 𝑃𝑖𝑛 = 𝑃𝑜𝑢𝑡 )
(𝑒𝑝 = vp) และ (𝑒𝑠 = vs) สามารถหาความสัมพันในรูปของกระแสไฟฟ้าสลับทางด้นปฐมภูมแิ ละทุตยิภูมิ (𝑖𝑝 และ 𝑖𝑠 )
เมื่อ (𝑒𝑝 = vp) และ (𝑒𝑠 = vs)
𝑃𝑖𝑛 = 𝑃𝑜𝑢𝑡 𝑣𝑝 𝑖𝑠 𝑣𝑝 𝑖𝑠 𝑁𝑝
𝑣𝑝 × 𝑖𝑝 = 𝑣𝑠 × 𝑖𝑠 = = = =𝑎
𝑣𝑠 𝑖𝑝 𝑣𝑠 𝑖𝑝 𝑁𝑠
เพื่อความสะดวกในการคานวณจะบอกปริมาณแรงดันไฟฟ้าสลับและ โดยที่ a คือ อัตราส่วนขดลวด
กระแสไฟฟ้าสลับเป็นขนาดดังนี้ 𝑉𝑝 𝐼 𝑁𝑝 (Turn ratio)
𝑠
= = =𝑎
𝑉𝑠 𝐼𝑝 𝑁𝑠

6
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.5 หม้อแปลงไฟฟ้าในอุดมคติ
หม้อแปลงไฟฟ้าในอุดมคติ (Ideal transformer)
สาหรับการคานวณหม้อแปลงไฟฟ้าในอุดมคติ เราจะสมมุติว่า ในหม้อแปลงไฟฟ้าไม่มีการสูญเสียในส่วนต่างๆ ดังนี้
1. ความต้านทานของขดลวด (Winding resistance) ไม่คิดกาลังสูญเสียเนื่องจาก P = I 2R

2. การสูญเสียในแกนเหล็ก (Core losses) ไม่คิดการสูญเสียเนื่องจากการเหนี่ยวนาในแกนเหล็ก


3. ฟลักซ์รั่วไหล (Leakage flux) ฟลักซ์ทั้งหมดจะไหลอยู่ในแกนเหล็ก 100%

1 0.1 0.1 1

10 100 100 10

7
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.5 หม้อแปลงไฟฟ้าในอุดมคติ
พิกัดกาลังของหม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer Power Ratings)
ข US

ในท้องตลำด จะบอก สเปคของหม้อแปลงดังนี้ หม้อแปลง Step-up: 120/240 V, 240 W -3 41 กระแส โหนด

== 1 = = =%h
รำยละเอียด: Rated Voltage ของด้ำนปฐมภูมิกับทูติยภูมิเท่ำกับ 120 V กับ 240 V S
S
290 /

Rated Power จะบอกควำมสำมำรถในกำรจ่ำยกำลังไฟฟ้ำ มีค่ำเท่ำกับ 240 W Is: 7


A

ุครส >
จาวโหรกรา สงส

ตัวอย่างที่ 1
หม้อแปลงตัวหนึ่งมีจานวนรอบขดลวดด้านปฐมภูมิและทุติยภูมิ
4 และ 8 รอบ ตามลาดับ ทาการป้อนแรงดันไฟฟ้าสลับขนาด
120V และวัดกระแสไฟฟ้าด้านปฐมภูมิ 2A
จงหา
1) อัตราส่วนขดลวด (a)
2) กระแสไฟฟ้าสลับด้านทุติยภูมิ (Is)
3) แรงดันไฟฟ้าสลับด้านทุติยภูมิ (Vs)
4) เป็นหม้อแปลง Step-up หรือ Step-down
Up:
how -> Vq2402
a==== 9)
=- 0.
1)

2)
Step US

#Flat=0.5
คะ &Fi
= 2= 1A

3)
1=
d= Yo 1 = #20 -
20

8
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.5 หม้อแปลงไฟฟ้าในอุดมคติ
ตัวอย่างที่ 2 Np
จากรูป มีหม้อแปลงตัวหนึ่ง จานวนรอบขดลวดด้านปฐมภูมิและทุติยภูมิ 40
N
และ 5 รอบ ตามลาดับ กาหนดให้ มีกระแสด้านทุติยภูมิ I S 100 mA
โหลด R 2 k จงหา
1) อัตราส่วนขดลวด (a) Vp
2) กระแสปฐมภูมิ (IP)
3) แรงดันตกคล่อมโหลด (VL)
4) เป็นหม้อแปลง Step-up หรือ Step-down

1.
1=1=
a= 8

2) .
#1 = 100 =
12.5 as
a= ·1) => Ip=
Ip

2) V2 = Is R = GOOORE ( 2529) = 2000 = US

9) a=
11 1 Pp=aup

9
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.5 หม้อแปลงไฟฟ้าในอุดมคติ
ตัวอย่างที่ 3
มีหม้อแปลงไฟฟ้าแกนเหล็กดังรูป เมื่อ IP = 2A
มี turn ratio เท่ากับ 1:5 และ R = 2Ω จงหา
1) แรงดันไฟฟ้าที่โหลด (VL) = Vs
Vp R
2) กระแสไฟฟ้าที่โหลด (IL)
3) กาลังจริงที่โหลดได้รับ (PL)
4) กาลังไฟฟ้าที่แหล่งจ่ายไฟจ่ายออกมา (Pin)

10
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.5 หม้อแปลงไฟฟ้าในอุดมคติ
เทคนิคการย้ายอิมพิแดนซ์ - เพื่อช่วยในการวิเคราะห์วงจรที่มีหม้อแปลงให้ง่ายขึ้น
(Reflected impedance and power)
• การย้ายอิมพิแดนซ์เป็นการย้าย โหลด หรือ อิมพีแดนซ์ที่อยู่ด้านทูติยภูมิ มายังด้านปฐมภูมิ
• เรียกส่วนที่ย้ายมาว่า อิมพิแดนซ์สะท้อน หรือ Reflected Impedance (ZP)

Vp ZL = Vs Vp a2ZL 𝑎𝑉=𝐿 Vs

ZP
จากรูปวงจรซ้ายมือ จะได้ว่า
𝑉𝑝 𝑎𝑉𝑠 𝑉𝑠 𝑉𝐿
𝑍𝑝 =
𝐼𝑝
=
𝐼𝑆
= 𝑎2 = 𝑎2 = 𝑎2 𝑍𝐿
𝐼𝑆 𝐼𝐿
จะได้ว่า 𝑍𝑝 = 𝑎2 𝑍𝐿
𝑎
และ 𝑉𝑝 = 𝑎𝑉𝑠 = 𝑎𝑉𝐿

11
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.5 หม้อแปลงไฟฟ้าในอุดมคติ
ตัวอย่างที่ 4

Vp

จากโจทย์ มีหม้อแปลงตัวหนึ่ง จานวนรอบขดลวดด้านปฐมภูมิและทุติยภูมิ 40 และ 5 รอบ ตามลาดับ กาหนดให้ มีกระแส


ด้านทุติยภูมิ I S 100 mA และโหลด R 2 k จงหา (ใช้เทคนิคการย้ายอิมพิแดนซ์)
1) กระแสด้านปฐมภูมิ I P แรงดันตกคล่อมโหลด VL และแรงดันที่แหล่งจ่าย V p
2) อิมพิแดนซ์ขาเข้าของหม้อแปลง Z P
3) เปรียบเทียบค่าต่างๆ กับค่าที่ได้จากตัวอย่างที่ 2

12
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.5 หม้อแปลงไฟฟ้าในอุดมคติ
การประยุกต์นาหม้อแปลงไฟฟ้าไปใช้ในเรื่องการส่งถ่ายกาลังไฟฟ้าสูงสุด
• หม้อแปลงไฟฟ้าสามารถนาไปช่วยในการส่งกาลังไฟฟ้าในระบบเครื่องเสียงได้ เพื่อให้แน่ใจว่า โหลด (ลาโพง)
จะได้รับกาลังไฟฟ้าสูงสุดจากแหล่งจ่าย (เครื่องขยายสัญญาณ Amplifier) ได้
• จากหลักการ การส่งถ่ายกาลังไฟฟ้าสูงสุด มีเงื่อนไขว่า ความต้านทานภายในเครื่องขยายสัญญาณจะต้องมีค่า
เท่ากับความต้านทานของลาโพง (R = R ) หรือเรียกว่า การแมทชิ่งอิมพีแดนซ์ (Impedance matching)
S L

• จากรูป (ก) ความต้านทานภายใน RS 512  แต่ความต้านทานลาโพง 8  ไม่แมทชิ่ง


• จึงต้องมีการต่อหม้อแปลงดังรูป (ข) โดยให้หม้อแปลงมีความต้านทานขาเข้า ZP เท่ากับ 512 

Z p = a 2 Z L = 8 2  8 = 512 

Vp Vp

(ก) (ข)

13
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.5 หม้อแปลงไฟฟ้าในอุดมคติ
ตัวอย่างที่ 5

Vp Vp

(ก) (ข)
จากรูป (ก) และ (ข) จงหา
(ก) เครื่องขยายเสียง (Amplifier) มีความต้านทานภายใน 512  ซึ่งไม่แมชชิ่งกับลาโพง 8 
จงหา กาลังที่ส่งมายังลาโพงว่ามีค่าเท่าไร
(ข) ถ้าต่อหม้อแปลงคั่นระหว่างเครื่องขยายเสียงและลาโพง โดยหม้อแปลงมีอตั ราส่วนจานวนรอบเท่ากับ 8:1
จงหา อิมพิแดนซ์ขาเข้าของหม้อแปลง (ZP) และกาลังไฟฟ้าที่ส่งไปยังลาโพงมีคา่ เท่าไร
(ค) ทาการเปรียบเทียบ กาลังไฟฟ้าที่ส่งไปยังลาโพง ระหว่างข้อ (ก) และ (ข)

14
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.6 หม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฎิบัติ
ลักษณะของหม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฏิบัติ (Practical Transformer)
วงจรสมมูลของหม้อแปลงในทางปฏิบัติจะแตกต่างจากทางอุดมคติ โดยที่จะคิดผลเนื่องจากปัจจัยต่อไปนี้
• ความเหนี่ยวนาที่สูญเสียเนื่องจาก ฟลักซ์รั่วไหล (Leakage Flux) ( X1 และ X2 )
• ความต้านทานของขดลวด แสดงถึง กาลังสูญเสียที่ขดลวด (Copper Losses) (R1 และ R2)
• กาลังสูญเสียในแกนเหล็ก (Core losses) (Rc) ประกอบด้วย กระแสไหลวน (Eddy Current Losses) และ ฮิส
เทอริซิส (Hysteresis Losses)
• การสูญเสียเนื่องจากกระแสที่ใช้ในการสร้างฟลักซ์แม่เหล็กในแกนเหล็ก ในรูปของ Xm
หมายเหตุ
X คือ ค่า รีแอคแตนซ์ (Reactance) หน่วย โอห์ม  Z
X Z R2 X2
R คือ ค่า ความต้านทาน (Resistance) หน่วย โอห์ม 
Z คือ ค่า อิมพีแดนซ์ (Impedance) หน่วย โอห์ม 
R

*** ส่วนของกำลังสูญเสียในแกนเหล็กจะไม่นำมำคิดเนื่องจำกยำกแก่กำรคำนวณ จะพิจำรณำเฉพำะในส่วนของกำร


สูญเสียในขดลวด หรือ copper losses และฟลักซ์ร่วั ไหล เท่ำนัน้

15
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.6 หม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฎิบัติ
ลักษณะของหม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฏิบัติ (Practical Transformer)

Copper losses

𝑅𝑝 𝑋𝑝 𝑁𝑝 𝑋𝑠 𝑅𝑠
𝑁𝑠

𝐼𝑝 𝐼𝑠
Ic Im
𝑉𝑝 𝐸𝑝 𝐸𝑠 𝑉𝑠

Core losses

วงจรสมมูลของหม้อแปลงในทางปฏิบัติ (Equivalent Circuit of Practical Transformer)

16
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.6 หม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฎิบัติ
ตัวอย่างที่ 6 หม้อแปลงเฟสเดียวขนำด 50 kW 4,400/220V Rp=4Ω Rs=0.01Ω Xp=5Ω Xs= 0.05Ω
จงหา 1) วำดวงจรสมมูลของหม้อแปลง
2) หำค่ำกระแสโหลดเต็มพิกัดของทั้งสองฝั่ง
3) หำค่ำกำรสูญเสียในขดลวดของทั้ง 2 ฝั่ง (Copper losses)

17
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.6 หม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฎิบัติ
ตัวอย่างที่ 7
10𝐴 1Ω 2Ω 2Ω 1Ω

Vp 60Ω

จงหา ให้ยุบวงจรใหม่โดยใช้เทคนิคย้ายอิมพีแดนซ์ และหาค่าต่างๆ ดังรูปวงจรที่ยุบใหม่

Vp

18
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.6 หม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฎิบัติ
ตัวอย่างที่ 8

Vp

จงหา ให้ยุบวงจรใหม่โดยใช้เทคนิคย้ายอิมพีแดนซ์ และหาค่าต่างๆ (1) 𝑅𝑒 และ 𝑋𝑒 (2) วงจรสมมูลหลังการย้ายอิมพิแดนซ์


(3) กระแสปฐมภูมิ (Ip) (4) แรงดันที่โหลด (VL)

19
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.6 หม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฎิบัติ

20
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.6 หม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฎิบัติ
ลักษณะของหม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฏิบัติ (Practical Transformer)

หม้อแปลงในทำงปฏิบัติ สิ่งที่ต้องพิจำรณำมีอยู่ 2 อย่ำง คือ


1. การควบคุมแรงดันไฟฟ้าหม้อแปลง (Regulation of Transformer Voltage)
2. ประสิทธิภาพของหม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer Efficiency)
*** หม้อแปลงในทางปฎิบัติที่ดี นั้นจะต้องมีคุณสมบัติของ 2 เรื่องที่กล่าวข้างต้นดังนี้
1. แรงดันขาออกขณะที่ยังไม่จ่ายโหลด (ไร้ภาระโหลด) กับ แรงดันขาออกเมื่อจ่ายโหลดจะต้องไม่ตกลง
มากเกินไป
เช่น ถ้าหม้อแปลงจ่ายโหลดที่แรงดันขาออก 220 V เมื่อนาไปต่อกับโหลด แล้วทาการวัดแรงดันขาออกที่
ต่อกับโหลด จะต้องได้ค่าใกล้เคียงกับ 220 V เช่น 218 หรือ 219 V เป็นต้น
2. การสูญเสียต่างๆ ที่กล่าวมาภายในหม้อแปลงในทางปฎิบัติ จะต้องมีค่าน้อยที่สุด หรือ กล่าวว่า
กาลังไฟฟ้าขาเข้าจะต้องมีค่าเท่ากับกาลังไฟฟ้าขาออก จากสมการ Pout = Pin + Plosses จะได้ว่า ค่าของ
Plosses จะต้องมีค่าน้อยที่สุดนั่นเอง

21
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.6 หม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฎิบัติ
การรักษาระดับแรงดันของหม้อแปลง (Regulation of Transformer Voltage)
• กำรประเมินว่ำ หม้อแปลงตัวไหนดีหรือไม่ดีนั้น สิ่งหนึ่งที่บอกได้ คือ ค่าการรักษาระดับแรงดัน
(Voltage Regulation, V.R.)
• เมื่อขดลวดทุติยภูมิของหม้อแปลงมีกำรต่อโหลดเต็มพิกัด (Full load) จะทำให้แรงดันที่ขดลวดทุติยภูมิ
(VFL) จะมีค่ำต่ำลง เมื่อเทียบกับแรงดันที่ขดลวดทุติยภูมิขณะไร้ภำระโหลด (No load , VNL)

• โดยทั่วไป ค่ำกำรรักษำระดับแรงดันจะแสดงเป็น เปอร์เซนต์ ดังสมกำร


VNL − VFL
Voltage Regulation (V.R.) =  100%
VFL

• จำกสมกำร พบว่ำ ยิ่งค่ำ Voltage Regulation ยิ่งน้อย ก็ยิ่งดี โดยทั่วไป


• หม้อแปลงขนำดเล็ก จะมี V.R. < 3%
• หม้อแปลงขนำดใหญ่ จะต้องมีค่ำ V.R. < 1%

22
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.6 หม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฎิบัติ
ตัวอย่างที่ 9
หม้อแปลงขนาด 6 kW 100V/500V เป็นหม้อแปลงแบบหนึง่ เฟส ขณะที่ต่อโหลด ที่ขดลวดทุติยภูมิมีแรงดันเท่ากับ 487.5 V
จงหา ค่าการรักษาระดับแรงดัน (V.R.)
วิธีทา

ตัวอย่างที่ 10
หม้อแปลงมีแรงดันเปิดวงจรที่ขดลวดทุติยภูมิเท่ากับ 110 V ขณะที่นาไปใช้งาน คานวณค่าของ V.R. ได้ 3%
จงหา แรงดันที่ขดลวดทุติยภูมิขณะนาหม้อแปลงนีไ้ ปใช้งาน
วิธีทา

23
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.6 หม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฎิบัติ
ตัวอย่างที่ 11
หม้อแปลงเฟสเดียว มีอัตราส่วนจานวนรอบ 6:1 มีความต้านทานและค่ารีแอคแตนซ์ด้านปฐมภูมิ 0.9Ω และ 5Ω ตามลาดับ มีค่า
ความต้านทานและค่ารีแอคแตนซ์ด้านทุติยภูมิ 0.03Ω และ 0.13Ω จงหา ค่าการรักษาระดับแรงดัน (V.R.) เมื่อจ่ายกระแสเต็ม
พิกัดแก่โหลด 125 A ที่แรงดันไฟฟ้า 380 V
วิธีทา I 125 A L

0.9 5 0.03 0.13

Vp VL 380V

24
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.6 หม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฎิบัติ

25
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.6 หม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฎิบัติ
ประสิทธิภาพของหม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer Efficiency)
• ประสิทธิภาพของหม้อแปลง (Transformer Efficiency,  ) จะวัดจำกกำลังเอำท์พุทที่ได้หำรด้วยกำลัง
อินพุท ซึ่งในทำงปฏิบัติ ค่ำกำลังเอำท์พุทจะมีค่ำน้อยกว่ำกำลังอินพุทเสมอ เนื่องจำก ในหม้อแปลงมีกำลังสูญเสีย
เกิดขึ้น (Power losses) จะได้ว่ำ
Pout
Efficiency,  =
Pin
 100% เมื่อ Pin = Pout + Plosses

และ Pin  Pout เสมอ


โดยที่ 𝑃𝑜𝑢𝑡 = 𝑉𝑆 𝐼𝑆 cos 𝜃 และ cos  = power factor (P.F.) โจทย์กำหนดให้เสมอ
Plosses = PCu + Pcore
Pcu สำมำรถหำได้จำกสมกำร I P 2 RP + I S 2 RS
Pcore โจทย์จะกำหนดให้เนื่องจำกคำนวณยำก

26
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.6 หม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฎิบัติ
ประสิทธิภาพของหม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer Efficiency)
• การสูญเสียในหม้อแปลง (Transformer losses) แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่
1. การสูญเสียในขดลวด (Copper losses, Pcu) จะเกิดทั้งทางด้านขดลวดปฐมภูมิและขดลวดด้านทุติยภูมิ เนื่องมาจาก
ค่าความต้านทานของขดลวด เมื่อมีกระแสไหลผ่านขดลวด ซึ่งการสูญเสียดังกล่าวสามารถคานวณได้จากสมการ
PCu = I p 2 R p + I S 2 RS

2. การสูญเสียที่แกนเหล็ก (Core losses, Pcore) สามารถแบ่งออก เป็น 2 ส่วนได้แก่


2.1 กาลังสูญเสียจากกระแสไหลวน (Eddy Current Losses)
2.2 กาลังสูญเสียฮีสเทอรีซีส (Hysteresis Losses)
Copper losses
𝑅𝑝 𝑋𝑝 𝑁𝑝 𝑋𝑠 𝑅𝑠
𝑁𝑠

𝐼𝑝 𝐼𝑠
Ic Im
𝑉𝑝 𝐸𝑝 𝐸𝑠 𝑉𝑠

Core losses

27
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.6 หม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฎิบัติ
การสูญเสียในแกนเหล็ก (Core losses) จะสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 สาเหตุ
1. กาลังสูญเสียจากกระแสไหลวน (Eddy current losses)
Pe = k e  f 2  t 2  Bmax
2

k e เป็นค่าคงที่
Bmax เป็น ค่าความหนาแน่นของสนามแม่เหล็กสูงสุด
t เป็น ความหนาของแผ่นวัสดุแต่ละชั้น
• จากรูป มีขดลวดพันอยู่รอบแกนเหล็ก เมื่อทาการป้อนกระแสไฟฟ้าสลับผ่านขดลวดทิศทางดังรูป จะทาให้เกิดทิศทางของ
ฟลักซ์แม่เหล็ก (Flux) ที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาเคลือ่ นที่ทิศทางตาม กฎมือขวาของเฟรมมิ่ง ฟลักซ์แม่เหล็กก็จะเหนี่ยวนา
แกนเหล็กทาให้เกิดกระแสไหลวนในแกนเหล็กทิศทางดังรูป เรียกว่า กระแสไหลวน (Eddy current)
• กระแสไหลวนดังกล่าวจะทาให้เกิดความร้อนขึ้นภายในแกนเหล็ก
• การลดกาลังงานสูญเสีย เนื่องจากกระแสไหลวน โดยการลดขนาดของกระแสไหลวนที่เกิดในแกนเหล็ก โดยสร้างแกนเหล็ก
ด้วย แผ่นเหล็กซ้อนกันเป็นชั้นๆ (Lamination) โดยมีฉนวนกั้นระหว่างแผ่นทุกแผ่น ทาให้กระแสไหลวนถูกจากัดในแต่ละชั้น
ทาให้ช่วยลดการสูญเสียดังกล่าวได้ ดังพบในหม้อแปลงไฟฟ้าและเครื่องจักรกลไฟฟ้าไม่ว่าจะมอเตอร์หรือเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
• เทคนิคอื่นที่ลดกาลังงานสูญเสีย เนื่องจากกระแสไหลวน โดยการเติมซิลิกอน (silicon) ปริมาณเท่ากับ 3% - 4% กับเหล็ก
เพื่อเพิ่มความซึมซาบแม่เหล็ก (, Permittivity) ของแผ่นวัสดุแม่เหล็ก เราเรียก เหล็กผสมซิลิกอน ว่า silicon steel

28
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.6 หม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฎิบัติ
2. กาลังสูญเสียฮีสเทอริสิส (Hysteresis losses)
• เป็นค่ากาลังสูญเสียที่เกิดจากโมเลกุล (ไดโพลแม่เหล็ก) ในแกนเหล็กต้านการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กเนื่องจาก
การป้อนไฟฟ้ากระแสสลับทาให้เกิดความร้อนขึ้น การสูญเสียดังกล่าว เรียกว่า การสูญเสียฮิสเทอริซิส

ไดโพลแม่เหล็ก B

(ก) วัสดุไม่เป็นแม่เหล็ก
NI
H = และ B = H
l
Ph  Area of loop =   V  f  Bmax n

Sheet Steel ค่า  = 500


(ข) วัสดุมีความเป็นแม่เหล็ก Cast Iron ค่า  = 2,700 – 4,000
เมื่อ  เป็น สัมประสิทธิ์ของ Steinmetz ขึ้นอยู่กับชนิดของแกนเหล็ก มีหน่วย J/m3
3
V เป็น ปริมาตรของแกนเหล็ก มีหน่วย m
n เป็น เลขยกกาลัง Steinmetz exponent ซึ่งปกติกาหนดให้เท่ากับ 1.6
Bmax เป็น ค่าความหนาแน่นของฟลักซ์แม่เหล็กสูงสุด ค่าบอกถึงขนาดของวงฮิสเทอริซีส

29
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.6 หม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฎิบัติ
ตัวอย่างที่ 12
จงหา ประสิทธิภาพของหม้อแปลง ที่มีขนาดพิกัดกาลัง 15 kVA ที่จ่ายโหลดเต็มพิกัด (Full load) ที่เพาเวอร์แฟคเตอร์ (P.F.)
เท่ากับ 1.0 (Unity power factor)
กาหนดให้ การสูญเสียในแกนเหล็ก 200 W และการสูญเสียในขดลวดที่โหลดเต็มพิกัด (Pcu) 300 W
วิธีทา

30
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.6 หม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฎิบัติ
ตัวอย่างที่ 13
หม้อแปลงขนาด 400 kVA มีความต้านทานขดลวดปฐมภูมิและทุติยภูมิ 0.5  และ 0.001  ตามลาดับ และมีการสูญเสีย
ในแกน 2.5 kW และแรงดันที่ขดลวดปฐมภูมิและทุติยภูมิ 5 kV และ 320 V ตามลาดับ ถ้า ตัวประกอบกาลัง (Power factor)
ที่โหลด 0.85 จงหา ประสิทธิภาพของหม้อแปลง ขณะจ่ายโหลดเต็มพิกัด
วิธีทา

31
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.6 หม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฎิบัติ
การบ้าน
1. จากรูป จงหา
(ก) อัตราส่วนจานวนรอบของหม้อแปลง ที่ทาให้แหล่งจ่าย
(เครื่องขยายเสียง) สามารถส่งกาลังไฟฟ้าสูงสุดไปยัง
โหลดลาโพง
(ข) หากาลังไฟฟ้าสูงสุดที่ลาโพงได้รับ

2. หม้อแปลงหนึ่งเฟสขนาด 500 kVA แปลงแรงดันจาก 13.8/4.16 kV ความต้านทานของขดลวดด้านปฐมภูมิและทุติยภูมิเท่ากับ


0.8 และ 0.04  ตามลาดับ การสูญเสียในแกนเหล็ก (Core losses) เท่ากับ 3000 W และกาหนดให้ power factor = 1.0
จงหา กาลังสูญเสียในขดลวด (Copper losses) และประสิทธิภาพของหม้อแปลง ขณะจ่ายโหลดเต็มพิกัด

3. หม้อแปลงเฟสเดียวขนาดพิกัด 40 kVA 6,600/250 V มีความต้านทานและค่ารีแอคแตนซ์ด้านปฐมภูมิ 10Ω และ 35Ω


ตามลาดับ มีค่าความต้านทานและค่ารีแอคแตนซ์ด้านทุติยภูมิ 0.02Ω และ 0.035Ω
จงหา ค่าการรักษาระดับแรงดัน (V.R.) เมื่อจ่ายกระแสเต็มพิกัดที่ค่า power factor = 1.0

32
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร
4.6 หม้อแปลงไฟฟ้าในทางปฎิบัติ
แบบฝึกหัดเสริม

33
จัดทาโดย ผศ.ดร.สราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร

You might also like