You are on page 1of 11

1-1 1-2

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

อุปกรณที่ทําหนาที่แปลงผันระหวางพลังงาน 2 รูปแบบดังกลาว แตจะทําหนาที่เปลี่ยนระดับแรงดันไฟฟากระแสสลับจากระดับหนึ่ง


เรื่องที่ 1
ไปเปนอีกระดับหนึ่ง โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนําทางแมเหล็กไฟฟา
วงจรแมเหล็กและวัสดุแมเหล็ก
เครื่องจักรกลไฟฟาเปนอุปกรณ (devices) ที่ทําหนาที่แปลงพลังงานระหวางพลังงานกลกับพลังงานไฟฟา ไดแก
1. อุปกรณที่ทําหนาที่แปลงพลังงานกลเปนพลังงานไฟฟาจะเรียกวาเครื่องกําเนิดไฟฟา (generators)
2. อุปกรณที่ทําหนาที่แปลงพลังงานไฟฟาไปเปนพลังงานกลจะเรียกวามอเตอร (motors)

โดยปกติเครื่องจักรกลไฟฟาใดๆ สามารถทํางานเปนเครื่องกําเนิดไฟฟาหรือมอเตอรก็ได ขึ้นอยูกับพลังงานอินพุทที่จายใหกับอุปกรณ


นั้น ถาปอนกําลังงานกลใหก็จะเปนเครื่องกําเนิดไฟฟา ถาปอนกําลังงานไฟฟาอุปกรณนั้นๆ ก็จะทํางานเปนมอเตอร อยางไรก็ตาม
อุปกรณบางชนิดสามารถทํางานไดดีและมีประสิทธิภาพสูงเมื่อทํางานเปนมอเตอรไฟฟา บางชนิดอาจจะทํางานไดดีกวาเมื่อทํางาน
เปนเครื่องกําเนิดไฟฟา ทําใหบอยครั้งที่จะพบเห็นเครื่องจักรกลไฟฟาใดๆ ถูกนํามาใชงานเพียงหนาที่เดียวเทานั้น สําหรับวิชานี้ เครื่องจักรกลไฟฟาและหมอแปลงไฟฟาอาศัยหลักการทางแมเหล็กไฟฟาชวยในการแปลงผันกําลังงานจากรูปหนึ่งไปสูอีกรูปหนึ่ง
429301 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 กลาวถึงเฉพาะเครื่องจักรกลไฟฟาที่เกี่ยวพันธกับไฟฟากระแสตรง (เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง การสรางอุปกรณที่มีคุณสมบัติเชนนี้ จําเปนตองสรางเงื่อนไขที่เหมาะสมเพื่อใหการไหลของเสนแรงแมเหล็กมีความคลองตัวและ
และมอเตอรไฟฟากระแสตรง) และหมอแปลงกําลังไฟฟา (power transformer) เทานั้น โดยที่หมอแปลงไฟฟานั้น ไมใช เปนไปในทิศทางที่ตองการ ทําใหวัสดุที่ใชสรางอุปกรณระเภทนี้ไดแกวัสดุแมเหล็กที่เรียกวา ferro-magnetic materials
ดังนั้น กอนที่จะกลาวถึงเครื่องจักรกลไฟฟาและหมอแปลงไฟฟาตองศึกษาคุณสมบัติของวัสดุแมเหล็กและการวิเคราะหวงจรแมเหล็ก
เสียกอน ดังตอไปนี้

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

1-3 1-4

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

1.1 กฎพื้นฐานทางแมเหล็กไฟฟาสําหรับการศึกษาเครื่องจักรกลไฟฟาและหมอแปลง ซึ่งสมการดังกลาวสามารถสรุปเปนหลักการพื้นฐานสําหรับศึกษาพฤติกรรมของเครื่องจักรกลไฟฟาและหมอแปลงไฟฟาไดดังนี้


สนามแมเหล็กคือปจจัยที่สําคัญในการแปลงผันกําลังงานระหวางกําลังงานกลกับกําลังงานไฟฟาไมวาจะเปนเครื่องกําเนิดไฟฟา 1. Ampere’s circuital law: เสนลวดตัวนําที่มีกระแสไฟฟาไหลผานจะเกิดการสรางสนามแมเหล็กขึ้นรอบๆ
มอเตอรไฟฟาหรือแมกระทั่งหมอแปลงไฟฟาก็ตาม ปรากฎการณนี้ เกิดขึ้นภายใตกฎพื้นฐานทางแมเหล็กไฟฟาที่รูจักกันดีในชื่อของ เสนลวดตัวนํานั้นๆ
สมการแม็กเวลล (Maxwell’s equations) จากสมการที่มีความซับซอนอยูในรูปของสมการเชิงอนุพันธยอยและอินติเกรชัน
ดังตอไปนี้

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
1-5 1-6

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

2. Faraday’s law: สนามแมเหล็กที่เปลี่ยนตามเวลา (time-varying magnetic field) จะเหนี่ยวนําใหเกิด 3. Lorentz Force Equation: เมื่อมีกระแสไฟฟาไหลผานเสนลวดที่วางอยูในสนามแมเหล็กจะทําใหเกิดแรงแรง
แรงเคลื่อนไฟฟาครอมขดลวดใดๆ ที่สนามแมเหล็กดังกลาวพาดผาน อาจจะเรียกวา transformer action กระทํากับเสนลวดนั้นๆ ตามสมการแรงลอเรนซ อาจจะเรียกวา motor action


emf = −
dt

v v v
F = Idl× B = − I B × dl

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

1-7 1-8

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

4. Faraday’s law: เสนลวดหรือขดลวดที่เคลื่อนที่ในบริเวณที่มีสนามแมเหล็กจะทําใหเกิดการสรางแรงเคลื่อนไฟฟา 1.2 วงจรแมเหล็กและวัสดุแมเหล็ก


ครอมเสนลวดหรือขดลวดนั้นๆ ตามกฎการเหนี่ยวนําของฟาราเดย อาจจะเรียกวา generator action ปญหาทางปฏิบัติในงานวิศวกรรมทางดานสนามแมเหล็กเกือบทุกรูปแบบเกี่ยวพันกับผลเฉลยของสมการแม็กเวลล จากชุดสมการ
ดังกลาวการหาผลเฉลยของสมการเหลานี้ทําไดยากหรือไมสามารถหาผลเฉลยแบบแมนตรงได ทําใหเกิดการพัฒนาวิธีการประมาณคา
dΦ ผลเฉลยดังกลาว สําหรับในชั้นนี้เปนการศึกษาเทคนิคการประมาณคาผลเฉลยของชุดสมการแม็กเวลดังกลาวรูปแบบหนึ่งที่เรียกวา
emf = −
dt permeance wave theory หรือการประมาณคาในรูปของวงจรแมเหล็ก magnetic circuit ดังตอไปนี้

คําถาม: จงอธิบายขอแตกตางของกฎพื้นฐานขอที่ 2 และ ขอที่ 4 ที่ใชกฎของฟาราเดย

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
1-9 1-10

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

กําหนดวัสดุแมเหล็กดังรูปโดยใหวัสดุแมเหล็กมีสภาพซึมซาบแมเหล็ก (permeability: µ) ที่มากกวา µ0 มากๆ (µ0 = จากกฎของแอมแปร จะพบวา


v
4π×10-7 H/m) จากขอสมมติดังกลาวทําใหเมื่อมีอํานาจแมเหล็กเกิดขึ้นการไหลของฟลักซแมเหล็กจะไหลวนเปนวงรอบปดอยู ℑ = Ni = ∫ H ⋅ dl = H c l c
ในแกนเหล็กเทานั้น โดยตัวสรางอํานาจแมเหล็กดังกลาวก็คือชุดขดลวดที่พันอยูบนแกนเหล็กที่ขาดานซายในรูปนั่นเอง จากกฎขอที่ c
1 ที่เรียกวา Ampere’s law เมื่อมีกระแสไหลผานเสนลวดตัวนําที่นํามาพันเปนขดลวดจะเกิดการสรางสนามแมเหล็กขึ้นในรูป เมื่อ
ของความเขมสนามแมเหล็ก H หรืออาจจะพิจารณาในรูปของ แรงเคลื่อนแมเหล็ก magnetomotive force (mmf: ℑ) Hc คือ คาเฉลี่ยของความเขมสนามแมเหล็กในแกนเหล็ก
โดยที่ ℑ = Ni เมื่อ N คือจํานวนรอบของขดลวด l c คือ คาความยาวเฉลี่ยของทางเดินฟลักซแมเหล็กในแกนเหล็ก

จากสมการดังกลาวจะไดวา
Bc φ
ℑ = Ni = H c l c = lc = lc
µ µ Ac
โดยที่ B = µ H และ Bc = φ Ac ซึ่งจะพบวา l c , µ และ Ac ตางก็เปนคาคงที่ขึ้นกับวัสดุแมเหล็กที่พิจารณา ซึ่ง
กําหนดใหเปนคาความตานทานแมเหล็กของแกนเหล็ก (reluctance: ℜ) นั่นคือ จะไดสมการการไหลของฟลักซแมเหล็กดังนี้
lc
ℑ = ℜφ โดยที่ ℜ=
µ Ac

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

1-11 1-12

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

l
จะเห็นไดวาลักษณะของวงจรแมเหล็กนี้คลายกับวงจรความตานทานตามกฎของโอหม (R = σ A ) ความตานทานแมเหล็ก
เทียบเคียงไดกับความตานทานไฟฟานั่นเอง การคํานวณความตานทานแมเหล็กในกรณีที่มีการตอแบบขนานหรือแบบอนุกรมใช
หลักการเดียวกันกับความตานทานไฟฟาทุกประการ

ในกรณีที่พื้นที่หนาตัดของแกนเหล็กไมเทากันจะสงผลใหคาความตานทานแมเหล็กเปลี่ยนคาไป ทําใหตองพิจารณาแกนเหล็กแยก
เปนสวนๆ ตามขนาดของพื้นที่หนาตัดนั้นๆ ดังรูป ในหลายๆ กรณี แกนเหล็กอาจจะถูกตัดออกใหเกิดชองวางอากาศ (air-gap) ทําใหความตานทานแมเหล็กเปลี่ยนแปลงไป ดังนี้

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
1-13 1-14

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

ผลของชองวางอากาศทําใหเกิดการกระจายตัวของฟลักซแมเหล็กไมสม่ําเสมอบริเวณรอยตอระหวางแกนเหล็กและชองอากาศ สงผล
ใหความตานทานแมเหล็กมีคาลดลง นั่นคือ ผลจากปรากฏการณนี้ที่เรียกวา fringing effect ทําใหพื้นที่หนาตัดที่ฟลักซ
แมเหล็กไหลผานบริเวณชองอากาศมีคาเพิ่มขึ้น การคํานวณผลของชองวางอากาศนี้พิจารณาไดจากตัวอยางที่ 1.2 ปญหาเพียง
ประการเดียวก็คือคาความซึมซาบแมเหล็กของวัสดุ ปกติแลวความสัมพันธนี้มีความไมเชิงเสนตามธรรมชาติ แตถาความเขมของ
สนามแมเหล็กไมสูงมากพอจะทําใหฟลักซแมเหล็กไมเกิดการอิ่มตัว (saturated) ทําใหอาจจะพิจารณาคา µ ใหเปนเชิงเสนได
แตอยางไรก็ตาม สวนใหญแลวการทํางานของวัสดุแมเหล็กมักจะอยูในชวงอิ่มตัวเสมอ คุณสมบัตินี้สามารถนําเสนอไดดวยเสนโคง
อิ่มตัวของวัสดุแมเหล็กซึ่งมีหลายชื่อไดแก BH curve, magnetization curve หรือ saturation curve เปนตน
เสนโคงเหลานี้มีลักษณะเฉพาะสําหรับวัสดุชนิดใดๆ ในการคํานวณคา µ นั้น ตองอาศัยการอานคาจากเสนโคงเหลานี้จากคา H หรือ
คา B ที่ทราบคา ณ จุดทํางานที่สนใจ ปกติแลวคา H จะคํานวณไดงายกวาเนื่องจากแปรผันตรงกับกระแสในกรณีที่การกระจายของ
ความเขมสนามแมเหล็ก H มีความสม่ําเสมอ (uniform) ดังนั้นในการคํานวณเกี่ยวกับวงจรแมเหล็กนี้ตองใชขอมูลจากเสนโคง
ตามที่ไดกลาวมา กราฟตอไปนี้แสดงเสนโคงอิ่มตัวของวัสดุแมเหล็กบางชนิด

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

1-15 1-16

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
1-17 1-18

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

ตัวอยางที่ 1.1 วงจรแมเหล็กดังรูป ถากําหนดให µ = µrµ0 โดยที่ µr = 50,000 สําหรับแกนเหล็ก จงคํานวณ ก) คารีลัก วิธีทํา ก) คํานวณคารีลักแตนซของแกนเหล็กไดดังนี้
แตนซของแกนเหล็ก ℜc ข) คาแรงเคลื่อนแมเหล็ก ℑ ค) ฟลักซแมเหล็กที่ถูกสรางขึ้น φ และ ง) ความหนาแนนฟลักซแมเหล็ก B lc 20 ×10-2 m
ℜc = = = 31830.99 A ⋅ turn/Wb
µ A c 50000 × 4π ×10−7 H/m ×1.0 ×10-4 m 2
ข) แรงเคลื่อนแมเหล็ก
ℑ = Ni = 100 turn × 0.4 A = 40 A ⋅ turn
ค) ฟลักซแมเหล็ก
ℑ 40 A ⋅ turn
ℑ = φℜc ⇒ φ= = = 1.26 mWb
ℜc 31830.99 A ⋅ turn/Wb
ง) ความหนาแนนฟลักซแมเหล็ก
φ 1.26 ×10-3 Wb
Β= = = 12.6 T (Tesla)
Αc 1.0 ×10−4 m 2

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

1-19 1-20

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

ตัวอยางที่ 2 วงจรแมเหล็กดังรูป ถาสภาพซึมซาบแมเหล็กสัมพัทธของแกนเหล็กมีคาเปน 4000 ผลของการกระจายตัวของฟลักซ ก) รีลักแตนซรวมของวงจรแมเหล็กนี้ คํานวณไดจากผลรวมของรีลักแตนซในสวนของแกนเหล็กและในสวนของชอง


แมเหล็กผานชองอากาศทําใหเกิด fringing effect เพิ่มพื้นที่หนาตัดที่ฟลักซไหลผานในบริเวณที่เปนชองอากาศทั้งสิ้น 5% จง อากาศ
คํานวณ ก) รีลักแตนซรวมของวงจรแมเหล็ก ข) กระแสไฟฟาที่ตองใชในการสรางความหนาแนนฟลักซแมเหล็ก B = 0.5 T ใน lc 40 ×10 -2 m
ℜc = = = 66314.6 A ⋅ turn/Wb
ชองอากาศ µΑc 4000 × 4π ×10 −7 H/m ×12 ×10 -4 m 2
l ag 0.05×10-2 m
ℜag = = −7
= 315783.6 A ⋅ turn/Wb
µ0 Αag 4π ×10 H/m ×1.05×12 ×10-4 m 2
ℜT = ℜc + ℜag = 66314.6 + 315783.6 A ⋅ turn/Wb = 382098.2 A ⋅ turn/Wb ##

ข) กระแสไฟฟาที่ตองใชในการสรางความหนาแนนฟลักซแมเหล็ก 0.5 T ในชองอากาศ


φ = Βag Αag = 0.5 T ×1.05×12 ×10−4 m 2 = 6.3×10-4 Wb = 0.63 mWb
-4
φℜT 6.3×10 Wb × 382098.2 A ⋅ turn/Wb
ℑ = Ni = φℜT ⇒ i= =
N 400 turn
วิธีทํา = 0.602 A

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
1-21 1-22

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

ตัวอยางที่ 3 วงจรแมเหล็กดังรูป กําหนดสภาพซึมซาบแมเหล็กสัมพัทธของแกนเหล็กมีคาเปน 1200 แกนเหล็กมีความลึก 5 cm


ถาผลของ fringing effect บริเวณชองอากาศทําใหพื้นที่หนาตัดเพิ่มขึ้น 8% จงคํานวณฟลักซแมเหล็กที่ไหล และความ
หนาแนนฟลักซแมเหล็กของขาทั้ง 3 ขางของวงจรแมเหล็กในรูป

รูปแสดงความยาวเฉลี่ยของทางเดินฟลักซแมเหล็กในแตละสวน สําหรับพื้นที่หนาตัดก็มีคาตางกันดวย จากรูปไดแยกพื้นที่หนาตัด


ตามสีของเสน
สีน้ําเงิน: Ablue = 9 cm × 5 cm = 45 cm2 = 4.5×10-3 m2 (ℜc1, ℜc3)
2 -3 2
สีแดง: Ared = 15 cm × 5 cm = 75 cm = 7.5×10 m (ℜc2)
สีเขียว: Agreen = 1.08Ablue = 1.08×4.5×10-3 m2 = 4.86×10-3 m2 (ℜag)
โดยที่แรงเคลื่อนแมเหล็กมีคาเปน ℑ = 200 turn × 2 A = 400 A⋅turn นั่นคือ
นั่นคือ

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

1-23 1-24

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

ใชการคํานวณเชนเดียวกับวงจรความตานทาน
ℜ2 = ℜc2 + ℜag = 30062.6 + 65495.9 = 95558.5 A⋅turn/Wb
ℜ 2 ℜ c3 95558.5 ×159154.9
= = 59708.7 A ⋅ turn/Wb
ℜ23 = ℜ2//ℜc3 = ℜ + ℜ 95558.5 + 159154.9
2 c3
จะไดวา
ℑ 400 A ⋅ turn
φ1 = = = 1.828 ×10 -3 Wb = 1.828 mWb
ℜ c1 + ℜ 23 159154.9 + 59708.7 A ⋅ turn/Wb
คํานวณรีลักแตนซในแตละสวนจะได ⎛ ℜ c3 ⎞ 159154 .9
φ2 = ⎜⎜ ⎟φ1 = ⎛⎜ ⎞×1.828 mWb = 1.142 mWb

108×10-2 m ⎟
ℜc1 = ℜc3 = c1 =
l
= 159154.9 A ⋅ turn/Wb ⎝ ℜc3 + ℜ 2 ⎠ ⎝ 159154 .9 + 95558 .5 ⎠
µΑc1 1200 × 4π ×10−7 H/m × 4.5×10-3 m 2 ⎛ ℜ2 ⎞ 95558 .5
φ3 = ⎜⎜ ⎟φ1 = ⎛⎜ ⎞×1.828 mWb = 0.686 mWb

l c2 34 ×10-2 m ℜ + ℜ ⎟ ⎝ 159154 . 9 + 95558 . 5 ⎠
ℜc2 = = = 30062.6 A ⋅ turn/Wb ⎝ c3 2⎠
µΑc2 1200 × 4π ×10−7 H/m × 7.5×10-3 m 2 φ2 + φ3 = 1.142 + 0.686 = 1.828 mWb = φ1
l ag 0.04 ×10-2 m
ℜag = = −7
= 65495.9 A ⋅ turn/Wb
µ 0 Αag 4π ×10 H/m × 4.86 ×10-3 m 2

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
1-25 1-26

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

1.3 ฟลักซเชื่อมโยง (flux linkage) ความเหนี่ยวนํา (inductance) และพลังงาน (energy) ถากําหนดรูปรางของแกนเหล็กดังตอไปนี้ จะไดคาความเหนี่ยวนําตัวเองเปน
เมื่อสนามแมเหล็กเปลี่ยนคาตามเวลาจะทําใหเกิดการเหนี่ยวนําสนามไฟฟาขึ้นตามกฎฟาราเดย ถาขดลวดที่พิจารณามีจํานวนรอบ
dφ dλ
ทั้งสิ้น N รอบ จะไดวา eind = N dt = dt เมื่อ φ คือ ฟลักซแมเหล็กที่ไหลในแกนเหล็ก แตเนื่องจากขดลวดมีทั้งสิ้น N
ขดทําใหเกิดการเหนี่ยวนําสนามไฟฟาในรูปแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําหรือ emf ขึ้นทั้งสิ้น N ครั้ง และเรียก λ = Nφ วาฟลักซ
เชื่อมโยงของขดลวดนั้นๆ

สําหรับวงจรแมเหล็กที่ประกอบไปดวยแกนเหล็กที่มีคาสภาพซึมซาบแมเหล็กคงที่ อาจจะมีชองอากาศหรือไมก็ตาม ความสัมพันธ


ระหวางฟลักซเชื่อมโยงกับกระแสไฟฟาจะเปนเชิงเสนเรียกวาคาความเหนี่ยวนําตัวเอง (self-inductance) ของขดลวดดังนี้
λ λ Nφ ⎛ N ⎞ Ni N 2 µAc N 2
L= L= = =⎜ ⎟ = =
i i i ⎝ i ⎠ ℜT ℜT lc
เมื่อพิจารณาการกระตุนขดลวดที่พันบนแกนเหล็กใดๆ สามารถเขียนวงจรสมมูลในรูปของแรงเคลื่อนแมเหล็ก ฟลักซแมเหล็กและรี
ในกรณีที่มีขดลวดหลายขดพันธอยูบนแกนเหล็กชุดเดียวกันทําใหแรงเคลื่อนแมเหล็กเกิดจากขดลวด 2 ชุด ดังรูป จากความสัมพันธ
ลักแตนซ
เชิงเสนระหวางกระแสกับฟลักซเชื่อมโยง ดังนั้น อาจจะพิจารณาระบบการกระตุนขดลวดทั้ง 2 ชุด ที่พันบนแกนเหล็กเดียวกันในรูป
λ Nφ ⎛ N ⎞ Ni N 2 ของวงจร two-port ได
L= = =⎜ ⎟ =
i i ⎝ i ⎠ ℜT ℜT

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

1-27 1-28

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

ในทํานองเดียวกันสําหรับขดลวดขดที่ 2 จะได
N 2 N1 N2
λ 2 = N 2φ = i1 + 2 i2 = L21i1 + L22i2
ℜT ℜT
จะพบวา L12 = L21 เรียกวา ความเหนี่ยวนํารวมระหวางขดลวด (mutual inductance)

สําหรับพลังงานที่สะสมอยูในรูปของสนามแมเหล็กรอบๆ ขดลวดคํานวณไดจาก
λ
W = ∫ pdt = ∫ iedt = ∫ i

dt
λ 1 2
dt = ∫ dλ = ∫ λdλ =
L Lλ
1 2
λ − λ2
2L 2 1
( )
จากการคํานวณฟลักซแมเหล็กในแกนเหล็กจะไดวา 1
ℑ1 + ℑ 2 N 1i1 + N 2 i2 (N 1i1 + N 2 i2 ) การคํานวณพลังงานสะสมในรูปของสนามแมเหล็กที่คาฟลักซเชื่อมโยง λ ใดๆ ทําไดโดยกําหนดให λ1 = 0 และ λ2 = λ จะได
φ= = =
ℜT ℜT ⎛ lc l ag ⎞ วา
⎜ + ⎟
⎜ µΑc µ Aag ⎟ 1 1
⎝ 0 ⎠ W = λ2 = Li 2
เขียนฟลักซเชื่อมโยงของขดลวดชุดที่ 1 จะได 2L 2
N12 N N
λ 1 = N 1φ = i + 1 2 i =L i +L i
ℜ T 1 ℜ T 2 11 1 12 2

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
1-29 1-30

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

ตัวอยางที่ 1.4 จากวงจรแมเหล็กดังรูป ถาจํานวนรอบของขดลวดทั้ง 2 ชุด มีคาเทากัน N1 = N2 = 100 turns และมีขนาด


ของแกนเหล็กดังนี้
พื้นที่หนาตัดของแกนในสวน A และ B มีคาเปน 7 cm2
พื้นที่หนาตัดของแกนในสวน C มีคาเปน 14 cm2
ความยาวเฉลี่ยของเสนทางไหลของฟลักซแมเหล็กในแกนสวน A มีคาเปน 17 cm
ความยาวเฉลี่ยของเสนทางไหลของฟลักซแมเหล็กในแกนสวน B มีคาเปน 17 cm
ความยาวเฉลี่ยของเสนทางไหลของฟลักซแมเหล็กในแกนสวน C มีคาเปน 5.5 cm
ความยาวของชองวางอากาศมีคาเปน 0.4 cm
กําหนดเสนโคง magnetization ของแกนเหล็กดังกราฟ
จงหา ตองการ B = 1.2 T ที่ชองอากาศ นั่นคือ
ก) กระแสไฟฟาที่ใชสรางความหนาแนนฟลักซแมเหล็กในชองวางอากาศขนาด 1.2 T
φC = BagAag = 1.2×14 cm2 = 1.68×10-3 Wb
ข) พลังงานสะสมในรูปสนามแมเหล็กในชองวางอากาศ ดังนั้น B ในแกนเหล็กสวน C มีคาเปน BC = 1.2 T = Bag
ในแกนเหล็กสวน A และ B คาฟลักซแมเหล็กมีคาเปน
ครึ่งหนึ่งของฟลักซในสวน C นั่นคือ
BA = 0.84 mWb/7 cm2 = 1.2 T

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

1-31 1-32

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

จากเสนโคงคํานวณคาความซึมซาบแมเหล็กของแกนเหล็กไดดังนี้ คาแรงเคลื่อนแมเหล็ก ℑC ที่ครอมระหวาง ℜc + ℜag มีคาเปน ℑC = φC(ℜc + ℜag)


B 1.2 T ℑC = 1.68×10-3 Wb(5.24 + 22736.4 A⋅turn/Wb) = 38.206 A⋅turn
µ= = = 0.075 H/m
H 16 A ⋅ turn/m คาแรงเคลื่อนแมเหล็ก ℑ1 ที่ครอมขดลวดชุดที่ 1 มีคาเปน ℑ1= ℑC + φAℜA
การคํานวณโดยใชขอมูลเสนโคงนี้ คา µ ของแกนเหลกในแตละสวนไมจําเปนที่จะตองมีคาเทากัน ขึ้นกับคา B ในแตละสวน ℑ1 = 38.206 + 0.84×32.38 = 65.405 A⋅turn = N1i1 = 100i1
i1 = 6.541 A
อันเนื่องมาจากความไมเปนเชิงเสนของแกนเหล็กนั่นเอง แตในตัวอยางนี้ การกําหนดคาพื้นที่หนาตัดและการไหลของฟลักซแมเหล็ก
ในทํานองเดียวกัน
ที่เกิดจากแรงเคลื่อนแมเหล็กจากขดลวดทั้ง 2 บังเอิญสงผลใหคา µ ของแกนในสวน A, B และ C มีคาเทากันพอดี
คาแรงเคลื่อนแมเหล็ก ℑ2 ที่ครอมขดลวดชุดที่ 2 มีคาเปน ℑ2= ℑC + φBℜB
คํานวณคารีลักแตนซไดดังนี้
ℑ2 = 38.206 + 0.84×32.38 = 65.405 A⋅turn = N2i2 = 100i2
lA 17 ×10 -2 m i2 = 6.541 A
ℜA = = = 32.38 A ⋅ turn/Wb = ℜ B
µ A AA 0.075 H/m × 7 ×10 − 2 m 2
พลังงานสะสมในรูปสนามแมเหล็กในชองวางอากาศ
lC 5.5 ×10 -2 m
ℜC = = = 5.24 A ⋅ turn/Wb dλ l ag Aag
Wag = ∫ vidt = − ∫ i dt = − ∫ idλ = − ∫ Nidφ = − ∫ Hl ag Aag dB = −
µ0 ∫
µ C AC 0.075 H/m ×14 ×10 −2 m 2 ΒdΒ
dt
l ag 0.4 ×10 -2 m
0.4 × 10-2 m × 14 × 10-2 m 2 × (1.2 T )2
2
ℜ ag = = −7
= 22736.4 A ⋅ turn/Wb l ag Aag Bag
µ 0 Aag 4π ×10 H/m ×14 ×10 −2 m 2 =− =− = −320.86 J
2µ0 2 × 4π × 10−7 H/m

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
1-33 1-34

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

ตัวอยางที่ 1.5 จงคํานวณคารีลักแตนซของแกนเหล็ก รีลักแตนซของชองอากาศ ฟลักซเชื่อมโยงของขดลวด ความเหนี่ยวนําของ ℑ = Ni = 83 turn × 1.5 A = 124.5 A⋅turn
ขดลวด ถากําหนดให พื้นที่หนาตัดของแกนเหล็กมีคาเปน 18 cm2 ความยาวเฉลี่ยของทางเดินฟลักซแมเหล็กในแกนเหล็กเปน ℑ 124.5 A ⋅ turn
φ= = = 12.2 mWb
60 cm ความยาวของชองอากาศ 2.3 mm ขดลวดที่ใชมีจํานวน 83 รอบ สภาพซึมซาบแมเหล็กของแกนเหล็กกําหนดใหเปน ℜ ag 10168.2 A ⋅ turn/Wb
µ = ∞ และปอนกระแสไฟฟาขนาด 1.5 A ใหกับขดลวด คํานวณฟลักซเชื่อมโยง
λ = Nφ = 83 turn × 12.2 mWb = 1.013 Wb
คํานวณความเหนี่ยวนําของขดลวด

L=
N2
=
(83 turn )2 = 0.678 H
ℜ ag 10168.2 A ⋅ turn/Wb

วิธีทํา โจทยกําหนดให µ = ∞ นั่นคือ คารีลักแตนซของแกนเหล็กมีคาเปน ℜC = 0


l ag 2.3 × 10 −3 m
ℜ ag = = = 10168.2 A ⋅ turn/Wb
µ 0 Aag 4π × 10 H/m × 18 × 10 − 2 m 2
− 7

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

1-35 1-36

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

1.4 การสูญเสียทางแมเหล็ก (magnetic losses)


กําลังงานสูญเสียมีความสําคัญเปนอยางมากในการศึกษาเครื่องจักรกลไฟฟา กําลังงานสูญเสียในเครื่องจักรกลไฟฟาแบงไดเปน 3
สวนหลัก ๆ ไดแก กําลังงานสูญเสียที่ขดลวด (copper losses) กําลังงานสูญเสียทางกล (mechanical losses) และ
กําลังงานสูญเสียทางแมเหล็ก (magnetic losses) ในสวนของการสูญเสียทางแมเหล็กนี้ในการศึกษาเครื่องจักรกลไฟฟาจะ
เรียกวาการสูญเสียในแกนเหล็ก (iron losses หรือ core losses) ซึ่งประกอบดวย eddy-current loss และ
hysteresis loss ดังรายละเอียดตอไปนี้
• eddy-current loss
ในกรณีของขดลวดที่พันอยูบนแกนเหล็ก เมื่อมีสนามแมเหล็กที่เปลี่ยนตามเวลาพาดผานจะทําใหเกิดแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา
(emf) ครอมขดลวดขึ้น และในขณะเดียวกันสนามแมเหล็กดังกลาวก็จะเหนี่ยวนําแรงเคลื่อนไฟฟาครอมแกนเหล็กดวยเชนกัน และ กําลังงานสูญเสียนี้อาจจะประมาณไดจากสมการ
แกนเหล็กก็ถือเปนตัวนําไฟฟาที่ดีทําใหเกิดกระแสไหลในแกนเหล็กอันเนื่องมาจาก emf ที่ถูกเหนี่ยวนําขึ้น กระแสเหนี่ยวนํานี้จะ Peddy = k e f 2 δ 2 Bm2 V
เกิดขึ้นในลักษณะหมุนวนในแกนเหล็กลอมรอบสนามแมเหล็กที่เหนี่ยวนํามันขึ้นมา กระแสหมุนวนนี้เรียกวา eddy current ดัง Peddy คือ eddy-current losses (W)
แสดงในรูป กําลังงานสูญเสียในรูปของกระแสหมุนวนนี้ทําใหลดลงไดโดยการลดขนาดของกระแสหมุนวนที่ถูกเหนี่ยวนําขึ้น โดย ke คือ คาคงที่ขึ้นกับความนําไฟฟาของวัสดุแมเหล็ก
การสรางแกนเหล็กดวยแผนวัสดุแมเหล็กซอนกันเปนชั้นๆ (lamination) ทําใหกระแสหมุนวนที่เกิดขึ้นถูกจํากัดอยูในชั้นยอยๆ f คือ ความถี่ทํางาน (Hz)
นั้นๆ ชวยลดกําลังงานสูญเสียดังกลาวได δ คือ ความหนาของชั้นยอย (lamination thickness)
Bm คือ คายอดของคาความหนาแนนฟลักซแมเหล็ก, V คือ ปริมาตรของวัสดุแมเหล็ก

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
1-37 1-38

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

• hysteresis loss
เมื่อสนามแมเหล็กภายนอกที่กระทํากับวัสดุแมเหล็กเกิดการกับทิศทาง อาจจะเกิดการลดคาลงจนกลายเปน 0 วัสดุแมเหล็กจะ
ยังคงมีฟลักซแมเหล็กตกคาง (residual flux: φres) อยูภายใน เนื่องจากการจัดเรียงตัวกันของโมเลกุลของวัสดุแมเหล็ก
ดังกลาว ในมีความเปนระเบียบ และคงอํานาจแมเหล็กออนๆ เอาไวได ดังรูปที่แสดงการจัดเรียงโมเลกุลของวัสดุแมเหล็กกอนและ
หลังมีสนามแมเหล็กพาดผาน (รูปดานซายและรูปดานขวาตามลําดับ)

จากเสนโคงอิ่มตัวของวัสดุแมเหล็กหรือ BH curve จะพบวา วงรอบปดที่เกิดขึ้นจากการกลับทิศทางของสนามแมเหล็ก


เรียกวา วงรอบฮิสเทอรีซิส (hysteresis loop) พื้นที่ที่อยูภายในวงรอบฮิสเทอรีซิสนี้ก็คือกําลังงานที่สูญเสียในรูปของฮิสเทอรี
ซิสนั่นเอง ซึ่งวงรอบฮิสเทอรีซิสนี้จะเกิดขึ้นเมื่อจายไฟฟากระแสสลับเขาไปที่ขดลวด จะทําใหเกิดวงรอบปดนี้ขึ้นทุกๆ รอบการ
ฟลั ก ซ ต กค า งถื อ เป น กํ า ลั ง งานสู ญ เสี ย รู ป แบบหนึ่ ง แต ก็ มี ป ระโยชน เ ช น กั น เช น การสร า งแม เ หล็ ก ถาวรก็ อ าศั ย การป อ น ทํางาน โดยขนาดของวงรอบฮิสเทอรีซีสนี้จะขึ้นอยูกับความถี่ของไฟที่ปอนนั่นเอง ถาใชไฟฟากระแสสลับความถี่สูงจะทําใหเกิดการ
สนามแมเหล็กความเขมสูงใหกับวัสดุแมเหล็ก การสรางลําโพง การเดินเครื่องเครื่องจักรกลไฟฟาชนิดกระตุนตัวเองแบบขนาน เปน สูญเสียฮิสเทอรีซิสสูงกวาความถี่ต่ํา ดังรูปดานขวามือ กําลังงานสูญเสียนี้ประมาณไดจากสมการ (Steinmetz’s equation)
ตน ในหัวขอนี้ จะพิจารณาในรูปของกําลังงานสูญเสียกอนดังนี้ ตอไปนี้

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

1-39 1-40

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

Phys = k h fB mn V วิธีทํา แทนคาลงในสมการจะไดวา

เมื่อ Phys คือ กําลังงานสูญเสียฮิสเทอรีซิส 25 2 × 1.12 K e + 25 × 1.1n K h = 0.4 (1)


kh คือ คาคงที่ขึ้นกับความนําไฟฟาของวัสดุแมเหล็ก
2 2
25 × 1.5 K e + 25 × 1.5 K h = 0.8 n
(2)
n คือ เลขยกกําลังของ Steinmetz 60 2 × 1.12 K e + 60 × 1.1n K h = 1.1 (3)
ชุดสมการที่ไดเปนระบบสมการไมเชิงเสน ถาใหใชสมการที่ (1) และ (3) จะได
จากกําลังงานสูญเสียทั้ง 2 สวน จะไดกําลังงานสูญเสียทางแมเหล็กเปนดังนี้
756.25K e + 25 × 1.1n K h = 0.4 (1)
2
Pmag = Peddy + Phys = K e f Bm2 + K h fBmn 4356 K e + 60 × 1.1 K h = 1.1 n
(3)
คูณสมการที่ (3) ดวย 25/60 จะได
ตัวอยางที่ 1.6 จากการทดสอบวัสดุแมเหล็ก silicon steel ไดดังตารางตอไปนี้ จงคํานวณ magnetic losses, eddy-
1815 K e + 25 × 1.1n K h = 0.4583 (4)
current loss และ hysteresis loss เมื่อกําหนดเงื่อนไขการทํางานที่ความถี่ 50 Hz ความหนาแนนฟลักซแมเหล็ก
(4) – (1) จะได
1.2 T
Frequency (Hz) Flux density (T) Magnetic loss (W) 1058.75 K e = 0.0583 ⇒ ∴ K e = 5.506 × 10−5
25 1.1 0.4 แทนคา Ke ในชุดสมการจะได
25 1.5 0.8
60 1.1 1.1

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
1-41 1-42

429301 Electrical Machines I 429301 Electrical Machines I

n
25 × 1.1 K h = 0.3584 (5) Phys = 0.01156 fBm2.2606 = 0.01156 × 50 × 1.2 2.2606
n
25 × 1.5 K h = 0.7226 (6) = 0.8728 W
(6)/(5) จะได
n n Pmag = Peddy + Phys = 0.1982 + 0.8728 = 1.071 W
⎛ 1.5 ⎞ ⎛ 1.5 ⎞
⎜ ⎟ = 2.0162 ⇒ log ⎜ ⎟ = log 2.0162
⎝ 1.1 ⎠ ⎝ 1 .1 ⎠
0.1347n = 0.3045 ⇒ n = 2.2606
แทนคาจะได Kh = 0.01156
นั่นคือ
Pmag = Peddy + Phys = 5.506 × 10 −5 f 2 Bm2 + 0.01156 fBm2.2606
เมื่อทํางานที่ความถี่ 50 Hz, ความหนาแนนฟลักซแมเหล็ก 1.2 T จะไดวา
Peddy = 5.506 × 10 −5 f 2 Bm2 = 5.506 × 10 −5 × 50 2 × 1.2 2
= 0.1982 W

Lecture Notes in Electrical Power Engineering Lecture Notes in Electrical Power Engineering
อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อาจารย ดร.ธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ, สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

You might also like