You are on page 1of 26

ทาความรู ้จกั กับวงจรไฟฟ้า

บทที่ 1: ทำควำมรู้ จกั กับวงจรไฟฟ้ ำ


วัตถุประสงค์
เพื่อให้เข้าใจการทางานของวงจรไฟฟ้า สัญลักษณ์ และหน่วยต่าง ๆ
ทางไฟฟ้า เครื่ องมือและการวัดกระแสและแรงดันไฟฟ้า

Faculty of Engineering, Mahidol University 1


ทาความรู ้จกั กับวงจรไฟฟ้า

เนื้อหา
• นิยามของประจุไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า
• หน่วยวัดต่าง ๆ ทางไฟฟ้า
• นิยามของแรงดันไฟฟ้า, กาลังไฟฟ้า และพลังงานไฟฟ้า
• วงจรไฟฟ้าเชิงเส้น
• อุปกรณ์ไฟฟ้าแบบแอคตีฟและพาสซี ฟ
• เครื่ องมือวัดแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า

Faculty of Engineering, Mahidol University 2


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.1 นิยำมของประจุไฟฟ้ ำและกระแสไฟฟ้ ำ (1)


วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายประกอบด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างน้อย 3 ชนิดคือ
1) แหล่งจ่ายพลังงานหรื อแบตเตอรี่ หรื อถ่านไฟฉาย 2) สายไฟฟ้า และ 3) โหลดไฟฟ้า
ได้แก่หลอดไฟฟ้าหรื ออุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ซึ่งเราอาจแทนด้วยตัวต้านทาน
Bulb Switch
+
V Buld
-

(b) i
Batteries
-0.25 A

Switch Switch
btton + 0.25 A

3V 12-Ω R
Buld
-

(a) (c)

Fig. 1.1 วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 3


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.1 นิยำมของประจุไฟฟ้ ำและกระแสไฟฟ้ ำ (2)

• การไหลของกระแสไฟฟ้าคือการไหลของกาลังไฟฟ้าจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งในวงจร

• กระแสไฟฟ้าคืออัตราการไหลของประจุไฟฟ้าต่อเวลาที่ผา่ นจุดใดจุดหนึ่งใน
วงจรไฟฟ้า
• ปริ มาณของประจุไฟฟ้า q สามารถแสดงในรู ปของประจุไฟฟ้าบนตัวอิเล็คตรอน

• ประจุไฟฟ้าขนาด 1 คูลอมบ์มีค่าเท่ากับจานวนประจุไฟฟ้าบนอิเล็คตรอน 6.24 x 1018 ตัว

• ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้านั้นตรงข้ามกับทิศทางการไหลของกระแสอิเล็คตรอน

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 4


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.1 นิยำมของประจุไฟฟ้ ำและกระแสไฟฟ้ ำ (3)

⚫ เราสามารถแสดงความสัมพันธ์ของกระแสไฟฟ้าในรู ปของ
⚫ หน่วยของกระแสไฟฟ้ามีหน่วยเป็ นแอมแปร์ (A)
⚫ ประจุไฟฟ้าอาจหาค่าได้จาก

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 5


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.1 นิยำมของประจุไฟฟ้ ำและกระแสไฟฟ้ ำ (4)

ไฟฟ้ากระแสตรง

คลื่นรู ปไซน์
เอ๊กโพเนนเชียล

แรมป์ ด้วยความชัน M

Fig. 1.2 Various forms of currents


Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 6
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.2 Systems of Units (1)

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 7


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.2 Systems of Units (2)

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 8


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.3 แรงดันไฟฟ้ ำ

• แรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่ อมอุปกรณ์ไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าคืองานที่ใช้ในการเคลื่อนที่ประจุ
บวกจากขั้วลบไปยังขั้วบวกของอุปกรณ์ไฟฟ้านั้น

• ดังนั้นแรงดันไฟฟ้ามีสมการเป็ น

• หน่วยของแรงดันไฟฟ้าคือ (V).

Fig. 1.3 แรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่ อมขั้ว ab

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 9


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.4 กำลังไฟฟ้ ำและพลังงำนไฟฟ้ ำ (1)


⚫ กาลังไฟฟ้าคืออัตราเวลาของการจ่ายหรื อรับพลังงานไฟฟ้าของอุปกรณ์ไฟฟ้า
⚫ กาลังไฟฟ้า เมื่อ p คือกาลังไฟฟ้ามีหน่วยเป็ นวัตต์, w คือพลังงาน
ไฟฟ้ามีหน่วยเป็ นจูล และ t คือเวลามีหน่วยเป็ นวินาที
⚫ กาลังไฟฟ้าหาค่าได้จากแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าดังนี้

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 10


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.4 กำลังไฟฟ้ ำและพลังงำนไฟฟ้ ำ (2)

อุปกรณ์รับกาลังไฟฟ้า (power absorbed)

อุปกรณ์จ่ายกาลังไฟฟ้า(power supplied)

Fig. 1.4 ทิศทางการไหลของกาลังไฟฟ้า

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 11


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.4 กำลังไฟฟ้ ำและพลังงำนไฟฟ้ ำ (3)

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 12


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.4 กำลังไฟฟ้ ำและพลังงำนไฟฟ้ ำ (4)

⚫ พลังงานไฟฟ้าหาค่าได้จากกาลังไฟฟ้า
.

ทาการอินทีเกรตทั้งสองข้างของสมการ

.
Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 13
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.5 คุณสมบัตเิ ชิงเส้ นของวงจรไฟฟ้ ำ (1)

⚫ อุปกรณ์ไฟฟ้าเชิงเส้นจะต้องมีคุณสมบัติของการวางซ้อน (superposition)
และคุณสมบัติความเป็ นเนื้อเดียวกัน ( homogeneity) ได้

⚫ ตัวอย่างเช่น, สมมุติวา่ ตัวต้านทานที่ค่าคงที่ R และค่าแรงดันไฟฟ้าหาค่า


จาก v=iR.

⚫ คุณสมบัติการวางซ้อนคือถ้า v1=i1R และ v2=i2R , แล้ว v1+ v2=


(i1+i2)R.
Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 14
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.5 คุณสมบัตเิ ชิงเส้ นของวงจรไฟฟ้ ำ (2)


⚫ และคุณสมบัติความเป็ นเนื้อเดียวกันคือถ้า i2= ki1,แล้ว
v2= (ki1 )R = kv1.

Fig. 1.5 หลอดอินแคนเดสเซนต์ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดัน


และกระแสเป็ นเชิงเส้นในช่วง –im<i <im

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 15


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.6 อุปกรณ์ ไฟฟ้ ำแบบแอคตีฟและแบบพำสซีฟ (1)

Fig. 1.6
a) อุปกรณ์ไฟฟ้าแบบพาสซีฟ

b) อุปกรณ์ไฟฟ้าแบบแอคตีฟ

Energy absorbed Energy supplied

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 16


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.6 อุปกรณ์ ไฟฟ้ ำแบบแอคตีฟและแบบพำสซีฟ (2)

1.6.1 ตัวต้ ำนทำน (Resistors)


นักวิจยั ชื่อ Georg Simon Ohm ค้นพบว่ากระแสไฟฟ้าในวงจรที่ประกอบด้วย
แบตเตอรี่ และสายไฟฟ้าสามารถหาค่าได้จาก

เมื่อ A คือพื้นที่หน้าตัด, L คือความยาวและ


คือค่าความต้านทานจาเพาะของสายไฟฟ้า
Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 17
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.6 อุปกรณ์ ไฟฟ้ ำแบบแอคตีฟและแบบพำสซีฟ (3)


กาหนดให้ เป็ นค่าความต้านทานของอุปกรณ์ไฟฟ้ามีหน่วยเป็ นโอห์ม

1 Ohm ( ) = 1 V/A.

Figure 1.7 สัญลักษณ์ของตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทาน R

และกาหนดให้ค่าความนา (conductance) คือ G=1/R


( , mho).
Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 18
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.6 อุปกรณ์ ไฟฟ้ ำแบบแอคตีฟและแบบพำสซีฟ (4)

พิจารณาค่ากาลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้าในรู ปของความต้านทานดังนี้

และ

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 19


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.6 อุปกรณ์ ไฟฟ้ ำแบบแอคตีฟและแบบพำสซีฟ (5)

1.6.2 แหล่ งจ่ ำยพลังงำนอิสระ (Independent Sources)

⚫ แหล่งจ่ายพลังงานหมายถึงเครื่ องกาเนิดแรงดันไฟฟ้าหรื อกระแสไฟฟ้าที่จ่าย


พลังงานไฟฟ้าไปยังวงจรต่าง ๆ
⚫ แหล่งจ่ายพลังงานอิสระหมายถึงเครื่ องกาเนิดแรงดันไฟฟ้าหรื อกระแสไฟฟ้า
ที่ไม่ข้ ึนกับค่าแรงดันหรื อกระแสในส่ วนใด ๆ ของวงจร

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 20


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.6 อุปกรณ์ ไฟฟ้ ำแบบแอคตีฟและแบบพำสซีฟ (6)

⚫ แรงดันไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายอิสระแสดงด้วย v(t) และขนาดของ


กระแสในวงจรขึ้นอยูก่ บั อุปกรณ์ไฟฟ้าในวงจรนั้น

⚫ กระแสไฟฟ้าที่ไหลออกจากแหล่งจ่ายอิสระแสดงด้วย i(t) และ


ขนาดของแรงดันไฟฟ้าในวงจรขึ้นอยูก่ บั อุปกรณ์ไฟฟ้าในวงจรนั้น

Figure 1.8 สัญลักษณ์ของ


a) แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าอิสระ
b) แหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าอิสระ

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 21


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.6 อุปกรณ์ ไฟฟ้ ำแบบแอคตีฟและแบบพำสซีฟ (7)


1.6.3 แหล่ งจ่ ำยไม่ อสิ ระ (Dependent Sources)

a) b)
Figure 1.9 สัญลักษณ์ของ
a) แหล่งจ่ายแรงดันไม่อิสระซึ่งแรงดัน (vd) ถูกควบคุมด้วยกระแส ic ที่มีอตั ราขยายเท่ากับ r
b) แหล่งจ่ายแรงดันไม่อิสระซึ่ งแรงดัน (vd) ถูกควบคุมด้วยกระแส vc ที่มีอตั ราขยายเท่ากับ b

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 22


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.6 อุปกรณ์ ไฟฟ้ ำแบบแอคตีฟและแบบพำสซีฟ (8)

1.6.3 แหล่ งจ่ ำยไม่ อสิ ระ (Dependent Sources)


Figure 1.10 สัญลักษณ์ของ
a) แหล่งจ่ายกระแสไม่อิสระซึ่งกระแส (id)
ถูกควบคุมด้วยแรงดัน vc ที่มีอตั ราขยายเท่ากับ g
b) แหล่งกระแสไม่อิสระซึ่งกระแส (id) a)
ถูกควบคุมด้วยกระแส ic ที่มีอตั ราขยายเท่ากับ d

b)
Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 23
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.6 อุปกรณ์ ไฟฟ้ ำแบบแอคตีฟและแบบพำสซีฟ (9)

Figure 1.11 วงจรเทียบเคียงของทรานซิสเตอร์


Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 24
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.7 เครื่ องวัดแรงดันและกระแสไฟฟ้ ำ (1)

Figure 1.12 ตัวอย่างการวัดแรงดันและกระแสไฟฟ้า

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 25


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1.7 เครื่ องวัดแรงดันและกระแสไฟฟ้ ำ (2)


⚫ จากรู ป Fig. 1.12, เราสามารถวัดแรงดันไฟฟ้าได้โดยใช้สายวัดจี้ตกคร่ อม
อุปกรณ์ไฟฟ้า สาหรับการวัดกระแสไฟฟ้าเราใช้สายวัดต่ออนุกรมกับอุปกรณ์

⚫ ในทางอุดมคติ, เครื่ องวัดแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าในขณะทาการวัดจะไม่


กระทบกับการทางานของวงจรไฟฟ้า ดังนั้นค่าความต้านทานทางอินพุตของ
เครื่ องวัดแรงดันจะต้องมีค่าสู งมากเพื่อป้องกันกระแสรั่วไหลเข้าไปยังเครื่ องวัด
ในทางตรงกันข้ามค่าอินพุตของเครื่ องวัดกระแสควรมีค่าต่ามาก ๆ เพื่อให้กระแสที่
ต้องการวัดค่ามีค่าใกล้เคียงกับกระแสที่เกิดขึ้นจริ งในวงจร

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 26

You might also like