You are on page 1of 30

EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

บทที่11 ระบบไฟฟ้ าสามเฟส


วัตถุประสงค์
เพือ่ เรียนรูร้ ะบบแรงดันไฟฟ้ าสามเฟส
การต่อวงจรสตาร์-สตาร์
การแปลงสตาร์-เดลต้า
วงจรสตาร์-เดลต้า
โหลดสามเฟสสมดุลย์
และการหากาลังไฟฟ้ าในระบบสามเฟส

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 1


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

บทที่11 ระบบไฟฟ้ าสามเฟส


เนื้อหา
• แรงดันไฟฟ้ าสามเฟส
• วงจรสตาร์-สตาร์
• การแปลงสตาร์-เดลต้า
• วงจรสตาร์-เดลต้า
• โหลดสามเฟสสมดุลย์
• กาลังไฟฟ้ าในระบบสามเฟส

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 2


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1 แรงดันไฟฟ้ าสามเฟส(1)
ระบบไฟฟ้าสามเฟสประกอบด้วยแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าอิสระเฟสเดียว 3
แหล่งด้วยกันโดยที่แหล่งแต่ละแหล่งมีมุมเฟสแตกต่างกันอยู1่ 20  ดัง
แผนภาพเฟสเซอร์ในรู ปที่ 1 และรู ปคลื่นในรู ปที่ 2

รู ปที่ 2 รู ปคลื่นแรงดันสามเฟส
สมการของแรงดันสามเฟสมีดงั นี้ Va = Vm cos(  t )
รู ปที่ 1 แผนภาพเฟสเซอร์ของแรงดัน Vb = Vm cos(  t − 120  )
ในระบบสามเฟส
Vc = Vm cos(  t + 120  )

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 3


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

1. แรงดันไฟฟ้ าสามเฟส(2)
แรงดันเฟส (Phase voltages) แรงดันสาย (Line voltages)

รู ปที่ 3 การต่อแรงดันแบบสตาร์ รู ปที่ 4 การต่อแรงดันแบบเดลต้า


ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันเฟสกับแรงดันสายเป็ นดังนี้

รู ปที่ 5 แรงดันสายเกิดจากแรงดันเฟสทั้งสองรวมกันทางเวคเตอร์
Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 4
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

2. วงจรสตาร์-สตาร์ (1)
การต่อแบบนี้ได้ระบบไฟฟ้าสามเฟส 4 สาย โดยที่กระแส
สาย (Line current) แต่ละเฟสคานวณได้ดงั นี้
Va Vm 0
I aA = =
Z A Z m 

Vb Vm  − 120 
I bB = =
ZB Z m 

Vc Vm 120 
I cB = =
ZC Z m 

I Nn = I aA + I bB + I cC = 0

VNn = 0 รู ปที่ 6 ระบบไฟฟ้าสามเฟส 4 สาย


กาลังไฟฟ้าเฉลี่ยคือ
(Vm / 2 ) 2 cos 2
VRMS
P = PA + PB + PC = 3 ; P=3 cos
Zm Zm
Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 5
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

2. วงจรสตาร์-สตาร์(2)
ในกรณี ที่ไม่มีสายนิวตรอน การต่อแบบนี้ ได้ระบบไฟฟ้าสามเฟส 3 สาย ถ้า Z ใน
แต่ละเฟสเท่ากัน แรงดันที่จุดนิวตรอนจะเท่ากับศูนย์ แต่ถา้ Z ในแต่ละเฟสไม่
เท่ากัน แรงดันที่จุดนิวตรอนจะเกิดขึ้น และมีผลทาให้แรงดันที่ตกคร่ อมโหลดใน
แต่ละเฟสเกิดแรงดันเกินได้ การคานวณมีดงั นี้
Z A = Ζ Β = ZC

I aA + I bB + I cC = I nN = 0

VnN = 0

Z A  ΖΒ  ZC

I aA + I bB + I cC = I nN = 0

Va − VnΝ Vb − VnΝ Vc − VnΝ


+ + =0
ΖΑ ΖB ΖC

VnN =
Vb Z A Z C + Vc Z A Z B + Va Z B Z C รู ปที่ 7 ระบบไฟฟ้าสามเฟส 3 สายแบบ Y-Y
Z A ZC + Z A Z B + Z B ZC
Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 6
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

2. วงจรสตาร์-สตาร์(3)
เพื่อให้ง่ายต่อการคานวณในกรณี ที่โหลดแต่ละเฟสมีค่าเท่ากัน
อาจทาการวิเคราะห์แบบเฟสเดียวได้ดงั นี้
VaA = Vm 0

VbB = Vm  − 120 

VcC = Vm 120 

Z aA = Z bB = Z cC รู ปที่ 8 การวิเคราะห์แบบสามเฟส

Z A = ZB = ZC

รู ปที่ 9 การวิเคราะห์แบบเฟสเดียว

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 7


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

ตัวอย่ างที่ 1
จงหากาลังไฟฟ้าที่โหลดได้รับ

Va = 110 0 VRMS

Vb = 110  − 120  VRMS

VC = 110 120  VRMS

รู ปที่ 10 ระบบไฟฟ้าสามเฟส 4 สายในตัวอย่างที่ 1


ZA = 50 + j80, ZB = j50, ZC = 100 + j 25;

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 8


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

ตัวอย่ างที่ 1 (cont)


Va 110 0
I aA = = = 1.16 − 58 A rms
Z A 50 + j80
Vb 110  − 120 
I bB = = = 2.2150  A rms
ZB j 50
Vc 110 120 
I cC = = = 1.07 106  A rms
Z C 100 + j 25

S A = Va I*aA = 1.16 − 58  110 0 = 68 + j109 VA

S B = Vb I*bB = 2.2150   110  − 120  = j 242 VA

S C = Vc I*cC = 1.07 106   110 120  = 114 + j 28 VA

S = S A + S B + S C = 182 + j 379 VA
Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 9
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

ตัวอย่ างที่ 2
จงหากาลังไฟฟ้าที่โหลดได้รับ

Va = 110 0 VRMS

Vb = 110  − 120  VRMS

VC = 110 120  VRMS

รู ปที่ 11 ระบบไฟฟ้าสามเฟส 3 สายในตัวอย่างที่ 2


ZA = 50 + j80, ZB = j50, ZC = 100 + j 25;

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 10


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

ตัวอย่ างที่ 2 (cont)


VnN = 56 − 151 VRMS

Va − VnN
I aA = = 1.71 − 48 A RMS
ZA
V − VnN
I bB = b = 2.453 A RMS
ZB
Vc − VnN
I cC = = 1.1979  A RMS
ZC

S A = Va I*aA = Z A I aAI*aA = 146 + j 234 VA

S B = Vb I*bB = Z B I bB I*bB = j 94 VA

S C = Vc I*cC = Z CI cC I*cC = 141 + j 35 VA

S = S A + S B + S C = 287 + j 364 VA
Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 11
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

3 การแปลงสตาร์-เดลต้า

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 12


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

ตัวอย่ างที่ 3
จงแปลงวงจร Y เป็ น 

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 13


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

ตัวอย่ างที่ 3 (cont)


จงแปลงวงจร  เป็ น Y

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 14


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

4. วงจรสตาร์-เดลต้า(1)
ในกรณี ที่ฝั่งแหล่งจ่ายต่อวงจรแบบสตาร์และฝั่งโหลดต่อวงจรแบบเดลต้าดังรู ปที่ 12
กระแสสายแต่ละเฟสจะแบ่งไปยังโหลด (z) แต่ละเฟสเรี ยกว่า “กระแสเฟส”
I aA = I AB _ I CA

I bB = I BC − I AB

I cC = I CA − I BC

VAB
I AB =
Z3

VCA
I CA =
Z2

V รู ปที่ 12 วงจรแบบสตาร์-เดลต้า
I BC = BC
Z1
Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 15
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

4. วงจรสตาร์-เดลต้า(2)
กระแสเฟสที่ผา่ น Z3 และกระแสเฟสที่ผา่ น Z2 รวมกันทางเวคเตอร์เป็ นกระแสสายของเฟส A
ดังรู ปที่ 13

รู ปที่ 13 การรวมกันทางเวคเตอร์ ของกระแสเฟสทั้งสอง


กระแสสายในเฟส A I aA = I AB − I CA
คานวณได้ดงั นี้
I aA = I m  − I m  + 120 

I aA = 3 I m  − 30 

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 16


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

ตัวอย่ างที่ 4
จงคานวณกระแสสาย
220
Va =  − 30 VRMS
3
220
Vb =  − 150  VRMS
3
รู ปที่ 14 วงจรแบบสตาร์-เดลต้าสาหรับตัวอย่างที่ 4
220
Vc = 90 VRMS VAB
3 I AB = = 2250 
Z
VAB = Va − Vb = 220 0 VBC
I BC = = 22 − 70 
VBC = Va − Vb = 220  − 120  Z
VCA
VCA = Va − Vb = 220 120  I CA = = 22 − 190 
Z
Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 17
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

ตัวอย่ างที่ 4 (cont)


จากนั้นคานวณกระแสสายได้ดงั นี้

I aA = I AB − I CA = 22 3 020  A RMS

I bB = I BC − I AB = 22 3 0 − 100  A RMS

I cC = I CA − I BC = 22 3 0 − 220  A RMS

ตอบ

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 18


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

5. โหลดสามเฟสสมดุลย์

รู ปที่ 15 วงจรแบบสตาร์-เดลต้าที่โหลดสมดุลย์

ในกรณี ที่โหลดมีค่าอิมพีแดนซ์เท่ากันทั้งสามเฟสการวิเคราะห์วงจรทาได้ง่ายขึ้น โดยการคิดเพียงเฟส


เดียว เนื่องจากขนาดของกระแส แรงดัน และกาลังไฟฟ้าเท่ากันทุกเฟส

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 19


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

5. โหลดสามเฟสสมดุลย์

Z
ZY =
3

รู ปที่ 16 วงจรแบบสตาร์-สตาร์ที่โหลดสมดุลย์
รู ปที่ 17 วงจรเฟสเดียว

ในกรณี ที่โหลดสมดุลต่อแบบเดลต้าต้องแปลงเป็ นสตาร์ก่อนโดยเพียงนา 3 ไฟหารโหลดเดลต้าจากนั้นจึง


จะสามารถวิเคราะห์วงจรแบบเฟสเดียวได้ดงั รู ปที่ 16 และ17

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 20


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

ตัวอย่ างที่ 5
จงหากระแสที่โหลด

รู ปที่ 19 วงจรเฟสเดียวตัวอย่างที่ 5
รู ปที่ 18 วงจรแบบสตาร์-สตาร์ที่โหลดสมดุลย์ตวั อย่างที่ 5
Z L = 10 + j 5 
Va = 110 0 VRMS
Z  = 75 + j 225 
Vb = 110  − 120  VRMS

Vc = 110 120  VRMS


Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 21
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

ตัวอย่ างที่ 5 (cont)


Z Δ 75 + j 225
ZY = = = 25 + j 75
3 3
Va
I aA = = 1.26 − 66  A RMS
ZL + ZY
Vb
I bB = = 1.26 − 186  A RMS
ZL + ZY
Vc
I cC = = 1.2654  A RMS
ZL + ZY

VAB = VAN − VBN = 172 35 V RMS


VBC = VBN − VC N = 172  − 85 V RMS
VC A = VC N − VAN = 172 155  V RMS
Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 22
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

ตัวอย่ างที่ 5 (cont)


VAN = I aA Z Y = 99.65

VBN = I aA Z Y = 99.6 − 115 

VCN = I aA Z Y = 99.6125 

VAB VAN − VBN


I AB = = = 0.727  − 36  A RMS
ZΔ ZΔ

VBC VBN − VCN


I BC = = = 0.727  − 156  A RMS
ZΔ ZΔ

VCA VCN − VAN


I CA = = = 0.727  − 84  A RMS ตอบ
ZΔ ZΔ
Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 23
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

6 กาลังไฟฟ้ าในระบบสามเฟส (1)


ในระบบไฟฟ้าสามเฟสกาลังไฟฟ้าทั้งหมดเกิดจากการรวมกันของกาลังไฟฟ้าในแต่ละเฟส สมมุติให้โหลด
แต่ละเฟสเท่ากับ R ดังนั้นกาลังไฟฟ้าชัว่ ขณะหาได้จาก
2 2 2
vab vbc vca
p( t ) = + +
R R R
vab ( t ) = VL cos(  t )

vbc ( t ) = VL cos(  t − 120  )

vca ( t ) = VL cos(  t + 120  )


V2
p( t ) = ( 3 + cos( 2 t ) + cos( 2 t − 240 ) + cos( 2 t + 240 ))
2R
การหาค่ากาลังไฟฟ้าเฉลี่ยเทอมฟังก์ชนั COS เป็ นศูนย์ ดังนั้น

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 24


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

10.6 กาลังไฟฟ้ าในระบบสามเฟส (2)


ในกรณี โหลดสมดุลย์ขนาดกาลังไฟฟ้าแต่ละเฟสเท่ากัน ดังนั้นกาลังไฟฟ้ารวมจึงมีขนาดเป็ น
สามเท่าของกาลังไฟฟ้าในแต่ละเฟส

ในกรณี โหลดต่อแบบสตาร์แรงดันสายเท่ากับ ในกรณี โหลดต่อแบบเดลต้ากระแสสายเท่ากับ


แรงดันเฟสแต่กระสายสายเท่ากับกระแสเฟส กระแสเฟสแต่ แรงดันสายเท่ากับแรงดันเฟส
va = Vm cos( t ) P = 3  PAB = 3  VL I AB cos 

PY = 3  PA IL
I AB =
3
PY = 3  Vm I L cos( AV −  AI )
P = 3  VL I L cos(  )
PY = 3  VL I L cos( )
ดังนั้นกาลังไฟฟ้ารวมคือ ดังนั้นกาลังไฟฟ้ารวมคือ
PY = 3 VL I L cos(  ) P = 3 VL I L cos(  )
Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 25
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

ตัวอย่ างที่ 6
จงหากาลังไฟฟ้าที่โหลดได้รับ

รู ปที่ 20 วงจรแบบสตาร์-เดลต้าโหลดสมดุลย์ตวั อย่างที่ 6


Va = 1100 VRMS Z L = 10 + j 5 Ω

Vb = 110  − 120  VRMS Z Δ = 75 + j 225 Ω

Vc = 110120  VRMS
Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 26
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

ตัวอย่ างที่ 6 (cont)


วิธีทา
แปลงโหลดเดลต้าเป็ นสตาร์ดงั รู ปที่ 21 จากนั้น
วิเคราะห์ดว้ ยวงจรเฟสเดียวดังรู ปที่ 22 กาลัง
ไฟฟ้ารวมมีค่าสามเท่าของกาลังไฟฟ้าในแต่ละเฟส
Va = 99.65 VRMS
รู ปที่ 21 วงจรแบบสตาร์-สตาร์ที่โหลดสมดุลย์ตวั อย่างที่ 6
Va
Ia = = 1.26 − 66  A RMS
Z

P = 3  Va I a cos( 71 )

P = 122 .6 W
รู ปที่ 22 วงจรเฟสเดียวตัวอย่างที่ 6
Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 27
EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

โจทย์
1. จงหากาลังไฟฟ้าที่โหลดได้รับและกระแสในสายนิวตรอน

Va = 110 0 VRMS

Vb = 110  − 120  VRMS

VC = 110 120  VRMS

รู ปที่ 23 ระบบไฟฟ้าสามเฟส 4 สายสาหรับโจทย์ขอ้ 1


ZA = 50 + j80, ZB = j50, ZC = 100 + j 25;

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 28


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

โจทย์
2. จงหากาลังไฟฟ้าที่โหลดได้รับ

Va = 110 0 VRMS

Vb = 110  − 120  VRMS

VC = 110 120  VRMS

รู ปที่ 24 ระบบไฟฟ้าสามเฟส 4 สายสาหรับโจทย์ขอ้ 2

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 29


EGEE 217 : Fundamental of Electrical Engineering

โจทย์
3. จงหากาลังไฟฟ้าที่โหลดได้รับ

Va = 110 0 VRMS

Vb = 110  − 120  VRMS

VC = 110 120  VRMS

รู ปที่ 25 ระบบไฟฟ้าสามเฟส 3 สายสาหรับโจทย์ขอ้ 3

Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering Mahidol University 30

You might also like