You are on page 1of 27

ระบบไฟฟาสามเฟส

Three Phase System

Assist. Prof. Arnon Isaramongkolrak


Department of Electrical Engineering
Nakhon Pathom Rajabhat University
หัวขอการเรียนการสอน

• ระบบไฟฟากําลัง
• ระบบไฟฟากําลังสามเฟส
• การวิเคราะหวงจรไฟฟาแบบวาย-วาย
• การวิเคราะหวงจรไฟฟาแบบวาย-เดลตา

2
ระบบไฟฟากําลัง
คือ โครงขายที่รวบรวมระบบและอุปกรณตางๆ เขาดวยกันเพื่อทําการเปลี่ยนรูปพลังงานที่
ไมใชไฟฟาไปเปนพลังงานไฟฟาในรูปแบบที่ตองการ และสงผานพลังงานไฟฟาดวยระดับ
แรงดันไฟฟาสูงๆ ในรูปโครงขายปดขนาดใหญ

3
ระบบผลิตกําลังไฟฟา
คือ โรงไฟฟาที่ใชกันอยูอยางมากมายหลายรูปแบบและมีอยูหลายลักษณะในปจจุบัน
ประกอบดวย เครื่องกําเนิดไฟฟา โดยทั่วไปแลวจะมีระดับแรงดันตั้งแตระดับ 11kV – 27kV
ซึ่งหลังจากนั้นจะทําการยกระดับแรงดันผานหมอแปลงกําลัง

4
ระบบสงกําลัง
เปนระบบที่รับพลังงานไฟฟาที่ถูกยกระดับแรงดันตอจากระบบผลิตกําลัง สําหรับประเทศไทย
จะมีระดับแรงดันตั้งแต 69kV – 500kV ซึ่งสามารถสงพลังงานไฟฟาไปเปนระยะทางไหลได
โดยรักษาแรงดันนั้นไวได
ระบบสงกําลังไฟฟาเหนือศีรษะ
เปนระบบที่สายตัวนําบนเสาสงผานที่โลงแจงจากสถานีไฟฟาหนึ่งไปยังอีกสถานี
ไฟฟาหนึ่ง มีขอดีคือ งายตอการบํารุงรักษาและตรวจสอบขอขัดของของระบบ

ระบบสงกําลังไฟฟาใตดิน
สายตัวนําจะถูกฝงลงไปในดินตามรางเดินสายไฟ และมีบอพักเปนชวงๆ
เหมาะสมสําหรับการติดตั้งในชุมชนหรือพื้นที่แออัด มีความตองการพลังงานไฟฟาสูง การ
บํารุงรักษาทําไดไมสะดวกและมีราคาคอนขางสูง
5
ระบบสงกําลังเหนือศีรษะ

6
ระบบสงกําลังใตดิน

7
ระบบจําหนายกําลังไฟฟา
เปนระบบที่รับพลังงานไฟฟาที่ถูกสรางมาจากระบบผลิตกําลังไฟฟา ผานมายังระบบสง
กําลังไฟฟา เพื่อทําการกระจายกําลังไฟฟาไปยังโหลดผูใชไฟซึ่งมีสวนประกอบที่สําคัญคือ
สถานีไฟฟาที่ทําหนาที่ปรับลดระดับแรงดันใหกับผูใชไฟ มี 2 ประเภทคือ
ระบบจําหนายกําลังไฟฟาปฐมภูมิ
เปนระบบจําหนายกําลังไฟฟาที่จําหนายกําลังไฟฟาไปยังผูใชงานในระดับแรงดัน
22kV-115kV โดยทั่วไปจะเปน โรงงานอุตสาหกรรม หางสรรพสินคา หรือโหลดที่มีการใช
กําลังไฟฟาจํานวนมาก โดยมีการจัดโครงขายเปนแบบลูป และแบบเรเดียล

ระบบจําหนายกําลังไฟฟาทุติยภูมิ
เปนระบบจําหนายกําลังไฟฟาที่จําหนายกําลังไฟฟาไปยังผูใชงานในระดับแรงดัน
นอยกวา 22kV โดยทั่วไปจะเปน บานเรือน ที่พักอาศัย โดยมีการจัดโครงขายเปนแบบ
เรเดียล
8
ระบบไฟฟากําลังสามเฟส
ในระบบการสงกําลังไฟฟาในระยะทางไกลๆ นั้นนิยมสงกําลังในระบบแบบ 3 เฟสเนื่องจาก
ระบบ 3 เฟสมีขอดีคือ การสงกําลังไฟฟาจากแหลงจายไปยังโหลดมีคาคงที่และไมเปลี่ยนแปลง
ตามเวลา ระบบไฟฟา 3 เฟสจะใชสายไฟนอยกวาระบบไฟฟาหนึ่งเฟสเมื่อพิจารณาปริมาณ
กําลังไฟฟาที่โหลดเทากัน และ ระบบไฟฟา 3 เฟสจะมีการสูญเสียนอยกวาระบบหนึ่งเฟส

van  Vm sin(t )
vs (t )
vbn  Vm sin(t  120)
vcn  Vm sin(t  120)
Vm

t
120 240
Vm

9
ระบบไฟฟากําลังสามเฟส
ระบบไฟฟาสามเฟสเกิดจากเครื่องกําเนิดแรงดันไฟฟากระแสสลับที่สรางสัญญาณแรงดันแบบ
รูปคลื่นไซน 3 เฟส ที่เหมือนกันทุกประการแตมมุ เฟสตางกัน 120 องศา โดยสวนใหญจะให
เฟสทั้งสามมีช่อื เปน เฟส A เฟส B และเฟส C โดยลักษณะของแหลงจายแรงดันแบบ 3 เฟส
ประกอบดวยแหลงจายแรงดัน 3 แหลง ที่จะตอไปยังโหลดโดยใชสายสง 3 หรือ 4 เสน ซึ่ง
แหลงจายทั้ง 3 นี้สามารถตอกันได 2 ลักษณะคือแบบวาย(Wye) และแบบเดลตา (Delta, Δ)
a
Vab
b
Van Vbn

n Vca
Vbc
Vcn

c
10
ระบบไฟฟากําลังสามเฟส
การพิจารณาแหลงกําเนิดแรงดันไฟฟาสามเฟส จะเริ่มตนดวยการสมมุติใหแหลงกําเนิดสาม
เฟสเปนแบบสมดุล ซึ่งขนาดของแรงดันในแตละเฟสจะมีคาเทากัน
Van  Vbn  Vcn
และ
Van  Vbn  Vcn  0

เมื่อนําเฟสเซอรแรงดันทั้งสามเฟสมารวมกันทางเวกเตอร จะมีคาเทากับศูนย เนื่องจากแตละ


เฟสมีขนาดเทากัน แตมุมเฟสตางกัน 120

แรงดันระหวางสายกับจุดนิวทรอน สําหรับเฟสใดเฟสหนึ่ง มีชื่อเรียกวาแรงดันเฟส (phase


voltage) โดยปกติแรงดันเฟส a จะกําหนดให้เป็ นเฟสอ้างอิง
11
ระบบไฟฟากําลังสามเฟส
Vcn  V   240

Van  V 0
เฟสลําดับบวก
Vbn  V   120 Van  V 0 (positive phase
120 sequence) : ABC
Vcn  V   240
Vbn  V   120

Vbn  V   240

Van  V 0
เฟสลําดับลบ
Vcn  V   120 Van  V 0 (Negative phase
120 sequence) : ACB
Vbn  V   240
Vcn  V   120
12
ระบบไฟฟากําลังสามเฟส
นอกจากนี้แรงดันตกครอมสายคูใดคูหนึ่งระหวางเฟสมีชื่อเรียกวาแรงดันสาย (line
voltage) ซึ่งอาจเปน
Vab  Van  Vnb  Van  Vbn
 V 0  V   120
Vca Vab
Vcn  V  V (cos120  j sin120)
Vca
Vab
 V (1.5  j 0.867)
3V 
 3V 30
30
V Van
Vab  3V 30
Vbn Vbc  3V 30  120  3V   90

Vca  3V   90  120  3V   210


Vbc
Vbc 13
การวิเคราะหวงจรไฟฟาแบบวาย-วาย
การวิเคราะหวงจรที่มีแหลงจายกําเนิดสามเฟสสมดุลตอแบบ Y เชื่อมตอกับโหลดสามเฟส
สมดุลที่ตอแบบ Y

I aA ZL
IbB ZL
a b
A B
Van Vbn

Z
Z
n N

Vcn Z
IcC ZL
c C

14
การวิเคราะหวงจรไฟฟาแบบวาย-วาย
การวิเคราะหวงจารสามเฟสสมดุล จะอาศัยวงจรสมมูลเฟสเดียว (single-phase equivalent
circuit) ของวงจรสามเฟสที่สมดุลโดยทําการลัดวงจรที่จุด n และ N ซึ่งเปนวงจรสมมูลเฟสเดียว
I
ของระบบ I
aAZ L

bB ZL
a b
A B
Van Vbn

Z
Z
n N

Vcn Z
IcC ZL
c C

ZL กระแสสาย
a A
I aA I AN Van
I aA  I AN 
Van Z Z L  Z

กระแสเฟส
n N 15
ตัวอยางที่ 1
ระบบสามเฟสสมดุลทางดานแหลงเนิดตอแบบ Y ใหลําดับเฟสแบบบวก มีแรงดันเฟสของ
แหลงกําเนิดเทากับ 120 Vrmsเชื่อมตอโหลดตอแบบ Y ที่มีคา อิมพีแดนซ 40  j 30  / 
จงคํานวณหากระสายในแตละสาย และกําลังไฟฟาเฉลี่ยรวมที่โหลด
วิธีทํา เนื่องจากเปนระบบสามเฟสสมดุลสามารถเขียนวงจรสมมูลเฟสเดียวสําหรับเฟส a ได
a A
I aA I AN

Van Z 40  j30 

n N

Van 1200
I aA    2.4  36.87 A rms
Z 40  j30

16
ตัวอยางที่ 1
IbB  2.4  156.87 A rms

IcC  2.4  276.87 A rms

คํานวณหาคากําลังไฟฟาที่โหลดเฉลี่ยตอเฟสจะไดวา

P1  I 2aA R  2.42 (40)  230.40 W

ดังนั้นกําลังไฟฟาเฉลี่ยรวมที่โหลด

P3  3P1  3(230.40)  691.20 W

17
โจทยปญหา 1
ระบบสามเฟสสมดุลตอแบบวาย-วาย ใหลําดับเฟสแบบบวกและ Vab  4000o Vrms

ถาภายในของโหลดในแตละเฟสประกอบไปดวยอิมพีแดนซ  j100 //100 //  50  j 50 

จงคํานวณหา
1. แรงดันเฟส Van
2. กระแสสาย I aA

3. กําลังไฟฟาเฉลี่ยรวมที่โหลด

18
การวิเคราะหวงจรไฟฟาแบบวาย-เดลตา
การวิเคราะหวงจรที่มีแหลงกําเนิดสามเฟสสมดุลตอแบบ Y ที่มีการเชื่อมตอกับโหลดแบบ 
I aA

IbB
a b
I AB
Van Vbn A Z B

n Z I BC
Z  

Vcn ICA
C
IcC
c

กําหนดใหขนาดแรงดันสายของแหลงกําเนิดที่ตอแบบ Y มีคาเทากันเนื่องจากเปนระบบ
สามเฟสสมดุล
VL  Vab  Vbc  Vca
19
การวิเคราะหวงจรไฟฟาแบบวาย-เดลตา
I aA

IbB
a b
I AB
Van Vbn A Z B
n Z I BC
Z 

Vcn ICA
C
I cC
c

ดังนั้นของแรงดันเฟสก็จะมีคาเทากัน
V  Van  Vbn  Vcn

Van  V 0

VL  3V Vab  3V 30


20
การวิเคราะหวงจรไฟฟาแบบวาย-เดลตา
I aA

IbB
a b
I AB
Van Vbn A Z B

n Z I BC
Z 

Vcn ICA
C
I cC
c

เมื่อพิจารณาที่โหลด (ตอแบบ  ) สามารถคํานวณหากระแสที่โหลดไดดังนี้


VAB Vab VBC Vbc VCA Vca
I AB   I BC   ICA  
Z Z Z Z Z Z

กระแสสายสามารถคํานวณไดจากกระแสเฟสที่โหลดโดยอาศัยกฏของเคอรชอฟฟจะได
I aA  I AB  ICA I  I AB  I BC  ICA
21
การวิเคราะหวงจรไฟฟาแบบวาย-เดลตา
I aA

IbB
a b
I AB
Van Vbn A Z B

n Z I BC
Z 

Vcn ICA
C
I cC
c

ถากําหนดให I AB เปนกระแสอางอิงสําหรับลําดับเฟสแบบบวกจะไดวา
I aA  I 0  I   240
 I  I  cos(240)  j sin(240) 
 I 1.5  j 0.867 
 3I   30

I aA  3 I   30 22
การวิเคราะหวงจรไฟฟาแบบวาย-เดลตา
สรุปไดวากรณีที่โหลดตอแบบ  ที่มีลาํ ดับเฟสแบบบวก จะมีขนาดของกระแสสายเทากับ 3
เทาของกระแสเฟส และมีมุมเฟสของกระแสสายลาหลังกระแสเฟสอยู 30

I
I AB
30

3I

I aA

23
ตัวอยางที่ 2
ระบบสามเฟสสมดุลทางดานแหลงเนิดตอแบบ Y ใหลําดับเฟสแบบบวก มีแรงดันเฟสของ
แหลงกําเนิดเทากับ 220 Vrms เชื่อมตอโหลดตอแบบเดลตาที่มีคาอิมพีแดนซ
Z   10  50 o  /  จงคํานวณหากระสายและกระแสเฟสของระบบสําหรับทุกๆ เฟส
I aA

IbB
a b
I AB
Van Vbn A Z B
n I BC

Z


Z
Vcn ICA
C
IcC
c

24
ตัวอยางที่ 2
วิธีทํา Vab  VAB  2200 Vrms (กําหนดใหแรงดันสาย ab เปนแรงดันอางอิง)

กระแสเฟสคํานวณไดจาก
VAB 2200
I AB    2250 A rms
Z 10  50

เนื่องจากเปนระบบสามเฟสสมดุล ที่มีลําดับเฟสแบบบวก ดังนั้น

I BC  2250  120  22  70 A rms

ICA  22  50  120  22  190 A rms

25
ตัวอยางที่ 2
วิธีทํา การคํานวณหากระแสสาย คํานวณไดจากแผนภาพเฟสเซอร
I
30
I AB IaA  3(22)50  30  3(22)20 A rms
3I
IbB  3(22)  100 A rms

IaA

IcC  3(22)  220 A rms

โจทยขอนี้สามารถทําไดอีกแบบหนึ่งคือ แปลงโหลดที่ตอแบบเดลตาใหเปนแบบวายกอน
จากนั้นคํานวณหากระแสสายในแตละเฟสไดจากวงจรสมมูลเฟสเดียว
Z
ZY 
3
26
โจทยปญหา 2
I aA ZL

IbB ZL
a b
I AB
Van Vbn A Z B

n Z I BC
Z 


Vcn ICA
C
IcC ZL
c

ถากําหนดให ZL  0  และ Van  20060Vrms ในแตละเฟสโหลดดูดซับกําลังไฟฟาเชิงซอน


เทากับ 2  j1 kVA ถาลําดับเฟสเปนแบบบวกจงคํานวณหา Vbc Z และ I aA

 346.4  30 Vrms   48  j 24   11.1886.57 A rms  27

You might also like