You are on page 1of 31

กำลังไฟฟ้ำในวงจรไฟฟ้ำกระแสสลับ

Power in AC Circuit

Arnon Isaramongkolrak
Department of Electrical Engineering
Nakhon Pathom Rajabhat University
หัวข้อการเรียนการสอน

• ค่ารากเฉลี่ยกาลังสอง (rms)
• กาลังไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
• การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสสลับในสภาวะคงตัว

2
ค่ำรำกเฉลี่ยกำลังสอง
- ค่ารากเฉลี่ยกาลังสอง หรือ ค่าอาร์เอ็มเอส (rms) หรือ ค่า
ประสิทธิผล (effective)

- ใช้เพื่อบ่งบอกปริมาณที่มีการเปลี่ยนแปลงตามเวลา หรือมีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เช่น สัญญาณของแรงดันและ
กระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

3
ค่ำรำกเฉลี่ยกำลังสอง (ต่อ)
v(t )

v  t   Vm cos t   
Vp Vp p
Vm

t
0

Vm

- Peak Voltage = Vp  Vm

- Peak to Peak Voltage = V p  p  2Vm


4
ค่ำรำกเฉลี่ยกำลังสอง (ต่อ)
v(t ) Vef  Vrms
Vp Vp p
Vm

v  t   Vm cos t   
t
0

Vm Vavg

Vm Vp
- RMS Voltage = Vef  Vrms  
2 2

- คำถำม ไฟบ้ำน 220V คือค่ำอะไร ?????


5
กำลังไฟฟ้ำในวงจรไฟฟ้ำกระแสสลับ
- การหากาลังไฟฟ้าในวงจรกระแสสลับ จะพิจารณาดังนี้
I

i(t )  I m cos(t  i ) I  I mi

v(t )  Vm cos(t  v ) V  Vmv

6
กำลังไฟฟ้ำเฉลี่ย (Average Power)
- กาลังไฟฟ้าเฉลี่ย (Average Power) หรือกาลังไฟฟ้าจริง (Real
Power) มีหน่วยเป็น วัตต์ (Watt)
1
P  Vm I m cos(v  i )
2

P
1
2
 2Vrms  
2 I rms cos(v  i )

 Vrms I rms cos(v  i )

7
กำลังไฟฟ้ำปรำกฏ (Apparent Power)
- กาลังไฟฟ้าปรากฏ (Apparent Power) มีหน่วยเป็น โวลต์แอมป์ (VA)
1 P
P  Vm I m cos(v  i )  pf
2
S

pf  cos(v  i ) ตัวประกอบกาลัง
1
S  Vm I m  Vrms I rms กาลังไฟฟ้าปรากฏ
2
8
กำลังไฟฟ้ำเสมือน (Reactive Power)
- เป็นส่วนหนึ่งของกาลังไฟฟ้าที่ไหลเวียนอยู่ในวงจรไฟฟ้าซึ่งเกิดจาก
พลังงานที่เก็บไว้ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับขนาดของตัวเหนี่ยวนา และตัว
เก็บประจุที่อยู่ในวงจรไฟฟ้า
- กาลังไฟฟ้าเสมือน มีหน่วยเป็น วาร์ (Var)

1
Q  Vm I m sin(v  i )
2

9
ตัวประกอบกำลัง(Power Factor)
- คือ อัตราส่วนระหว่างกาลังไฟฟ้าจริงและกาลังไฟฟ้าที่ปรากฏ ซึ่งจะมี
ค่าอยู่ระหว่าง 0-1
- ตัวประกอบกาลังเป็นปริมาณที่สาคัญสาหรับการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า
กระแสสลับที่มีการเปลี่ยนแปลงของโหลดชนิด ตัวเหนี่ยวนา หรือตัว
เก็บประจุ ซึ่งจะส่งผลต่อคุณภาพของแรงดันไฟฟ้า
- ตัวประกอบกาลังจะมีอยู่ 3 ประเภท ซึ่งมีความสัมพันธ์กับสัญญาณของ
แรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าที่ไหลอยู่ในวงจร

10
ตัวประกอบกำลัง(Power Factor)
- Leading Power Factor หมายถึง มุมของสัญญาณกระแสไฟฟ้า
นาหน้ามุมของสัญญาณแรงดันไฟฟ้าเป็นมุม cos(v  i ) ทาให้ค่ามุม
เป็น “ลบ”
- Lagging Power Factor หมายถึง มุมของสัญญาณกระแสไฟฟ้าล้าหลัง
มุมของสัญญาณแรงดันไฟฟ้าเป็นมุม cos(v  i ) ทาให้ค่ามุมเป็น
“บวก”

11
ตัวประกอบกำลัง(Power Factor)

S
Q

P
pf  cos  (มุมมีค่าอยู่ระหว่าง 0-90 องศา)
 cos 0  1
 cos 30  0.86
 cos 90  0
12
ตัวอย่ำงที่ 1
จงคานวณหาค่ากระแสไฟฟ้า I ค่ากาลังไฟฟ้าเฉลี่ย ค่ากาลังไฟฟ้าปรากฏและ
ตัวประกอบกาลังที่แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้า
I 2  j1

600 Vrms 1  j 5

วิธีทำ
คานวณหาค่ากระแสได้จาก กฏของโอห์ม
600
I
(2 - j )(1  j5)
 12  53.13 A rms ตอบ
13
ตัวอย่ำงที่ 1 (ต่อ) I 2  j1

600 Vrms 1  j 5

คานวณหาค่ากาลังไฟฟ้าเฉลี่ย P  1 Vm I m cos(v  i )
2
 Vrms I rms cos(v  i )
 (60)(12) cos(0  (53.13))
 432 W ตอบ
1
คานวณหาค่ากาลังไฟฟ้าปรากฏ S  Vm I m  Vrms I rms  (60)(12)  720 VA
2
ตอบ
14
ตัวอย่ำงที่ 1 (ต่อ) I 2  j1

600 Vrms 1  j 5

คานวณหาค่าตัวประกอบกาลังที่แหล่งจ่ายแรงดันจะได้
pf  cos(v  i )
 cos(0  (53.13))
 cos(53.13)
 0.6
v  i มีค่าเป็นบวก แสดงว่า มุมเฟสของสัญญาณกระแสล้าหลังมุมเฟส
ของสัญญาณแรงดัน
pf  0.6 lagging ตอบ
15
กำลังไฟฟ้ำเชิงซ้อน (Complex Power)
กาหนดให้ V  V  m v V และ I  I mi A สามารถหาค่ากาลังไฟฟ้า
เชิงซ้อนได้ดังนี้
1 
S  VI
2
ค่ากาลังไฟฟ้าเชิงซ้อนมีหน่วย โวลต์แอมป์ (VA)
1 
S  VI
2
1
 Vm v  I m i 
*

2
1
 Vm I m v  i
2
S 16
กำลังไฟฟ้ำเชิงซ้อน (Complex Power)
กาลังไฟฟ้าเชิงซ้อน สามารถเขียนในรูปของ rectangular form ได้เป็น
1 1
S  Vm I m cos(v  i )  j Vm I m sin(v  i )
2 2
P Q

ถ้าพิจารณาเพียงแค่ขนาดของกาลังไฟฟ้าเชิงซ้อน เราจะได้เป็นค่ากาลังไฟฟ้า
ปรากฏนั่นเอง

17
ตัวอย่ำงที่ 2
จงคานวณหาค่ากระแสไฟฟ้า I ค่ากาลังไฟฟ้าเฉลี่ย ค่ากาลังไฟฟ้าปรากฏ ค่า
กาลังไฟฟ้ารีแอกทีฟ ค่ากาลังไฟฟ้าเชิงซ้อน และตัวประกอบกาลังที่แหล่งจ่าย
แรงดันไฟฟ้า 2 

 j 5 j6 

1645 V
+
10  8 
-

วิธีทำ โจทย์ถามหากาลังไฟฟ้าที่อุปกรณ์ตัวใด จะต้องหาเฟสของแรงดัน และ


เฟสเซอร์กระแสของอุปกรณ์ตัวนั้น

18
ตัวอย่ำงที่ 2 (ต่อ)
2 

 j 5 I
j6 
+ 1645 V
+ Z eq
1645 V
- 10  8  -

Zeq  10  j5 / / 8  j 6   2


10  j 5  8  j 6 
2
10  j5  8  j 6 

11.18  26.57 1036.86 
2
18  j1
111.810.29
  2  6.27.11  2
18.033.18 19
ตัวอย่ำงที่ 2 (ต่อ)
2 

 j 5 I
j6 
+ 1645 V
+ Z eq
1645 V
- 10  8  -

Z eq  6.15  j 0.77  2  8.15  j 0.77 

I V  1645
+ 8.15  j 0.77  V 1645
1645 V
- I 
Z eq 8.15  j 0.77

I  1.95439.62 ตอบ
20
ตัวอย่ำงที่ 2 (ต่อ) I

1645 V
+ 8.15  j 0.77 
-

พิจารณาวงจรเพื่อหาค่ากาลังไฟฟ้าทั้งหมด และตัวประกอบกาลังจะได้ว่า
ตัวประกอบกำลัง p. f .  cos v  i 
 cos  45  39.62   0.995 lagging ตอบ
1
กำลังไฟฟ้ำจริง P  Vm I m cos v  i 
2
1
P  16 1.954  0.995 
2
 15.56 W ตอบ
21
ตัวอย่ำงที่ 2 (ต่อ)
1
กำลังไฟฟ้ำรีแอกทีฟ Q  Vm I m sin v  i 
2
1
 16 1.954  sin  45  39.62 
2
Q  1.466 Var ตอบ
กำลังไฟฟ้ำเชิงซ้อน S  P  jQ
 15.56  j1.466 VA ตอบ

กำลังไฟฟ้ำปรำกฏ S  P2  Q2

 15.562  1.4662  15.63 VA ตอบ


22
ตัวอย่ำงที่ 3
จากวงจรต่อไปนี้จงหาค่าของ I V กาลังไฟฟ้าเชิงซ้อน กาลังไฟฟ้าเฉลี่ย
กาลังไฟฟ้ารีแอกทีฟ และตัวประกอบกาลังที่ตัวต้านทาน 10Ω
3 1mH

I
11cos(100t  30) V V 10 1mF

วิธีทำ ทาการแปลงแหล่งจ่ายให้อยู่ในรูปของเฟสเซอร์
11cos(100t  30) V 1130 V

23
3 1mH
ตัวอย่ำงที่ 3 (ต่อ)
I
11cos(100t  30) V V 10 1mF

ทาการแปลงอุปกรณ์ทุกตัวให้อยู่ในรูปของอิมพีแดนซ์
R3 Z3

R  10  Z  10 
L  1 mH Z  j L  j (100)(1103 )  j 0.1 
j j
C  1 mF Z    j10 
C (100)(110 )
3

24
ตัวอย่ำงที่ 3 (ต่อ)
เขียนวงจรใหม่ได้เป็น 3 1mH

I
11cos(100t  30) V V 10 1mF

3  j 0.1

I
1130 V V 10  j10

25
ตัวอย่ำงที่ 3 (ต่อ)
คานวณหาค่าแรงดันไฟฟ้าที่โหลด 10Ω โดยการแบ่งแรงดันจะได้ว่า
3  j 0.1

I
1130 V V 10  j10

(10 //  j10)
V 1130
(3  j 0.1)  (10 //  j10)
(5  j 5)
 1130
(3  j 0.1)  (5  j 5)
(5  j 5)
  1130
(8  j 4.9)
7.07  45
 1130 ตอบ
9.38  31.49
 8.2916.49 V V  8.29 cos(100t  16.49) V 26
ตัวอย่ำงที่ 3 (ต่อ)
คานวณหาค่ากระแสไฟฟ้าที่โหลด 10Ω โดยอาศัยกฏของโอห์มจะได้ว่า
3  j 0.1

I
1130 V V 10  j10

V 8.2916.49 8.2916.49
I  
Z 10 1016.49
 0.82916.49 V I  0.829 cos(100t  16.49) A
ตอบ
27
ตัวอย่ำงที่ 3 (ต่อ)
คานวณหาค่ากาลังไฟฟ้าเชิงซ้อนที่ตาแหน่งโหลด 10Ω
V  8.29 cos(100t  16.49) V I  0.829 cos(100t  16.49) A
3  j 0.1

I
1130 V V 10  j10

1 
S VI
2
1
 (8.2916.49 )(0.829  16.49)
2
 3.440 VA S  3.44  j 0 VA ตอบ
28
ตัวอย่ำงที่ 3 (ต่อ)
คานวณหาค่ากาลังไฟฟ้าเฉลี่ย กาลังไฟฟ้ารีแอกทีฟ ที่ตาแหน่งโหลด 10Ω
S  3.44  j 0 VA S  P  jQ VA

ค่ากาลังไฟฟ้าเฉลี่ยที่ตาแหน่งโหลด 10Ω
P  3.44 Watt ตอบ
ค่ากาลังไฟฟ้ารีแอกทีฟที่ตาแหน่งโหลด 10Ω
Q  0 Var ตอบ
ค่าตัวประกอบกาลังที่ตาแหน่งโหลด 10Ω
P 3.44
pf   1 ตอบ
S 3.44
29
โจทย์ปัญหำ
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับดังรูป จงคานวณหาค่าต่อไปนี้ [กาหนดให้ใช้ทฤษฎีการวาง
ซ้อน (superposition) เท่านั้น]
3mH 1mF

VO
20 cos(1000t ) V 25 20sin(1000t ) V

1). คานวณหาค่า V0 (VO  13.3752.92 V )


2). คานวณหาค่ากาลังไฟฟ้าเฉลี่ย กาลังไฟฟ้าปรากฏ กาลังไฟฟ้ารีแอกทีฟ ค่า
กาลังไฟฟ้าเชิงซ้อน และค่าตัวประกอบกาลัง ที่โหลดตัวเก็บประจุ
30
กำรบ้ำนครั้งที่ 2
1) จากวงจรต่อไปนี้ จงหากระแสโหลดโดยใช้ทฤษฎีบทของเทวินิน เมื่อพิจารณาที่ขั้วต่อ a-b
j 7  j 4
a

1
5015 Vrms 5 6
j 3

2) จากรูปวงจรที่กาหนดให้ จงหากาลังไฟฟ้าจริง กาลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ กาลังไฟฟ้าปรากฏ


กาลังไฟฟ้าเชิงซ้อนและค่าตัวประกอบกาลังของโหลด เมื่อโหลดคือ ตัวต้านทาน 4 Ω ต่อ
อนุกรมกับตัวเก็บประจุ 0.1 mF 0.2mF

2 4
14.14sin(1000t  30) A

5mH 0.1mF
31

You might also like