You are on page 1of 20

งานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า

(Electrical Appliances Repairs)


รหัสวิชา 20104 - 2110
หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก
ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขางานไฟฟ้ากำ�ลัง
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562
ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) กระทรวงศึกษาธิการ

เรียบเรียงโดย
ธวัชชัย จารุจิตร์
คอ.บ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
ไวพจน์ ศรีธัญ
อส.บ. (วิศวกรรมศาสตร์)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
งานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า
(Electrical Appliances Repairs)
ISBN 978-616-495-018-4
จัดพิมพ์และจัดจ�ำหน่ายโดย
บริษัทวังอักษร จ�ำกัด
69/3 ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ 10600
โทร. 0-2472-3293-5 โทรสาร 0-2891-0742 Mobile 08-8585-1521
e-Mail : wangaksorn9@gmail.com Facebook : ส�ำนักพิมพ์ วังอักษร
http://www.wangaksorn.com ID Line : @wangaksorn

พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2562 จ�ำนวนที่พิมพ์ 3,000 เล่ม


สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537


โดยบริษัทวังอักษร จ�ำกัด ห้ามน�ำส่วนใดส่วนหนึ่งของหนังสือเล่มนี้ไปท�ำซ�้ำ
ดัดแปลง หรือเผยแพร่ต่อสาธารณชน ไม่ว่ารูปแบบใด ๆ นอกจากได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าจากทางบริษัทฯ เท่านั้น
ชื่อและเครื่องหมายการค้าอื่น ๆ ที่อ้างอิงในหนังสือฉบับนี้
เป็นสิทธิโดยชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของแต่ละราย
โดยบริษัทวังอักษร จ�ำกัด มิได้อ้างความเป็นเจ้าของแต่อย่างใด
งานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า
(Electrical Appliances Repairs)
รหัสวิชา 20104 - 2110

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้
1. เข้าใจหลักการท�ำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ
2. มีทักษะในการตรวจสอบและซ่อมบ�ำรุงรักษาเครื่องใช้ไฟฟ้า
3. มีเ จตคติที่ดีและกิจนิสัย ที่ ดี ในการปฏิ บัติ ง าน มี ค วามละเอี ย ด รอบคอบ ปลอดภั ย
เป็นระเบียบ สะอาด ตรงต่อเวลา มีความซื่อสัตย์และมีความรับผิดชอบ

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับโครงสร้าง และหลักการท�ำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ
2. ตรวจซ่อมระบบไฟฟ้าแสงสว่างและระบบไฟฟ้าก�ำลัง
3. ตรวจซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทความร้อน และมอเตอร์
4. ตรวจซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทส�ำนักงาน

ค�ำอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้าง และหลักการท�ำงาน การตรวจสอบหาสาเหตุข้อบกพร่อง
งานซ่อมและบ�ำรุงรักษาของเครื่องใช้ไฟ้ฟ้าประเภทความร้อน เครื่ืองใช้ไฟฟ้าประเภทมอเตอร์ เครื่องใช้
ไฟฟ้าส�ำนักงาน ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ระบบไฟฟ้าก�ำลัง และงานบริการไฟฟ้า
ตารางวิเคราะห์สมรรถนะรายวิชา
วิชางานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า รหัส 20104 - 2110
ท–ป–น 1-3-2 จ�ำนวน 4 คาบ/สัปดาห์ รวม 72 คาบ

หลั ก การทำ � งานของเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า

ตรวจซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทความ

ตรวจซ่ อ มเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ประเภท


แสดงความรู้เกี่ยวกัับโครงสร้าง และ

ตรวจซ่ อ มระบบไฟฟ้ า แสงสว่ า งและ


สมรรถนะรายวิชา

ร้อน และมอเตอร์
ระบบไฟฟ้ากำ�ลัง
ชนิดต่าง ๆ
บทที่

สำ�นักงาน
1. เครื่องมือส�ำหรับงานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า 
2. มอเตอร์ไฟฟ้า  
3. แสงสว่าง  
4. เตาไฟฟ้าแบบธรรมดา  
5. เตารีดไฟฟ้า  
6. กาต้มน�้ำไฟฟ้า  
7. เครื่องดูดฝุ่น  
8. พัดลมไฟฟ้า   
9. สว่านไฟฟ้า  
10. เลื่อยฉลุไฟฟ้า  
11. หม้อหุงข้าวไฟฟ้า  
12. กระทะไฟฟ้า  
13. เครื่องปิ้งขนมปัง  
14. เตาอบไมโครเวฟ  
15. เครื่องฉายข้ามศีรษะ  
16. เครื่องบดอาหาร  
17. เครื่องซักผ้าอัตโนมัติ  
ค�ำน�ำ
วิชางานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า รหัสวิชา 20104-2110 จัดอยู่ในหมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ กลุ่ม
สมรรถนะวิชาชีพเลือก ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขางานไฟฟ้าก�ำลัง สาขาวิชาช่างไฟฟ้าก�ำลัง ตาม
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.)
กระทรวงศึกษาธิการ ผูเ้ ขียนได้บริหารสาระการเรียนรูแ้ บ่งเป็น 17 บทเรียน ได้จดั แผนการจัดการเรียนรู/้
แผนการสอนที่มุ่งเน้นฐานสมรรถนะ (Competency Based) และการบูรณาการ (Integrated)
ตรงตามจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา ค�ำอธิบายรายวิชา ในแต่ละบทเรียนมุ่งให้ความส�ำคัญ
ส่วนที่เป็นความรู้ทฤษฎี หลักการ กระบวนการ ตัวอย่าง แบบฝึกปฏิบัติ และค�ำถามเพื่อการทบทวน
เพื่อฝึกทักษะประสบการณ์ เร่งพัฒนาบทบาทของผู้เรียนเป็นผู้จัดการแสวงหาความรู้ (Explorer) เป็น
ผู้สอนตนเองได้ สร้างองค์ความรู้ใหม่ และบทบาทของผู้สอนเปลี่ยนจากผู้ให้ความรู้มาเป็นผู้จัดการชี้แนะ
(Teacher Roles) จัดสิง่ แวดล้อมเอือ้ อ�ำนวยต่อความสนใจเรียนรู้ และเป็นผูร้ ว่ มเรียนรู้ (Co–investigator)
จัดห้องเรียนเป็นสถานทีท่ ำ� งานร่วมกัน (Learning Context) จัดกลุม่ เรียนรูใ้ ห้รจู้ กั ท�ำงานร่วมกัน (Grouping)
ฝึกความใจกว้าง มุ่งสร้างสรรค์คนรุ่นใหม่ สอนความสามารถที่น�ำไปท�ำงานได้ (Competency) สอน
ความรัก ความเมตตา (Compassion) ความเชื่อมั่น ความซื่อสัตย์ (Trust) เป้าหมายอาชีพอันยังประโยชน์
(Productive Career) และชีวติ ทีม่ ศี กั ดิศ์ รี (Noble Life) เหนือสิง่ อืน่ ใด เป็นคนดีทงั้ กาย วาจา ใจ มีคณ
ุ ธรรม
จรรยาบรรณทางธุรกิจและวิชาชีพ
ส่งเสริมสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ (Vocational Qualification
System) สอดคล้องตามมาตรฐานอาชีพ (Occupational Standard) สร้างภูมิคุ้มกัน เพิ่มขีดความ
สามารถในการแข่งขันของประเทศ ก�ำลังแรงงาน การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานระดับชาติ
(National Benchmarking) และการวิเคราะห์หน้าที่การงาน (Functional Analysis) เพื่อให้เกิด
ผลส�ำเร็จในภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม ทุกสาขาอาชีพ เป็นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่อาชีพประชาคม
ระดับอาเซียน
ขอขอบพระคุณท่านอาจารย์ผู้สอน ผู้ประสาทวิชาความรู้ เอกสาร หนังสือที่ใช้ประกอบในการ
เรียบเรียงไว้ ณ โอกาสนี้

ธวัชชัย จารุจิตร์
ไวพจน์ ศรีธัญ
สารบัญ
บทที่ 5 เตารีดไฟฟ้า 91

เตารีดไฟฟ้าแบบธรรมดา 93
บทที่ 1 เครื่องมือส�ำหรับงานซ่อม เตารีดไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ 94
เครื่องใช้ไฟฟ้า 1 เตารีดไฟฟ้าอัตโนมัติแบบไอน�ำ้ 103
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 108
เครื่องมือประเภทไขควง 2 ใบงานที่ 5.1 การตรวจซ่อมเตารีดไฟฟ้า 110
เครื่องมือประเภทคีม 5
เครื่องมือประเภทประแจ 8 บทที่ 6 กาต้มน�้ำไฟฟ้า 114
เครื่องมือตรวจสอบวงจรไฟฟ้า 10
เครื่องมือประเภทอื่น ๆ 15 กาต้มน�้ำไฟฟ้าแบบธรรมดา 115
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 17 กาต้มน�้ำไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ 117
กาต้มน�้ำไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ
บทที่ 2 มอเตอร์ไฟฟ้า 19 โดยใช้แรงดันอากาศ 119
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 129
ยูนิเวอร์แซลมเตอร์ 20 ใบงานที่ 6.1 การตรวจซ่อมกาต้มน�้ำไฟฟ้า 131
เชดเดดโพลมอเตอร์ 27
คาปาซิเตอร์มอเตอร์ 32 บทที่ 7 เครื่องดูดฝุ่น 135
สปลิตเฟสมอเตอร์ 37
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 43 เครื่องดูดฝุ่นแบบดูดฝุ่นโดยตรง 136
ใบงานที่ 2.1 การตรวจซ่อม เครื่องดูดฝุ่นแบบทรงกระบอก 137
มอเตอร์ไฟฟ้าเบื้องต้น 45 เครื่องดูดฝุ่แบบถังหรือกระป๋อง 138
ใบงานที่ 2.2 การตรวจซ่อมเครื่องเป่าผม 47 หลักการท�ำงานของเครื่องดูดฝุ่น 142
ล�ำดับขั้นตอนการใช้เครื่องดูดฝุ่น 142
บทที่ 3 แสงสว่าง 52 การดูแลบ�ำรุงรักษาเครื่องดูดฝุ่น 145
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 147
หลอดอินแคนเดสเซนต์ 54 ใบงานที่ 7.1 การตรวจซ่อมเครื่องดูดฝุ่น 149
หลอดฟลูออเรสเซนต์ 62
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 70 บทที่ 8 พัดลมไฟฟ้า 152
ใบงานที่ 3.1 การตรวจสอบวงจรของ 72
หลอดไฟฟ้า พัดลมไฟฟ้าแบบตั้งโต๊ะ 153
พัดลมไฟฟ้าแบบตั้งพื้น 161
บทที่ 4 เตาไฟฟ้าแบบธรรมดา 76 พัดลมไฟฟ้าแบบติดเพดาน 165
พัดลมไฟฟ้าแบบติดผนัง 177
เตาไฟฟ้าแบบปรับความร้อนได้ระดับเดียว 77 พัดลมดูดและระบายอากาศ 182
เตาไฟฟ้าแบบปรับความร้อนได้หลายระดับ 81 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 192
หลักและวิธีการตรวจซ่อมเตาไฟฟ้า 83 ใบงานที่ 8.1 การตรวจซ่อมพัดลมไฟฟ้า 194
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 85
ใบงานที่ 4.1 การตรวจซ่อมเตาไฟฟ้า 87
บทที่ 9 สว่านไฟฟ้า 198 บทที่ 12 กระทะไฟฟ้า 240

สว่านไฟฟ้าแบบธรรมดา 199 โครงสร้างและส่วนประกอบที่ส�ำคัญของ


สว่านไฟฟ้าแบบโรตารี่ 200 กระทะไฟฟ้า 250
โครงสร้างและส่วนประกอบที่สำ� คัญ โครงสร้างและส่วนประกอบของกระทะไฟฟ้า 252
ของสว่านไฟฟ้า 200 หลักการท�ำงานเบื้องต้นของกระทะไฟฟ้า 253
วงจรการท�ำงานของสว่านไฟฟ้า 204 การดูแลบ�ำรุงรักษากระทะไฟฟ้า 254
ล�ำดับขั้นตอนการใช้งานสว่านไฟฟ้า 205 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 256
ข้อแนะน�ำและข้อควรระวังในการใช้งาน ใบงานที่ 12.1 การตรวจซ่อมกระทะไฟฟ้า 258
สว่านไฟฟ้า 206
การดูแลและการบ�ำรุงรักษาสว่านไฟฟ้า 208 บทที่ 13 เครื่องปิ้งขนมปัง 261
การตรวจซ่อมแก้ไขสว่านไฟฟ้า 208
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 209 โครงสร้างและส่วนประกอบที่ส�ำคัญของ
ใบงานที่ 9.1 การตรวจซ่อมสว่านไฟฟ้า 211 เครื่องปิ้งขนมปัง 263
หลักการท�ำงานเบื้องต้นของเครื่องปิ้งขนมปัง 265
บทที่ 10 เลื่อยฉลุไฟฟ้า 215 ล�ำดับขั้นตอนวิธีการใช้เครื่องปิ้งขนมปัง 266
การบ�ำรุงดูแลรักษาเครื่องปิ้งขนมปัง 267
โครงสร้างและส่วนประกอบที่สำ� คัญ แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 269
ของเลื่อยฉลุไฟฟ้า 216 ใบงานที่ 13.1 การตรวจซ่อมเครื่องปิ้งขนมปัง 271
หลักการท�ำงานเบื้องต้นของเลื่อนฉลุไฟฟ้า 218
โครงสร้างและส่วนประกอบเลื่อยฉลุไฟฟ้า 220 บทที่ 14 เตาอบไมโครเวฟ 275
ล�ำดับขั้นตอนการตรวจสอบเลื่อยฉลุไฟฟ้า
ก่อนใช้งาน 221 รูปลักษณ์ภายนอกเตาอบไมโครเวฟ 276
ขั้นตอนและวิธีการใช้เลื่อยฉลุไฟฟ้า 223 โครงสร้างและส่วนประกอบทั่วไปของ
การบ�ำรุงดูแลรักษาเลื่อยฉลุไฟฟ้า 223 เตาอบไมโครเวฟ 277
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 225 วงจรการท�ำงานของเตาอบไมโครเวฟ 286
ใบงานที่ 10.1 การตรวจซ่อม โครงสร้างการท�ำงานเบื้องต้นของวงจรดิจิตอล
เลื่อยฉลุไฟฟ้า 227 เตาอบไมโครเวฟ 287
หน้าที่ของวงจรควบคุมเตาอบไมโครเวฟ 288
บทที่ 11 หม้อหุงข้าวไฟฟ้า 231 ข้อแนะน�ำและข้อควรระวังในการใช้งาน
เตาอบไมโครเวฟ 298
โครงสร้างและส่วนประกอบทั่วไปของ ขั้นตอนและวิธีการถอดเปลี่ยนอุปกรณ์
หม้อหุงข้าวไฟฟ้า 236 เตาไมโครเวฟ 299
หลักการท�ำงานของหม้อหุงข้าวไฟฟ้า 236 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 307
วิธีการใช้หม้อหุงข้าวไฟฟ้าในการหุงข้าว 238
การท�ำความสะอาดและบ�ำรุงรักษา
หม้อหุงข้าวไฟฟ้า 240
ข้อควรระวังการใช้หม้อหุงข้าวไฟฟ้า 241
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 243
ใบงานที่ 11.1 การตรวจซ่อมหม้อหุงข้าวไฟฟ้า 245
บทที่ 15 เครื่องฉายข้ามศีรษะ 309 บทที่ 17 เครื่องซักผ้าอัตโนมัติ 340

โครงสร้างและส่วนประกอบที่ส�ำคัญของ ส่วนประกอบที่ส�ำคัญของเครื่องซักผ้า
เครื่องฉายข้ามศีรษะ 311 อัตโนมัติ 342
วงจรการท�ำงานเครื่องฉายข้ามศีรษะ 315 โครงสร้างและส่วนประกอบทั่วไปของ
หลักการท�ำงานของเครื่องฉายข้ามศีรษะ 316 เครื่องซักผ้าอัตโนมัติ 346
ขั้นตอนการเตรียมเครื่องฉายข้ามศีรษะ การบ�ำรุงดูแลรักษาเครื่องซักผ้า 348
ก่อนใช้งาน 316 ข้อแนะน�ำและข้อควรระวังในการใช้งาน 350
วิธีการใช้งานของเครื่องฉายข้ามศีรษะ 317 วิธีการใช้งานเครื่องซักผ้า 351
การดูแลบ�ำรุงรักษาเครื่องฉายข้ามศีรษะ 318 การดูแลบ�ำรุงรักษาเครื่องซักผ้าทั่วไป 353
ขั้นตอนการเปลี่ยนหลอดไฟภายใน แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 356
เครื่องฉายข้ามศีรษะ 318 ใบงานที่ 17.1 การตรวจซ่อมเครืื่องซักผ้า 358
ข้อควรระวังและการป้องกันความปลอดภัย
จากเครื่องฉายข้ามศีรษะ 319 ค�ำถามเพื่อทบทวน 362
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 320
ค�ำศัพท์ 369
ใบงานที่ 15.1 การตรวจซ่อม
เครื่องฉายข้ามศีรษะ 322 บรรณานุกรม 374

บทที่ 16 เครื่องบดอาหาร 326



โครงสร้างและส่วนประกอบที่ส�ำคัญของ
เครื่องบดอาหาร 328
หลักการท�ำงานของเครื่องปั่นผลไม้ 331
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 334
ใบงานที่ 16.1 การตรวจซ่อมเครื่องบดอาหาร 336
1
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives)
หลังจากศึกษาจบบทเรียนนี้แล้ว นักศึกษาจะมีความสามารถดังนี้

1. อธิบายการใช้งานไขควง
2. เลือกใช้งานเครื่องมือประเภทคีม
3. ทดสอบเครื่องมือประเภทประแจ
4. ทดสอบเครื่องมือตรวจสอบวงจรไฟฟ้า
5. ปฏิบัติทดลองบัดกรีโดยใช้หัวแร้งแช่แบบปากกา  และหัวแร้ง
แบบปืน
1
ในงานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องมือส�ำหรับงานซ่อมมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งในการเลือกใช้
เครื่องมือนั้นจ�ำเป็นต้องใช้ให้เหมาะสมกับงาน เช่น ตัดสายไฟ ขันยึดนอต สกรู การตรวจสอบวงจรไฟฟ้า
เป็นต้น ดังนั้น ก่อนท�ำการใช้เครื่องมือชนิดใด ควรศึกษาและท�ำความเข้าใจถึงประสิทธิภาพ ตลอดทั้ง
ลักษณะการใช้งานให้ถกู ต้องและมีความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน โดยแบ่งลักษณะการใช้งานของเครือ่ งมือ
ส�ำหรับงานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า ดังนี้
1. เครื่องมือประเภทไขควง (Screwdrivers)
2. เครื่องประเภทคีม (Pliers)
3. เครื่องประเภทประแจ (Wrenches)
4. เครื่องมือตรวจสอบวงจรไฟฟ้า (Electric Tester Circuit)
5. เครื่องมือประเภทอื่น ๆ

เครื่องมือประเภทไขควง

เครื่องมือประเภทไขควงนี้ใช้สำ� หรับการขันยึดหรือถอดสกรูและนอต  แบ่งตามลักษณะการใช้งาน


คือ ไขควงปากแบน (Straight-Edge Screwdrivers) ไขควงปากแฉก (Phillips-Head Screwdrivers)
ไขควงปากบล็อก (Hexagonal Socket)
3
งานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า

1 ไขควงปากแบน
ใช้ส�ำหรับขันหัวสกรูที่เป็นแบบหัวผ่าดังรูปที่ 1.1 และ 1.2 โดยในการขันต้องให้ปากของไขควง
ลงไปในร่องของหัวสกรูพอดี เพราะถ้าปากไขควงใหญ่เกินไปจะท�ำให้หัวสกรูสึกหรือเยินได้ และถ้าปาก
ไขควงเล็กเกินไปจะท�ำให้ปากไขควงบิดงอ หรือไม่มีแรงขันมากพอท�ำให้ไขควงเสียหายได้

รูปที่ 1.1 ลักษณะไขควงปากแบนขนาดต่าง ๆ

รูปที่ 1.2 ลักษณะการใช้ไขควงปากแบนขันหัวสกรู

2 ไขควงปากแฉก
มีลักษณะเป็นปากแฉก (Phillips-Head) ใช้สำ� หรับขันยึดนอตหรือสกรูที่เป็นหัวสี่แฉก ดังรูปที่ 1.3
การเลือกใช้ไขควงปากแฉกต้องใช้ให้เหมาะสมกับขนาดของหัวสกรู ลักษณะดังรูปที่ 1.4
4
บทที่ 1 เครื่องมือส�ำหรับงานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า

รูปที่ 1.3 ลักษณะของใช้ไขควงปากแฉกแบบต่าง ๆ

รูปที่ 1.4 แสดงลักษณะการใช้ไขควงปากแฉกขันหัวสกรู

3 ไขควงปากบล็อก
ปลายไขควงแบบนี้ มี ลั ก ษณะเป็ น บล็ อ ก
หกเหลี่ยม  ใช้ส�ำหรับสวมขันนอตหรือสกรูที่เป็นหัว
แบบหกเหลี่ยม มีความสะดวกในการขันหรือคลาย
หัวนอตได้ดี ลักษณะดังรูปที่ 1.5

รูปที่ 1.5 ลักษณะของไขควงปากบล็อก


5
งานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า

เครื่องประเภทคีม

คีม (Pliers) เป็นเครื่องมือที่ใช้งานได้หลายรูปแบบ เช่น ตัดสายไฟ จับอุปกรณ์ชิ้นส่วนต่าง ๆ


การเลือกใช้คีมควรให้เหมาะสมกับลักษณะและประเภทของงาน  คีมที่ใช้ส�ำหรับงานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า
ด้ามจับของคีมควรมีฉนวนห่อหุ้มและไม่สึกหรือเสื่อมสภาพเพื่อความปลอดภัยในการท�ำงาน  คีมที่ใช้งาน
โดยทั่วไป ได้แก่ คีมตัด คีมปากยาว คีมช่างไฟฟ้า คีมล็อค คีมเลื่อน คีมตัดและปอกสายไฟ เป็นต้น

1 คีมตัด
คีมตัด (Cutting Pliers) ใช้ส�ำหรับตัดสายไฟ
ขาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และปอกสายไฟ สามารถ
ใช้ในการตัดสายไฟในพื้นที่แคบ ๆ ได้สะดวก ข้อควร
ระวังในการใช้งานคือ   ไม่ควรน�ำไปใช้ตัดวัสดุที่มี
ความแข็ง เช่น ตะปู หัวสกรู ลวดหรือสายไฟขนาด
ใหญ่ เพราะอาจท�ำให้คีมหมดความคม หรือช�ำรุด
เสียหายได้ ลักษณะดังรูปที่ 1.6
รูปที่ 1.6 ลักษณะของคีมตัด

2 คีมปากยาว
คีมปากยาว (Long-Nose Pliers) มีลักษณะ
ปากยาวเพื่อใช้ขันนอต สกรู หรือจับชิ้นงานในพื้นที่
จ�ำกัด นอกจากนี้ ยังใช้ตัดสายไฟได้ด้วย การใช้งาน
ไม่ควรใช้ปากของคีมงัดสิ่งของเพราะปากคีมอาจหัก
และเสียหายได้ ลักษณะดังรูปที่ 1.7
รูปที่ 1.7 ลักษณะของคีมปากยาว
6
บทที่ 1 เครื่องมือส�ำหรับงานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า

3 คีมช่างไฟฟ้า
คีมช่างไฟฟ้า (Lineman’s Pliers) บางทีเรียกว่า คีมรวม เนื่องจากใช้งานได้หลากหลาย เช่น
ตัดสายไฟ ต่อสายไฟ งานซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ไฟฟ้า สามารถใช้ตัดสายไฟขนาดไม่เกิน 10 ตารางมิลลิเมตร
มีแรงบีบเพื่อการตัดสายมากกว่าคีมตัดและคีมปากยาว ลักษณะดังรูปที่ 1.8

รูปที่ 1.8 แสดงลักษณะคีมช่างไฟฟ้า

4 คีมตัดและปอกสายไฟ
คีมตัดและปอกสายไฟ (Stripper Cutter Pliers) เป็นคีมที่สามารถใช้งานได้ทั้งตัดและปอกสายไฟ
ปากของคีมมีลักษณะเป็นร่องมีความคมและมีช่องส�ำหรับใช้ปอกสายไฟท�ำให้สะดวกในการใช้งาน ลักษณะ
ดังรูปที่ 1.9

รูปที่ 1.9 ลักษณะคีมตัดและปอกสายไฟ

5 คีมล็อค
คีมล็อค (Lever-Wrench Pliers) เป็นคีมเอนกประสงค์ใช้ส�ำหรับจับชิ้นงานให้ล็อคแน่น มี
เกลียวส�ำหรับหมุนปรับระยะ เพื่อให้สามารถจับขนาดชิ้นงานได้อย่างเหมาะสม ลักษณะปากจับชิ้นงานมี
หลายแบบ ดังรูปที่ 1.10
7
งานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า

(ก) แบบปากธรรมดา (ข) แบบปากแบน

(ค) แบบปากปากยาวหรือปากจิ้งจก (ง) แบบปากคีบก้ามปู

(จ) แบบปากคีบปากยาว

รูปที่ 1.10 ลักษณะคีมล็อคแบบต่าง ๆ

6 คีมเลื่อน
คีมเลื่อน (Slip Joint Pliers) เป็นคีมที่สามารถปรับเลื่อนปากของคีมให้จับชิ้นงานได้พอดี
ใช้ส�ำหรับงานที่ต้องการถอดประกอบชิ้นส่วน มีความคล่องตัวและสะดวกในการใช้งาน ลักษณะดังรูป
ที่ 1.11
8
บทที่ 1 เครื่องมือส�ำหรับงานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า

รูปที่ 1.11 ลักษณะคีมเลื่อนแบบต่าง ๆ

เครื่องประเภทประแจ

ประแจ ถือเป็นเครื่องมืออีกประเภทหนึ่งที่ใช้ในงานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า การถอดชิ้นส่วนต่าง ๆ


แบ่ ง ตามลั กษณะการใช้งาน ได้แก่ ประแจปากตาย ประแจแหวน ประแจเลื่ อ น ประแจหกเหลี่ ย ม
ประแจบล็อก เป็นต้น

1 ประแจปากตาย
ประแจปากตาย (Open-End Wrenches) ใช้ส�ำหรับขันหัวนอตหรือสกรูที่เป็นเหลี่ยม มีหลาย
ขนาดให้เลือกใช้ตามขนาดของหัวนอต ปากของประแจไม่สามารถเลื่อนได้ ลักษณะดังรูปที่ 1.12

รูปที่ 1.12 ลักษณะของประแจปากตาย


9
งานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า

2 ประแจเลื่อน
ประแจเลื่ อ น (Adjustable Wrenches)
โดยปากของประแจเลื่อนสามารถปรับเลื่อนให้ได้
ตามขนาดของหัวนอต ลักษณะดังรูปที่ 1.13

รูปที่ 1.13 ลักษณะของประแจเลื่อน

3 ประแจแหวน
ประแจแหวน (Ring Wrenches) มีลักษณะ
เป็นห่วงวงแหวน  ภายในห่วงวงแหวนมีล็อคและ
เหลี่ ย มเพื่ อ จั บ ยึ ด หั ว นอตและสกรู ไ ด้ ดี   เหมาะ
ส�ำหรับการขันยึด ถอดหรือคลายนอต สะดวกและ
คล่องตัวในการท�ำงาน ลักษณะดังรูปที่ 1.14

รูปที่ 1.14 ลักษณะของประแจแหวนแบบต่าง ๆ

4 ประแจหกเหลี่ยม
ประแจหกเหลี่ยม (Allen Wrenches) มี
ลักษณะเป็นหกเหลี่ยมใช้ขันหรือถอดหัวนอตที่อยู่
ในร่องลึก ลักษณะดังรูปที่ 1.15

รูปที่ 1.15 ลักษณะของประแจหกเหลี่ยม


ขนาดต่าง ๆ
10
บทที่ 1 เครื่องมือส�ำหรับงานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า

5 ประแจบล็อก
ประแจบล็อก (Block Wrenches) เป็น
ประแจที่สามารถเปลี่ยนหัวประแจตามขนาดของ
นอตหรือสกรูที่ต้องการขัน  ซึ่งหัวของประแจปรับ
เลื่อนบล็อกได้ ลักษณะดังรูปที่ 1.16
รูปที่ 1.16 ลักษณะของประแจบล็อก
และหัวบล็อก
เครื่องมือตรวจสอบวงจรไฟฟ้า

เครื่องมือที่ใช้ตรวจสอบวงจรไฟฟ้า (Electric Tester Circuit) โดยทั่วไป ได้แก่


มัลติมิเตอร์ แคลมป์ออนมิเตอร์ ไขควงทดสอบไฟฟ้า เป็นต้น
1 มัลติมิเตอร์
มัลติมิเตอร์ (Multimeter) เป็นเครื่องมือวัดทางไฟฟ้าที่นิยมใช้งานกันทั่วไป เนื่องจากสามารถ
วัดได้ทั้งแรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า
โดยทั่วไปแบ่งลักษณะการท�ำงานได้ 2 แบบ คือ มัลติมิเตอร์แบบเข็มชี้ (Pointer) และแบบดิจิตอล
(Digital) ดังรูปที่ 1.17

(ก) แบบเข็มชี้ (Pointer) (ข) แบบดิจิตอล (Digital)


รูปที่ 1.17 ลักษณะของมัลติมิเตอร์แบบต่าง ๆ
11
งานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า

การใช้มัลติมิเตอร์วัดค่าความต้านทาน แสดงดังรูปที่ 1.18 มีขั้นตอนปฏิบัติดังนี้


1. ปรับสวิตช์เลือกย่านการวัดมาที่ตำ� แหน่งย่านวัดความต้านทาน
2. ปรับสวิตช์เลือกย่านการวัดมาที่ย่านวัด R x 1
3. ทดสอบเครื่ อ งวั ด โดยน� ำ ปลายสาย
เครื่ อ งวั ด มาแตะกั น   หากเข็ ม มิ เ ตอร์
ชี้ไม่ถึงต�ำแหน่งศูนย์ให้ปรับที่ปุ่มปรับ
ศูนย์โอห์ม (Zero-Ohm Adjust) เพื่อ
ให้เข็มชี้ตำ� แหน่งศูนย์
4. น�ำสายมิเตอร์ขั้วบวก (สีแดง) และ
ขั้วลบ (สีด�ำ) มาต่อคร่อมหรือขนาน
กับความต้านทานดังรูปที่ 1.18
5. อ่ า นค่ า จากสเกลโอห์ ม ให้ สั ม พั น ธ์ กั บ
ย่านที่ตั้งไว้
6. หากเข็มมิเตอร์ไม่เบี่ยงเบนแสดงว่าค่า รูปที่ 1.18 การใช้มัลติมิเตอร์
ความต้านทานเสีย ในลักษณะขาดวงจร วัดค่าความต้านทาน

การใช้มัลติมิเตอร์วัดค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง แสดงดังรูปที่ 1.19 มีขั้นตอนปฏิบัติ


ดังนี้
1. ปรับสวิตช์เลือกย่านการวัดมาที่ตำ� แหน่งย่านวัดแรงดันไฟตรง (DCV)
2. ปรับสวิตช์เลือกย่านการวัดอยู่ในต�ำแหน่งการวัดสูงที่สุดไว้ก่อน  แล้วค่อยปรับย่านการวัด
ลงมาให้เหมาะสมกับแรงดันไฟฟ้าที่ต้องการวัด
3. น�ำสายมิเตอร์วัดคร่อมหรือขนานกับโหลดโดยให้ขั้นบวก (สีแดง) ของมัลติมิเตอร์ ต่อเข้ากับ
ขั้วบวก ( + ) ของแหล่งจ่ายไฟฟ้า และขั้วลบ (สีดำ� ) ของมัลติมิเตอร์ต่อเข้ากับขั้วลบ ( – ) ของ
แหล่งจ่ายไฟฟ้าดังกล่าว
4. อ่านค่าแรงดันไฟฟ้าที่วัดได้จากสเกลมัลติมิเตอร์ โดยให้สัมพันธ์กับย่านการวัดที่ตั้งไว้
12
บทที่ 1 เครื่องมือส�ำหรับงานซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า

RL URL RL URL V

รูปที่ 1.19 แสดงการใช้มัลติมิเตอร์วัดค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง

การใช้มัลติมิเตอร์วัดค่ากระแสไฟตรง แสดงในรูปที่ 1.20 มีขั้นตอนปฏิบัติดังนี้


1. ปรับสวิตช์เลือกย่านการวัดมาที่ตำ� แหน่งย่านวัดกระแสไฟตรง (DCA)
2. ปรับสวิตช์เลือกย่านการวัดอยู่ในต�ำแหน่งการวัดกระแสไฟฟ้าสูงสุดไว้ก่อน  แล้วค่อยปรับลด
ย่านการวัดกระแสไฟฟ้าให้เหมาะสมกับกระแสไฟฟ้าที่วัด
3. วัดกระแสไฟตรงโดยต่อมัลติมิเตอร์อนุกรมกับโหลด โดยให้ขั้วบวก (สีแดง) ของมัลติมิเตอร์
ต่อเข้ากับขั้วบวก ( + ) ของแหล่งจ่ายไฟฟ้า และขั้วลบ (สีดำ� ) ของมัลติมิเตอร์ต่อเข้ากับโหลด
4. อ่านค่ากระแสไฟตรงที่ได้จากการวัดบนสเกลมัลติมิเตอร์

IL A
RL
RL

รูปที่ 1.20 แสดงการใช้มัลติมิเตอร์วัดค่ากระแสไฟตรง

You might also like